หน่วยความจําสํารอง เรียกว่า

4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจำรองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ ปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่นซีดี

ใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่างเดียว เรียกกันว่า

ซีดีรอม (CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์

ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น

ออปติคัลดิสก์ที่นิยมใช้ในปัจจุบันมีดังนี้

3.1 ซีดีรอม คือ หน่วยความจำรองที่บันทึกได้เพียงครั้งเดียว

3.2 ซีดีอาร์ คือ หน่วยความรองที่สามารถเขียนข้อมูลลงแผ่นแล้วข้อมูลเหล่านั้นไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้

3.3 ซีดีอาร์ดับบลิว คือ หน่วยความจำรองที่สามารถเขียนข้อมูลลงแผ่นและสมารถเขียนข้อมูลลงแผ่นเดิมได้

3.4 ดีวีดี เป็นเทคโนโลยีที่กำลังได้รับความนิยม มีการใช้เทคโนโลยีกราบีดอัดข้อมูลมากขึ้น

3.5 บลูเรย์ดิสก์ เป็นเทคโนโลยีแบบแสงล่าสุดที่สามารถบันทึกข้อมูลความละเอียดสูงได้ถึง100กิกะไบต์

หน่วยความจำหลัก(Main Memory)
หน่วยความจำหลัก  เป็นหน่วยความจำที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. รอม (ROM : Read Only Memory)  เป็นหน่วยความจำหลักที่
                    -  ใช้บรรจุโปรแกรมสำคัญ ที่ใช้ในการสตาร์ทอัพเครื่อง
                    -  เก็บโปรแกรมคำสั่งไว้อย่างถาวร
                    -  ไม่ต้องใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยง ข้อมูลก็จะยังคงอยู่
                    -  เขียนหรือบันทึกข้อมูลคำสั่งได้เพียงครั้งเดียว ในขั้นตอนการผลิตเครื่องจากโรงงาน ไม่สามารถแก้ไข
เปลี่ยนแปลงได้อีก
                    -  อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และการเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม

2. แรม (RAM : Random Access Memory)

หน่วยความจําสํารอง เรียกว่า


ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่รับเข้ามาจากหน่วยรับข้อมูล  เพื่อนำไปประมวลผล
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้ขณะทำการประมวลผลซึ่งยังไม่ใช่ผลลัพธ์สุดท้าย
                    -  ทำหน้าที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้าย
                    -  ทำหน้าที่เก็บชุดคำสั่งต่างๆ ขณะที่เรากำลังทำงานอยู่กับเครื่องเพื่อใช้ในการประมวลผล
                    -  เป็นหน่วยความจำที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ชั่วคราว สร้างขึ้นเพื่อผู้ใช้โดยตรง
                    -  สามารถอ่านหรือเขียนทับข้อมูลลงไปได้ตามต้องการ ถ้าไฟดับข้อมูลจะสูญหาย
                    -  การเข้าถึงข้อมูลเป็นแบบสุ่ม

หน่วยความจำประเภทแรมที่นิยมใช้ในปัจจุบันแบ่งเป็น  2  ประเภท  ดังนี้
                - ดีแรมหรือไดนามิกแรม  มีลักษณะการทำงานที่มีการรีเฟรชกระบวนการทำงานอย่างอัตโนมัติ
เพื่อช่วยในการเก็บข้อมูลให้คงอยู่
                - เอสแรมหรือสเตติกแรม  มีลักษณะการทำงานด้วยการเก็บข้อมูลและรีเฟรชข้อมูลเมื่อได้รับคำสั่ง เท่านั้น  ทำให้มีความสารถในการทำงานเร็วกว่าแบบดีแรม  แต่ปัจจุบันเอสแรมมีราคาแพงกว่าดีแรมมาก

3. หน่วยความจำซีมอส
                เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลสารสนเทศที่ใช้เป็นประจำของระบบคอมพิวเตอร์  เช่น  ประเภทของ แป้นพิมพ์  จอภาพ  และเครื่องอ่านแผ่นดิสเกตต์  หน่วยความจำซีมอสจะใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ที่ติดตั้ง บนเมนบอร์ด  ทำให้ข้อมูลที่บันทึกอยู่ไม่หายไปเมื่อปิดคอมพิวเตอร์

ปัจจุบันชิป  (Chip)  ของหน่วยความจำหลักนิยมสร้างมาจากสารกึ่งตัวนำ
ทำให้มีขนาดเล็กราคาถูก  และสามารถเก็บข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น

หน่วยความจำสำรอง (Secondary Memory)
หน่วยความจำสำรอง  เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูล และโปรแกรมที่ต้องการใช้งานในคราวต่อไปได้
ซึ่งสามารถบรรจุข้อมูลและโปรแกรมได้เป็นจำนวนมาก
      อุปกรณ์ที่เป็นหน่วยความจำสำรอง ได้แก่

