ส่วนประกอบ การเขียน โครงงาน 12 ข้อ

การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์

การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นการเสนอผลงานการ

ด าเนินการเป็นเอกสารจัดว่าเป็น ขั้นตอนส าคัญอีกประการหนึ่งของโครงงาน

เมื่อนักเรียนด าเนินการท าโครงงานจนครบขั้นตอนได้ข้อมูล ท าการวิเคราะห์

ข้อมูล พร้อมทั้งแปรผล และสรุปผลแล้ว งานขั้นต่อไปที่ต้องท าคือ การเขียน

รายงาน

การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังนี้

1. ชื่อโครงงาน

2. ชื่อผู้จัดท าโครงงาน

3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

4. บทคัดย่อ

5. กิตติกรรมประกาศ

6. ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

7. วัตถุประสงค์ของการท าโครงงาน

8. สมมติฐานของการศึกษา

9. ขอบเขตของการท าโครงงาน

10.นิยามศัพท์เฉพาะ

11. วิธีด าเนินการ

12. ผลการศึกษาค้นคว้า

13. สรุปผลและข้อเสนอแนะ

14. เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม

1. ชื่อโครงงาน

ชื่อโครงงานเป็นสิ่งส าคัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะช่วยโยง

ความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการ ท าโครงงานวิทยาศาสตร์ และควรก าหนด

ชื่อโครงการให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักด้วย

การตั้งชื่อโครงงานต้องตั้งชื่อให้มีความกะทัดรัด และดึงดูดความสนใจ

จากผู้อ่าน

2. ชื่อผู้จัดท าโครงงาน

การเขียนชื่อผู้รับผิดชอบโครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งดีเพื่อจะได้ทราบว่า

โครงงานนั้นอยู่ในความรับผิดชอบของใครและสามารถติดตามได้ที่ใด

3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน

การเขียนชื่อผู้ให้ค าปรึกษาควรให้เกียรติยกย่องและเผยแพร่ รวมทั้ง

ขอบคุณที่ได้ให้ค าแนะน าการท า โครงงานวิทยาศาสตร์จนบรรลุเป้าหมาย

4. บทคัดย่อ

เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ที่สั้นได้ใจความ

ชัดเจน ครอบคลุมเนื้อหา ส าคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ เนื้อหาในบทคัดย่อ

เป็นการเขียนเรียงความต่อเนื่อง โดยระบุจุดประสงค์ ขอบเขตของโครงงาน

รวมถึงวิธีการทางสถิติที่ใช้และผลการด าเนินงาน ในส่วนของวิธีการด าเนินงานควร

ระบุ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง วิธีการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล

ตามล าดับจุดประสงค์ แล้วน าเสนอผล การด าเนินงานตามล าดับ ความยาว

ทั้งหมดไม่ควรเกิน 1 หน้า A4 (ประมาณ 300-350 ค า)

5. กิตติกรรมประกาศ

กิตติกรรมประกาศเป็นส่วนที่ผู้ท าโครงงานเขียนแสดงความขอบคุณบุคคล

หน่วยงาน สถาบันที่ให้ความช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือทั้งในการค้นคว้าความรู้

การด าเนินงาน ให้ข้อคิดเห็นและให้ข้อมูล การระบุชื่อควรใช้ชื่อนามสกุลและ

ต าแหน่งวิชาการที่ถูกต้อง ชื่อเต็มสถาบันหรือหน่วยงาน

6.ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

การเขียนที่มาและความส าคัญของโครงงาน คือ การอธิบายให้กระจ่างชัด

ว่าท าไมต้องท า ท าแล้วได้อะไร หากไม่ท าจะเกิดผลเสียอย่างไร ซึ่งมีหลักการ

เขียนคล้ายการเขียนเรียงความ ทั่ว ๆ ไป คือ มีค าน า เนื้อเรื่อง และสรุป

ส่วนที่ 1 ค าน า : เป็นการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือ

