คำ อธิบาย รายวิชา อาหารว่าง

คำ อธิบาย รายวิชา อาหารว่าง

คำอธิบายรายวิชา  อาหารไทย

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

รหัสวิชา   30206                                                                      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่    5  ภาคเรียนที่ 1  

ชื่อวิชา  อาหารไทย                                                                            เวลาเรียน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

                        มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่  สารอาหาร  การหุงต้มอย่างสงวนคุณค่าอาหารทางโภชนาการ  สามารถจัดรายการอาหารประจำวัน  มีความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารอาหาร การเลือกซื้อ อาหารสด อาหารแห้ง  ปฏิบัติการประกอบอาหารไทย ประเภทต่างๆ ได้ เช่น แกง , ผัด  ,ยำ , อาหารว่าง  และอาหารจานเดียวอย่างน้อย 6 ชนิด   สามารถคำนวณค่าใช้จ่าย  ทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายและประเมินผลได้

มีเจตคติที่ดี ต่อการประกอบอาหารไทย  สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

1. มีความรู้เกี่ยวกับอาหารหลัก 5 หมู่และสารอาหาร

2. มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการหุงต้มอย่างสงวนคุณค่าอาหารทางโภชนาการ

3. มีความรู้เกี่ยวกับการจัดรายการอาหารประจำวัน

4. มีความรู้เกี่ยวกับโรคขาดสารอาหาร

5. มีความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อ อาหารสด อาหารแห้ง

6. ปฏิบัติการประกอบอาหารไทย ประเภทต่างๆ ได้ เช่น แกง , ผัด

ยำ , อาหารว่าง และอาหารจานเดียวอย่างน้อย 6 ชนิด

7. สามารถคำนวณค่าใช้จ่าย 

8. สามารถทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายและประเมินผลได้

9.มีเจตคติที่ดี ต่อการประกอบอาหารไทย

รวมจำนวน      9 ผลการเรียนรู้

หมวดที่ 2

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

1.1 นักศึกษามีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่างและเครื่องดื่ม
      1.2 นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม
      1.3 นักศึกษามีความรู้และเข้าใจการแบ่งประเภทของอาหารว่างและเครื่องดื่ม
      1.4 นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการจัดและตกแต่งการจัดเสิร์ฟการจัดเลี้ยงอาหารว่างและเครื่องดื่ม
      1.5 นักศึกษามีความเข้าใจและมีทักษาในการประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มในโอกาสต่างๆ
 

2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่างและเครื่องดื่ม การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม การแบ่งประเภทของอาหารว่างและเครื่องดื่ม การจัดเลี้ยงอาหารว่างและเครื่องดื่ม การประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มในโอกาสต่างๆ
 

หมวดที่ 3

ลักษณะและการดำเนินการ

1. คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่างและเครื่องดื่ม การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ในการประกอบอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม การแบ่งประเภทของอาหารว่างและเครื่องดื่ม การจัดเลี้ยงอาหารว่างและเครื่องดื่ม การประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มในโอกาสต่างๆ

2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย :     จำนวนชั่วโมงบรรยายต่อสัปดาห์                   1        ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            4        ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง                 4        ชั่วโมง
    จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา               -         ชั่วโมง  (ถ้ามี) สอนเสริม : จำนวนชั่วโมงที่สอนเสริมในรายวิชา               -         ชั่วโมง  (ถ้ามี) การฝึกปฏิบัติ/งานภาคสนาม/การฝึกงาน : จำนวนชั่วโมงฝึกปฏิบัติการต่อสัปดาห์            4        ชั่วโมง การศึกษาด้วยตนเอง : จำนวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง           4        ชั่วโมง

3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

3.1 วันจันทร์   เวลา 12.00-17.00  น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 089 6386085
    3.2  เวลา 08.00 – 17.00 น. ทุกวัน

หมวดที่ 4

การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
˜ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

1.2 วิธีการสอน

ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการปะดิษฐ์ดอกไม้แบบสร้างสันต์ กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตามที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบตนเองและในการทำงานกลุ่มที่ต้องปฏิบัติการทำอาหารว่างและเครื่องดื่ม

รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน

1.3 วิธีการประเมินผล

- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคล
- การส่งงานในชั่วโมงและการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่มและรายบุคคล
- ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกัน

