ตัวอย่างผลงานนักบริหารงานคลัง ระดับกลาง

ตัวอย่างผลงานนักบริหารงานคลัง ระดับกลาง

����·�ȹ�ͧ�ͧ��ѧ : �����çҹ�����ѡ������Ժ�� ��ԡ�ô���� �����ѵ������� ���Թ�¡�ä�ѧ ������ҧ����Է�Լ�

�ӹҨ˹�ҷ��

�ҹ�����çҹ��ѧ
����ӹ�¡�áͧ��ѧ

 ˹�ҷ����Ф����Ѻ�Դ�ͺ
 �Ǻ����Ѻ�Դ�ͺ ��е�Ǩ�ͺ��ô��Թ�ҹ�ͧ��ѡ�ҹ��о�ѡ�ҹ��ҧ�ͧ��ѧ��黯Ժѵԧҹ���¤������º���� �١��ͧ�������º�ͧ�ҧ�Ҫ���
 �Ǻ�����Ǩ�ͺ����Ѻ�Թ�ء������ ���١��ͧ����Ⱥѭ�ѵԧ�����ҳ��¨����������º˹ѧ�����觡�÷������Ǣ�ͧ ������������Ѵ��èѴ�������仵���������
 �Ǻ�����Ǩ�ͺ����ԡ�����Թ�ء���������١��ͧ����Ⱥѭ�ѵԧ�����ҳ��¨����������º˹ѧ�����觡�÷������Ǣ�ͧ
 �Ǻ�����Ǩ�ͺ��ô��Թ��èѴ����-�Ѵ��ҧ���١��ͧ�������º�ͧ�ҧ�Ҫ���
 ��Ǩ�ͺ��èѴ����§ҹ��ҧ � ���١��ͧ�ú��ǹ�ç�����˹����������仵������º����˹�
 ��Ժѵԧҹ��蹵�������ѧ�Ѻ�ѭ���ͺ����

˹��§ҹ���㹡ͧ��ѧ

  1. ���º����çҹ��ѧ
  2. ���¾Ѳ�������

ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) หมายถึง กระบวนการดำเนินการอย่างเป็นระบบ เพื่อผลักดันให้ผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการบรรลุเป้าหมาย โดยการเชื่อมโยงเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการในระดับองค์กร หน่วยงานและระดับบุคคลเข้าด้วยกัน ซึ่งตั้งอยู่บนฐานกระบวนการความต่อเนื่อง ตั้งแต่

๑) การวางแผนการปฏิบัติงานที่จะต้องทำให้ชัดเจน และสอดคล้องกับทิศทางตามยุทธศาสตร์ขององค์กร 
๒) การติดตามผลการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้บังคับบัญชากำกับ ดูแล ให้คำปรึกษาแก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 
๓) การพัฒนาผลการปฏิบัติงานเพื่อส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานได้ดียิ่งขึ้น 
๔) การประเมินผลการปฏิบัติราชการเพื่อวัดความสำเร็จของงาน โดยเทียบกับเป้าหมายที่กำหนดไว้ตั้งแต่แรก และ 
๕) การนำผลที่ได้จากการประเมินไปประกอบการพิจารณาตอบแทนความดีความชอบแก่ผู้ปฏิบัติงาน

นอกจากนี้ ระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานยังเป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ปฏิบัติงาน ในการผลักดันผลการปฏิบัติราชการให้สูงขึ้น และสอดคล้องกับทิศทาง เป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของ
ส่วนราชการ โดยมีการนำตัวชี้วัดผลงานหลัก (Key Performance Indicators - KPIs) มาใช้เป็นเครื่องมือกำหนดเป้าหมายการทำงานของบุคคลร่วมกัน ซึ่งผู้บังคับบัญชาสามารถติดตามผลการปฏิบัติงาน หาแนวทางในการพัฒนาผู้ปฏิบัติงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานตามตัวชี้วัดผลงานหลักที่กำหนดนั้นๆ เพื่อจะได้ให้สิ่งจูงใจสำหรับการเสริมสร้างแรงจูงใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่มีผลการปฏิบัติราชการดี เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ซึ่งระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานประกอบด้วยขั้นตอนหลักดังแผนภาพ

แผนภาพกระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน

ตัวอย่างผลงานนักบริหารงานคลัง ระดับกลาง

กระบวนการบริหารผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ๕ ขั้นตอนหลัก ดังนี้

๑) ขั้นตอนการวางแผน
เป็นขั้นตอนในช่วงต้นรอบการประเมินที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินจะได้มี
การมอบหมายงานให้แก่ผู้รับการประเมิน และร่วมกับผู้รับการประเมินวางแผนการปฏิบัติ
ราชการ พร้อมทั้งกำหนดเป้าหมายผลการปฏิบัติราชการร่วมกันในลักษณะตัวชี้วัดและ
ค่าเป้าหมายที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของงานที่คาดหวังในรอบการประเมินนั้นๆ ทั้งนี้ สามารถ
ปรับเปลี่ยนตามเป้าหมายและแผนงานของหน่วยงานหรือส่วนราชการได้ตามความจำเป็น

๒) ขั้นตอนการติดตาม
เป็นขั้นตอนในระหว่างรอบการประเมินที่ผู้บังคับบัญชาจะทำการติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการ เพื่อการกำกับดูแลการทำงานให้ได้ตามเป้าหมาย ทำให้ทราบและแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการปฏิบัติงาน อันจะทำให้ผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ร่วมกัน

๓)ขั้นตอนการพัฒนา
เป็นขั้นตอนที่เป็นผลที่ได้จากการติดตามผลการทำงาน และเป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาว่างานที่ทำอยู่นั้นต้องมีการปรับปรุงหรือพัฒนาการทำงานอย่างไร และยังเป็นขั้นตอนที่สามารถกำหนดแนวทางการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับสภาพการทำงานอีกด้วย

๔) ขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นขั้นตอนในช่วงสิ้นรอบการประเมิน เพื่อตรวจสอบความสำเร็จของงานอันเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานของผู้รับการประเมินรายนั้นๆ ว่าผลการปฏิบัติราชการในระหว่างรอบการประเมินเป็นไปตามผลสัมฤทธิ์หรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ตามตัวชี้วัดผลงานหลัก (KPIs) ที่ได้กำหนดไว้ตั้งแต่ต้นรอบการประเมินหรือไม่ เพียงใด ตามเกณฑ์มาตรฐานผลงานที่ผู้ประเมินและผู้รับการประเมินร่วมกันกำหนด

***  ฐาน 8 ฐาน 9 เป็นการผูกเรื่องราวเพิ่มเติมขยายความ ถ้าตกในภพที่ดี หรือกลาง ๆ คำทำนายก็จะเสริมถึงความสัมพันธ์ในทางที่ดี และถ้าตกภพที่ไม่ดีเช่น มรณะ หินะ พยายะ โจร อุบาทว์ จะลดทอนค่าความสัมพันธ์ภพเดิมที่ดี ไม่ให้มีผลเต็มที่ตามกำลัง แต่ถ้าความสัมพันธ์ภพเดิมไม่ดีอยู่แล้วก็จะไปกันใหญ่ และถ้าเป็นเรื่องที่ซ้ำกันก็จะย้ำเรื่องหรือภพนั้น ๆ เช่น สักกะ กับ สหัชชะ ตรงกันอีก ก็จะเกี่ยวกับเรื่องเพื่อนฝูง แน่นอน เป็นต้น