วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุมีอะไรบ้าง

ประเภทของวัฒนธรรมไทย

ประเภทของวัฒนธรรม

    1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
เช่น อาหาร บ้าน ยารักษาโรค เครื่องมือเครื่องใช้ เป็นต้น

    2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) หมายถึง วัฒนธรรมด้านนามธรรมที่ไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น ความคิด ความเชื่อ  ค่านิยม ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตนว่าดีงาม


ประเภทของวัฒนธรรมไทย 


ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ  พ.ศ.  2485  แบ่งได้ ประเภท

    1. คติธรรม คือ วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำเนินชีวิต  ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของจิตใจซึ่งได้เรียนรู้จากศาสนา

    2. เนติธรรม  คือ วัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญ เช่นเดียวกับ กฎหมาย

    3. สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคมที่เกี่ยวกับหลักการปฏิบัติทางสังคม  เช่น  มารยาทในงานสังคมต่างๆ

    4. วัตถุธรรม คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ  ที่สามารถจับต้องได้สัมผัสได้  เช่น  บ้านเรือน  อาหาร  เครื่องแต่งกาย  เครื่องมือ  เครื่องใช้  และเครื่องอำนวยความสะดวก  เป็นต้น

เขียนโดย R-Koi ที่1/27/2554

วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับวัตถุมีอะไรบ้าง

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

1) �Ѳ������ҧ�ѵ�� (Material culture) ������� ��觻�д�ɰ����෤����յ�ҧ � �� ������ �����ا���� ��ǹ�� �մ ��� ö ����ͧ�Թ ���

2) �Ѳ������������ǡѺ�ѵ�� (Non-material culture) ���¶֧ �ش���ó� ��ҹ��� �Ǥ����Դ�����ͧ����觢ѹ���ҧ���˵ؼ� ���ླ� ��û�Ժѵ��׺��͡ѹ������繷������Ѻ�ѹ㹪�������ͧ����Ҵէ��������� �� ��ʹ� �������� ����ʹ� ��ȹ��� ������� ��������ö ����繹����������ͧ��������

����Ѻ��������� 2 ��� ���� ���¡��� �Ѳ������ҧ�Ե ��觾ͨ��¡�繴�ҹ � �ѧ���

1. ��Ը��� ���¶֧ �Ƿҧ㹡�ô�ç���Ե����Ἱ��ô�ç���Ե �ͧ������ ��觨л�Ժѵ���������� ��ǹ�˭�������ͧ�ͧ�Ե�������Ҩҡ��ʹҾط� ������ҧ��ѡ��Ժѵ�������ҧ�ú��ǹ �� ������ѹ�������� ���������ҡ�س� ���������� ���

2. �˸��� ���Ѳ������ѧ������ǡѺ�س������ҧ � �������������Ѻ�ؤ�ŷ��� � ����ҧ���ء ���ѡ���·ն�������¡ѹ����ѧ����֧����º����ҷ��� ����Ǣ�ͧ�Ѻ�ѧ���ء��Դ ���ͻ���ª��㹡�ô�ç���Ե�ͧ���ͧ �� ����ҷ㹡����ᢡ����Ҽ����� �� �ҹ ��� ������, ����Ҩ� ��� �ٴ���¶��¤����Ҿ����繻���ª��, �ѵ������ ��� ���������ҷ���� ��͹���� ��ʹ�֧ ��ҹѵ�� ��� ����ѧ�� ����������Ҥ�

3. ๵Ը��� ���¶֧ ����ºẺἹ���͢�ͺѧ�Ѻ�����Ѳ������ҧ������ �����駻��ླշ������Ѻ�Ѻ��͡ѹ�ҹҹ �·���ͧ���㨡����¢ͧ��ҹ���ͧ��ҧ �顮��������繻���ª���������ǹ���

การแบ่งประเภทของวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท ดังกล่าวข้างต้น นักสังคมวิทยาบางท่านเห็นว่า แนวคิดที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุนั้นคลุมเครือ จึงได้แบ่งวัฒนธรรมออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ คือ