ปัญหาที่มีส่วนสนับสนุนให้ ริเริ่มท าโครงงานวิทยาศาสตร ์

ส่วนที่ 2 เนื้อเรื่อง : อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงให้เห็นประโยชน์ของ

การท าโครงงานวิทยาศาสตร โดยมี หลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือ

การบรรยายผลกระทบ ถ้าไม่ท าโครงงานเรื่องนี้

ส่วนที่ 3 สรุป : สรุปถึงความจ าเป็นที่ต้องด าเนินการตามส่วนที่ 2 เพื่อ

แก้ไขปัญหา ค้นข้อความรู้ใหม่ ค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ให้เป็นไปตามเหตุผลส่วนที่ 1

7. วัตถุประสงค์ของการท าโครงงาน

วัตถุประสงค์ คือ ก าหนดจุดมุ่งหมายปลายทางที่ต้องการให้เกิดจากการท าโครงงาน

วิทยาศาสตร ในการเขียนวัตถุประสงค์ ต้องเขียนให้ชัดเจน อ่านเข้าใจง่ายสอดคล้องกับ

ชื่อโครงงาน หากมีวัตถุประสงค์หลายประเด็น ให้ระบุเป็นข้อ ๆ ทุกๆ ข้อ

8. สมมติฐานของการศึกษา

สมมติฐานของการศึกษา เป็นการก าหนดแนวทางในการออกแบบการทดลองได้

ชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐานก็คือ การคาดคะเนค าตอบของปัญหาอย่างมีหลักและ

เหตุผล ตามหลักการ ทฤษฎี รวมทั้งผลการศึกษาของโครงงานที่ได้ท ามาแล้ว

9.ขอบเขตของการท าโครงงาน


ผู้ท าโครงงานวิทยาศาสตร ต้องให้ความส าคัญต่อการก าหนดขอบเขตการท า

โครงงาน เพื่อให้ได้ผล การศึกษาที่น่าเชื่อถือ ซึ่งได้แก่ การก าหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง

ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา

1. การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา อาจเป็นคนหรือสัตว์หรือพืช

ชื่อใด กลุ่มใด ประเภทใด อยู่ที่ไหน เมื่อเวลาใด

2. ตัวแปรที่ศึกษา

10. นิยามศัพท์เฉพาะ

เป็นการใหความหมายหรือค าจ ากัดความของค าศัพท์ที่ผู้ท าโครงงานใช้ใน

การท าโครงงานวิทยาศาสตร เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ทั้งผู้ท าโครงงาน

วิทยาศาสตรและผู้อ่าน

11. วิธีด าเนินการ

วิธีด าเนินการ หมายถึง วิธีการที่ช่วยให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการ

ท าโครงงาน ตั้งแต่เริ่มเสนอโครงการกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ซึ่งประกอบด้วย

1. การก าหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา

2. การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล

3. การเก็บรวบรวมข้อมูล

4. การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการเขียนวิธีด าเนินการให้ระบุกิจกรรมที่ต้องท าให้ชัดเจนว่าจะ

ท าอะไรบ้าง เรียงล าดับกิจกรรมก่อนและหลังให้ชัดเจน เพื่อ

สามารถน าโครงการไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่องและถูกต้อง

12.ผลการศึกษาค้นคว้า

น าเสนอข้อมูลหรือผลการทดลองต่าง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได้ รวมทั้งเสนอผลการ

วิเคราะห์ข้อมูลที่ วิเคราะห์ได้ด้วย

13.สรุปผลและข้อเสนอแนะ

อธิบายผลสรุปที่ได้จากการท าโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุด้วยว่าข้อมูลที่

ได้สนับสนุนหรือ คัดค้านสมติฐานที่ตั้งไว้ หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนี้ยังควรกล่าวถึงการน า

ผลการทดลองไปใช้ประโยชน์ อุปสรรคของการท าโครงงานหรือข้อสังเกตที่ส าคัญหรือ

ข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้นจากการท าโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพอการ
ื่

ปรับปรุงแก้ไข หากมีผู้ศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่ท านองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย

14.เอกสารอ้างอิง / บรรณานุกรม

เอกสารอ้างอิง คือ รายชื่อเอกสารที่น ามาอ้างอิงเพื่อประกอบการท าโครงงาน


วิทยาศาสตร ตลอดจน การเขียนรายงานการท าโครงงานวิทยาศาสตร ควรเขียนตาม

หลักการที่นิยมกัน

องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์

- ปกนอก ประกอบด้วย ตราโรงเรียน ชื่อโครงงาน และชื่อผู้ท า

- ใบรองปก

- ปกใน คล้ายกับปกนอก แต่เพิ่มชื่อครูที่ปรึกษา หรือที่ปรึกษาพิเศษ

ส่วนน า - บทคัดย่อ

- กิตติกรรมประกาศ

- สารบัญ ประกอบด้วย สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ (ถ้ามี)

- ค าอธิบายสัญลักษณ์และค าย่อ (ถ้ามี)

บทที่ 1 บทน า

- ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

- วัตถุประสงค์

- สมมติฐาน (ถ้ามี)

- ตัวแปร (ถ้ามี)

- นิยามศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี)

ส่วนเนื้อหา 5 บท - นิยามเชิงปฏิบัติการ (ถ้ามี)

- ขอบเขตการศึกษา

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บทที่ 3 วิธีการด าเนินการทดลอง

- วัสดุอุปกรณ์ และสารเคมี (ถ้ามี)

- ขั้นตอนการด าเนินงาน

บทที่ 4 ผลการทดลอง

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

ส่วนอ้างอิง บรรณานุกรม

ในการเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ มีองค์ประกอบทั้งหมด 3 ส่วนคือ ส่วน

น า ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนอ้างอิง

ส่วนน า ประกอบด้วย

ปกนอก ข้อความที่แสดงควรมี ชื่อเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์ ชื่อนักเรียน

ผู้จัดท าโครงงานทุกคน มีข้อความที่บอกให้ทราบถึงโอกาสในการท าโครงงาน ควร

จัดเรียงให้กระจายอยู่บนปก โดยการน าเสนอข้อมูลมีความเป็นระเบียบ อ่านง่าย ขนาด

ตัวอักษรพอเหมาะ และการเลือกกระดาษที่ใช้ควรสีสุภาพ ไม่มีลวดลาย

ปกใน มีเนื้อหาและลักษณะการวางข้อความเช่นเดียวกับปกนอก อาจมี

รายนามอาจารย์ที่ ปรึกษาหรือที่ปรึกษาพิเศษ ในกรณีที่มีที่ปรึกษาจากหน่วยงานนอก

โรงเรียน

บทคัดย่อ เป็นข้อความโดยสรุปของรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ที่สั้นได้

ใจความความยาวไม่เกินครึ่งหน้า

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ เป็นส่วนที่แสดงล าดับของรายงานทั้งฉบับ ซึ่งถ้ารายงานโครงงานมี

การแสดงผลเป็น ตารางและภาพ เช่น รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ เป็นต้น ต้องมี

สารบัญตาราง และสารบัญภาพเพิ่มเติมด้วย

ส่วนเนื้อหา 5 บท ประกอบด้วย

บทที่ 1 บทน า

- ที่มาและความส าคัญของโครงงาน

- จุดประสงค์

- สมมติฐาน (ถ้ามี)

- ตัวแปร (ถ้ามี)

- นิยามเชิงศัพท์เฉพาะ (ถ้ามี)

- ขอบเขตการศึกษา

- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ประกอบไปด้วยเนื้อหา ทฤษฎีจากเอกสารงานวิจัย หนังสือ และโครงงานวิทยาศาสตร์ที่

เกี่ยวข้องโดยตรงกับโครงงานของนักเรียน ซึ่งมีผู้อื่นศึกษาทดลองมาก่อน

บทที่ 3 วิธีการด าเนินการทดลอง

มีหัวข้อ ดังนี้

1. วัสดุ อุปกรณ์

2. สารเคมี (ถ้ามี) เขียนเป็นภาษาไทยตามศัพท์บัญญัติโดยราชบัณฑิต และควรระบุเป็นชื่อ

