โครงการพระราชดําริ

        นอกจากโปรดเกล้าฯ ให้มีหน่วยแพทย์พระราชทานแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริว่า ชาวบ้านควรมีความรู้ทางการสาธารณสุขตามสมควร เพื่อช่วยเหลือตนเองในท้องถิ่นที่ขาดแคลนสถานพยาบาล เมื่อพุทธศักราช ๒๕๒๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้มีการฝึกอบรม “หมอหมู่บ้าน” คัดเลือกอาสาสมัครมารับการฝึกอบรมสาธารณสุขมูลฐาน เช่น การปฐมพยาบาลเบื้องต้น โภชนาการสำหรับแม่และเด็ก การป้องกันโรคอย่างง่ายๆ สถานที่ฝึกอบรม ได้แก่ โรงพยาบาลประจำจังหวัดในจังหวัดที่พระราชนิเวศน์ตั้งอยู่ คือ โรงพยาบาลสกลนคร โรงพยาบาลนราธิวาส และโรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่

ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

            พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนราษฎร

เสมือนหนึ่งเป็นความทุกข์ของพระองค์ พระองค์จึงทรงมีพระราชดำริ ที่จะพัฒนาความเป็นอยู่ของราษฎรให้เกิดความ "พออยู่

พอกิน” เพื่อเปลี่ยนการดำเนินชีวิต ทั้งในระดับปัจเจกบุคคล ระดับชุมชน ระดับองค์กร ระดับรัฐ ให้รอดพ้นจากวิกฤตและ

ดําเนินอยู่ในสังคมได้อย่างสมดุล มั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ พระองค์ทรงใช้พระ

อัจฉริยภาพในด้านต่าง ๆ พระราชทานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพื่อประโยชน์สุขแก่ทุกชีวิตในประเทศไทย

ตลอดมา โครงการพระราชดำริ เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนาทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามพระราชดำริจึง

ก่อให้เกิดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริต่าง ๆ มากมายกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อยกระดับชีวิต

ความเป็นอยู่ของประชาชนผู้ยากไร้ ให้สามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืนในพื้นที่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ โดยเน้นการ

พัฒนาด้านแหล่งนํ้าการเกษตร สิ่งแวดล้อม และการส่งเสริมอาชีพ ซึ่งเป็นแนวพระราชดําริที่สําคัญ และที่ได้ทรงดําเนินการ

มาต้ังแต่ปี พ.ศ.2493 เป็นต้นมาจวบจนถึงปัจจุบันนี้ โดยที่ประเทศไทยได้มีการพัฒนาหลายรูปแบบผ่านมาเป็นระยะเวลา

ยาวนาน มีการดําเนินการที่ค่อยเป็นค่อยไปตามลําดับข้ันตอนตามความพร้อมของแต่ละท้องถิ่นเป็นหลัก ท้ังนี้เพื่อให้

ประชาชนพออยู่พอกินและอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาตนเองท้ังด้านเศรษฐกิจและสังคม ในขณะเดียวกันก็ให้ความสําคัญกับการ

อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัชสมัยขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน

ที่พระองค์ได้พระราชทานแนวทางการดําเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพื่อให้องค์กรภาครัฐ และภาค

        จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้พระราชทานพระราชดำริให้สร้างอ่างเก็บน้ำเขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ เพื่อบรรเทาความแห้งแล้ง เดือดร้อนของราษฎรและ
สร้างเสร็จ ใช้ประโยชน์ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๐๖ นับเป็นโครงการพระราชดำริทางด้านชลประทานแห่งแรกของพระองค์

ลักษณะโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๑) โครงการตามพระราชประสงค์
        หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข
ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี
ต่อมาเมื่อทรงแน่พระทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดี เป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงโปรดเกล้าฯให้รัฐบาลเข้ามารับงานต่อภายหลัง

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๒) โครงการหลวง
        พระองค์ทรงดำเนินการพัฒนาและบำรุงรักษาต้นน้ำลำธารในบริเวณป่าเขาในภาคเหนือเพื่อบรรเทาอุทกภัยในที่ลุ่มล่างด้วยเหตุผลที่พื้นที่เหล่านี้เป็นเขตแดนชาวไทยภูเขา
จึงทรงมีโอกาสพัฒนาชาวเขาชาวดอยให้อยู่ดีกินดี ให้เลิกการปลูกฝิ่น เลิกการตัดไม้ทำลายป่า ทำไร่เลื่อยลอย และเลิกการค้าไม้เถื่อน ของเถื่อน อาวุธยุทโธปกรณ์นอกกฎหมาย
ทรงพัฒนาช่วยเหลือให้ปลูกพืชหมุนเวียนที่มีคุณค่าสูง ขนส่งง่าย ปลูกข้าวไร่ และเลี้ยงสัตว์ไว้เพื่อบริโภค รวมคุณค่าผลผลิตแล้วให้ได้คุณค่าแทนการปลูกฝิ่น ทั้งๆที่งานของ
โครงการนี้กินเวลายาวนานกว่าจะเกิดผลได้ ต้องใช้เวลานานนับสิบปี การดำเนินงานจะยากลำบากสักเพียงใดมิได้ทรงท้อถอย การพัฒนาค่อยๆได้ผลดีขึ้นๆ ชาวเขาชาวดอย
จึงมีความจงรักภักดีเรียกพระองค์ว่า“พ่อหลวง” และเรียกสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถว่า“แม่หลวง” โครงการของทั้งสองพระองค์จึงเรียกว่า “โครงการหลวง”