  1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material) ได้แก่ วัตถุสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อนำมาใช้ในสังคม เช่น ที่อยู่อาศัย อาหาร เสื้อผ้า ยารักษาโรค
  2. วัฒนธรรมความคิด (Idea) หมายถึง วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ความเชื่อต่าง ๆ เช่น ความเชื่อในเรื่องตายแล้วเกิดใหม่ ความเชื่อในเรื่องกฎแห่งกรรม การเชื่อถือโชคลาง ตลอดจนเรื่องลึกลับ นิยายปรัมปรา วรรณคดี สุภาษิต และอุดมการณ์ต่าง ๆ เป็นต้น
  3. วัฒนธรรมด้านบรรทัดฐาน (Norm) เป็นเรื่องของการประพฤติปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนที่สังคมกำหนดเอาไว้ไม่ว่าจะเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่เป็นลายลักษณ์อักษรก็ตาม ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทย่อย ๆ ดังนี้
    - วัฒนธรรมทางสังคม (Social Culture) เป็นวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับความประพฤติ หรือมารยาททางสังคม เช่น การไหว้ กาจับมือทักทาย การเข้าแถว การแต่งชุดดำไปงานศพ เป็นต้น
    - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย (Legal Culture) เป็นวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดความเป็นระเบียบและกฎเกณฑ์เพื่อให้คนในสังคมอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข
    - วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับจิตใจและศีลธรรม (Moral Culture) วัฒนธรรมประเภทนี้ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตในสังคม เช่น ความซื่อสัตย์ สุจริต ความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นต้น

  ตามพระราชบัญญัติวัฒนธรรมแห่งชาติ ปีพุทธศักราช 2485 ได้แบ่งประเภทวัฒนธรรมออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

  • คติธรรม (Moral) คือวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับหลักในการดำรงชีวงิตส่วนใหญ่เป้นื่องของจิตใจ และได้มาจากศาสนา ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของสังคม เช่น ความเสียสละ ความขยัน หมั่นเพียร การประหยัดอดออกม ความกตัญญู ความอดทน ทำดีได้ดี เป็นต้น
  • เนติธรรม (Legal) คือวัฒนธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งระเบียบประเพณีที่ยอมรับนับถือกันว่ามีความสำคัญพอ ๆ กับกฎหมาย เพื่อให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
  • สหธรรม (Social) คือวัฒนธรรมทางสังคม รวมทั้งมารยาทต่าง ๆ ที่จะติดต่อเกี่ยวข้องกับสังคม เช่น มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการติดต่อกับบุคคลต่าง ๆ ในสังคม
  • วัตถุธรรม (Material) คือวัฒนธรรมทางงวัตถุ เช่น เคราองนุ่งห่ม ยารักษาโรค บ้านเรือน อาคารสิ่งก่อสร้างต่างๆ สะพาน ถนน รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์ เป็นต้น

ปัจจุบันเพื่อสะดวกแก่การศึกษาและส่งเสริมวัฒนธรรม สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้แบ่งออกเป็น 5 สาขา คือ

วัฒนธรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับวัตถุมีอะไรบ้าง

2. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ เป็นวัฒนธรรมที่มองไม่เห็น เป็นภาพนามธรรม เช่น ค่านิยม มารยาท ปรัชญา บรรทัดฐาน สถาบัน สังคม ความเชื่อ เป็นต้น

วัฒนธรรมทางด้านวัตถุมีอะไรบ้าง

วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ วัตถุสิ่งของที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เครื่องมือ รถยนต์ หนังสือ อาคารบ้านเรือน โบสถ์ วิหาร เป็นต้น ตัวอย่างวัฒนธรรมทางวัตถุ บ้านเรือนไทย

ข้อใดเป็นวัฒนธรรมประเภทวัตถุธรรม

2.3 วัตถุธรรม หมายถึง วัฒนธรรมที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ สิ่งก่อสร้าง ศิลปกรรม เป็นต้น 2.4 สหธรรมหมายถึง วัฒนธรรมในการสังคม เช่น มารยาทไทย การแต่งกายแบบไทย เป็นต้น

วัฒนธรรมไทยที่เป็นวัตถุมีอะไรบ้าง

พระยาอนุมานราชธน แบ่งวัฒนธรรมออกเป็น ๒ ประเภท คือ ๑. วัฒนธรรมทางวัตถุ ได้แก่ ภาษา บ้านเรือน เครื่องใช้ เครื่องแต่งกาย ฯลฯ ๒. วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ ได้แก่ ศาสนา จรรยา ศิลปะ ความเชื่อ ฯลฯ