หน่วยความจําสํารอง เรียกว่า

            1. ฮาร์ดดิสก์  เป็นฮาร์ดแวร์หลักที่ใช้บันทึกข้อมูลจากหน่วยความจำสำรองที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์
จึงเหมาะ สำหรับบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่ประเภทโปรแกรมต่าง ๆ  ฮาร์ดดิสก์เป็นสื่อบันทึกข้อมูลประเภท จานแม่เหล็ก  ปัจจุบันนิยมใช้หน่วยความจุเป็นเมกะไบต์และกิกะไบต์แบ่งเป็น  3  ประเภทคือ
                - ฮาร์ดดิสก์ไอดีอี  ฮาร์ดดิสก์ประเภทนี้จะสามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นได้เพียง  2  เครื่อง
จึงมีการพัฒนาฮาร์ดดิสก์ประเภทนี้ขึ้นเป็นฮาร์ดดิสก์อีไอดีอี  เพื่อลดข้อจำกัดของฮาร์ดดิสก์ไอดีอี
ทำให้สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์อื่นได้ถึง  4  เครื่อง  ช่วยให้สามารถบันทึกข้อมูลหรือมีความจุได้เพิ่มมากยิ่งขึ้น
                - ฮาร์ดดิสก์ซีเรียวเอทีเอ  มีคุณสมบัติพิเศษที่สามารถถอดฮาร์ดดิสก์ได้ในขณะที่เปิดคอมพิวเตอร์
                - ฮาร์ดดิสก์สกัสซีหรือเอสซีเอสไอ  เป็นฮาร์ดแวร์ที่มีหน่วยความจำในตัวเอง  ทำให้บันทึกและอ่านข้อมูลได้รวดเร็วกว่าฮาร์ดดิสก์ประเภทอื่น
            2. แผ่นดิสเกตต์หรือแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์  เป็นฮาร์ดแวร์ที่มีหลักการทำงานเหมือนกับฮาร์ดดิสก์  คือ  เป็นสื่อบันทึกข้อมูลประเภทจานแม่เหล็ก  ภายนอกหุ้มด้วยพลาสติกเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน  เวลาใช้งานต้องใช้ร่วมกับเครื่องอ่านแผ่นดิสเกตต์ซึ่งติดตั้งที่คอมพิวเตอร์
            3. แผ่นซีดี  เป็นสื่อบันทึกข้อมูลสำรองประเภทจานแม่เหล็ก สามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่า แผ่นดิสเกตต์  โดยแผ่นซีดีขนาดที่ใช้กันโดยทั่วไปจะสามารถบันทึกข้อมูลได้  700  เมกะไบต์  แผ่นซีดีแบ่งตามลักษณะการบันทึกข้อมูลได้  2  ประเภท  ดังนี้
                - แผ่นซีดีอาร์  สามารถบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียว  จึงเหมาะสำหรับการจัดเก็บข้อมูลที่ไม่ต้องการ เปลี่ยนแปลง
                - แผ่นซีดีอาร์ดับบลิว  มีลักษณะภายนอกเหมือนแผ่นซีดีอาร์  แต่สามารถบันทึกข้อมูลซ้ำ ๆ ได้หลายครั้ง
            4. แผ่นดีวีดี  พัฒนามาจากแผ่นซีดี  สามารถบันทึกข้อมูลได้มากกว่าแผ่นซีดี  คือ  บันทึกข้อมูลได้ถึง  4.7  กิกะไบต์

แผ่นซีดีสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้ทั้งเครื่องบันทึกข้อมูลซีดีและดีวีดี
แต่แผ่นดีวีดีสามารถอ่านและบันทึกข้อมูลได้กับเครื่องบันทึกข้อมูลดีวีดีเท่านั้น

            5. ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์  เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้มากในปัจจุบัน  เนื่องจากมีราคาถูก  เหมาะแก่ การพกพา  บันทึกซ้ำได้หลายครั้ง  และบันทึกข้อมูลได้มาก  ทั้งนี้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลสามารถเลือกได้ ตามความต้องการ  ซึ่งมีตั้งแต่  64  เมกะไบต์  ถึงความจุที่ระดับหน่วยเป็นกิกะไบต์

หน่วยเก็บข้อมูลสำรองรู้จักกันในอีกชื่อหนึ่งว่า  Auxiliary  Storage  หมายถึง
หน่วยเก็บช่วยซึ่งมีความหมายเดียวกับ  Secondary  Storage
หรือหน่วยเก็บข้อมูลสำรองนั่นเอง