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๓) โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์
        หมายถึง โครงการที่พระองค์ได้พระราชทานข้อเสนอแนะและแนวทางพระราชดำริให้เอกชนไปดำเนินการ ด้วยกำลังเงิน กำลังปัญญา และกำลังแรงงาน พร้อมทั้งการ
ติดตามผลงานให้ต่อเนื่องโดยภาคเอกชน เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคิรีขันธ์ ซึ่งสโมสรโรตารีแห่งประเทศไทยเป็นผู้จัดการ
และดำเนินงานตามพระราชดำริ โครงการพจนานุกรม โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เป็นต้น

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น


ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

๔) โครงการตามพระราชดำริ
        โครงการประเภทนี้เป็นโครงการที่ทรงวางแผนพัฒนา ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการตามแนวพระราชดำริ โดยพระองค์เสด็จฯ ร่วมทรงงานกับหน่วยงานของรัฐบาลซึ่งมีทั้งฝ่ายพลเรือน ตำรวจ ทหาร โครงการตามพระราชดำรินี้ในปัจจุบันเรียกว่า“โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ” ซึ่งมีกระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศไทย ปัจจุบันมีลักษณะที่เป็นโครงการพัฒนาด้านต่างๆ ที่ดำเนินการเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาสั้นและระยะเวลายาวที่มากกว่า๕ ปี ขณะเดียวกันก็มีลักษณะที่เป็นงานด้านวิชาการ เช่น โครงการเพื่อการศึกษาค้นคว้าทดลอง หรือโครงการที่มีลักษณะเป็นงานวิจัย เป็นต้น

ประเภทโครงการด้านต่างๆ

        

  ๑. โครงการพัฒนาด้านแหล่งน้ำ

  3,248 โครงการ/กิจกรรม

  ๒. โครงการพัฒนาด้านการเกษตร

  170 โครงการ/กิจกรรม

  ๓. โครงการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม 

  182 โครงการ/กิจกรรม

  ๔. โครงการพัฒนาด้านส่งเสริมอาชีพ

  339 โครงการ/กิจกรรม

  ๕. โครงการพัฒนาด้านสาธารณสุข

  58 โครงการ/กิจกรรม

  ๖. โครงการพัฒนาด้านคมนาคม/สื่อสาร

  87 โครงการ/กิจกรรม

  ๗. สวัสดิการสังคม/การศึกษา

  398 โครงการ/กิจกรรม

  ๘. โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อื่นๆ

  259 โครงการ/กิจกรรม

 


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริล่าสุด

โครงการตามพระราชดําริ มีอะไรบ้าง

โครงการแกล้งดิน.
โครงการปลูกหญ้าแฝก.
โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน.
โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน.
ทุนมูลนิธิอานันทมหิดล.
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรทฤษฎีใหม่.
โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา.
โครงการฝนหลวง.

โครงการพระราชดําริ 4000 โครงการ มีอะไรบ้าง

โครงการในพระราชดำริในหลวงรัชกาลที่ ๙ ที่หลายคนอาจยังไม่เคยรู้จัก.
โครงการแกล้งดิน “… ... .
โครงการพัฒนาพื้นที่พรุแฆแฆ ... .
โครงการชั่งหัวมัน ... .
โครงการแก้มลิง ... .
โครงการหญ้าแฝก ... .
โครงการฝายชะลอน้ำ ... .
โครงการฝนหลวง.

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ มีกี่โครงการ

ปัจจุบันมีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 4,741 โครงการ ประเภทโครงการ ภาค รวม

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หมายถึงอะไร

หมายถึง โครงการซึ่งทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นส่วนพระองค์ ทรงศึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญในวงงาน ทรงแสวงหาวิธีการทดลองปฏิบัติ ทรงพัฒนา และส่งเสริมแก้ไข ดัดแปลงวิธีการเป็นระยะเวลาหนึ่ง เพื่อดูแลผลผลิตทั้งในพระราชฐานและนอกพระราชฐาน ซึ่งต้องทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการดำเนินการทดลองจนกว่าจะเกิดผลดี