ภาษาอังกฤษ พร้อมวงเล็บสูตรเคมีไว้ท้ายชื่อ

3. ขั้นตอนการด าเนินงาน นักเรียนต้องเขียนรายงานเรียงล าดับตามจุดประสงค์และ

สมมติฐานให้ สอดคล้องและครบถ้วน นอกจากนี้ ควรกล่าวถึงการออกแบบส ารวจ ประดิษฐ์

ทดลอง และสถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูลไว้อย่างชัดเจน

บทที่ 4 ผลการทดลอง / ผลการศึกษา

ส่วนนี้เป็นการน าเสนอผลการศึกษา การส ารวจ ประดิษฐ์ ทดลอง ที่นักเรียนได้

ค้นพบด้วยตนเอง รวมทั้งรายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งการเขียนผลการศึกษาต้อง

เขียนตามล าดับให้สอดคล้องกับ จุดประสงค์และวิธีการด าเนินงาน ใช้ข้อความกะทัดรัด

อาจมีการจัดกระท าข้อมูลและน าเสนอในรูปของ ตาราง กราฟ ภาพประกอบให ้

เหมาะสมกับข้อมูล

บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล

การเขียนสรุปผลที่ได้จากการท าโครงงานอย่างย่อ ถ้ามีการสมมติฐานควรระบุว่า

ผลที่ได้สนับสนุน หรือคัดค้านกับสมมติฐาน แล้วสรุปผลเป็นล าดับตามจุดประสงค์และ

ผลการด าเนินงาน


การอภิปรายผลการด าเนินงาน เป็นการอธิบายเหตุผลที่ท าให้ได้ผลการพิสจน์

ส ารวจ ประดิษฐ์ ทดลอง หรือการ ค้นพบความรู้ใหม่ การอภิปรายผลนักเรียนควร

สืบค้นความรู้ต่างๆ เช่น ทฤษฎี หลักการทางวิทยาศาสตร์มาอ้างอิง เพื่อสนับสนุนผลการ

ด าเนินงานเพื่อความน่าเชื่อถือของผลการศึกษา

นอกจากสรุปและอภิปรายผลแล้ว ควรมีข้อเสนอแนะ ซึ่งเป็นการเสนอข้อควร

ปรับปรุงหรือแก้ไข ปัญหา อุปสรรค เพื่อน าไปสู่การพัฒนา หากมีผู้ที่ต้องการศึกษาเรื่อง

นี้ต่อ


ชุดกิจกรรมการเรียนร้โครงงานวิทยาศาสตร ์สาหรับนักเรียนชัน


มัธยมศึกษาปที 2 16

ชุดที7การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร ์และการนาเสนอ

ส่วนอ้างอิง เป็นส่วนท้ายของรายงาน ประกอบด้วย บรรณานุกรม
และภาคผนวก
บรรณานุกรม เป็นการแสดงรายการชื่อหนังสือ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
การสัมภาษณ์ ฯลฯ ที่น ามาใช้ประกอบการท าโครงงาน ทั้งนี้การเขียนรายงาน
อ้างอิงมีหลายระบบ นักเรียนสามารถเลือกใช้ระบบใดระบบหนึ่ง แต่ต้องเป็น
ระบบการเขียนเดียวกันโดยตลอด
ภาคผนวก เป็นส่วนประกอบที่สนับสนุนการศึกษาค้นคว้าของ
ผู้ท าโครงงาน ซึ่งอยู่ในส่วนท้ายของ รายงาน ตัวอย่างข้อมูลที่น ามาไว้ใน
ภาคผนวก เช่น ข้อมูลส ารวจ สิ่งประดิษฐ์ การทดลองที่ยังไม่ได้จัดกระท า

ตาราง รูปภาพ กราฟที่มีรายละเอียดมาก ข้อมูลผลการทดลองเบื้องต้น

ข้อความซึ่งเป็นรายละเอียดเทคนิค วิธีการต่าง ๆ ที่ต้องการให้ผู้สนใจได้ศึกษา

เป็นต้น