2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
šติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
šสามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

2.2 วิธีการสอน

ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อทางเทคโนโลยี และเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและตอบคำถาม ใช้การสอนจากสื่อที่มีข้อมูลความเกี่ยวข้องทางด้านการประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม การสอนด้วยการให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ทดแทนกันได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพในการประกอบอาหารว่างและเครื่อง

ให้นักศึกษาได้เรียนรู้และเข้าร่วมการฝึกอบรมให้กับชุมชนหรือหน่วยงานที่ต้องการรับความรู้ทางด้านการจัดเลี้ยงอาหารว่างหรือเครื่องดื่ม มีบริการให้กับโรงเรียนในชุมชนที่ต้องการความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มสมุนไพรในท้องถิ่น

2.3 วิธีการประเมินผล

การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย

       - การทำรายงานและรูปเล่ม

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา

3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
˜มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ

3.2 วิธีการสอน

การสอนโดยการนำตัวอย่างของจริง การสอนแบบบูรณาการให้ไปค้นคว้าจากผู้ประกอบการ และศึกษาด้วยตนเอง

        การสอนการใช้เทคนิคการในการประกอบอาหารว่างให้ร่วมสมัยและสามารถนำไปประกอบอาชีพได้หรือสร้างสรรค์ผลงาน

3.3 วิธีการประเมินผล

- การฝึกปฏิบัติและทักษะในการเรียนอาหารว่างในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
-การส่งผลงานอาหารว่าง
- ประเมินจากการฝึกปฏิบัติและทักษะในการฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารว่างได้

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา

4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
šมีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
šมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
šสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม

4.2 วิธีการสอน

การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏฺบัติ สามารถแก้ไขปัญหาต่างได้ที่อาจจะเกิดขึ้นในการนำไปประกอบเป็นวิชาชีพ

4.3 วิธีการประเมินผล

การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการประกอบอาหารว่างและเครื่องในงานเลี้ยงได้

มอบหมายงานในการจัดตกแต่งและการเสิร์ฟในงานเลี้ยงได้

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา

5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
šสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
šสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
šสามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5.2 วิธีการสอน

การสอนโดยใช้อินเตอร์เน็ต การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงาน

การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย

5.3 วิธีการประเมินผล

- ประเมินทักษะการประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่มตามหัวข้อที่ตกลง
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงการปฏิบัติงาน
- ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
-ประเมินจากกสื่อสารด้วยภาษาการพูดจาและการรับผิดชอบงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

6. ด้านทักษะพิสัย 6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

6.2 วิธีการสอน

สอนแบบฝึกปฏิบัติจริง

6.3 วิธีการประเมินผล

จากผลงานที่สำเร็จ

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

ความรับผิดชอบหลัก ความรับผิดชอบรอง

กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4 1 1 4 1
1 BSCFN138 อาหารว่างและเครื่องดื่ม

หมวดที่ 5

แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน

สัปดาห์ที่ 1 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 2 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 3 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 4 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 5 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 6 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 7 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 8 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 9 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 10 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 11 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 12 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 13 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 14 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 15 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 16 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 5 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

สัปดาห์ที่ 17 หัวข้อ/รายละเอียด

จำนวนชั่วโมง: 2 ชั่วโมง

ผู้สอน : -

หมวดที่ 6

ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก

เอกสารประกอบการสอนการเรียนวิชาอาหารว่างและเครื่องดื่ม
ฉวีวรรณ  แจ้งกิจ  และพจนีย์  บุญนา (ม.ป.ป.) อาหารว่าง.เอกสารประกอบการสอนวิชาอาหารว่าง. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล  วิทยาเขตโชติเวช. (ม.ป.ท.)
ศรีสมร   คงพันธ์. (2555). เรื่องเล่ากับข้าวไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส.ส.ส.ส.จำกัด
สิริพันธุ์  จุลรังคะ(2555). เครื่องดื่มในงานบริการ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สุพภรณ์  พจนมณี. (2521). ตำหรับอาหาร. วิทยาเขตพระนครใต้. สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พระจันทร์.

2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ

https://cooking.kapook.com/view150139.html
http://www.kitchenwaremarket.com/oscommerce/catalog/article_info.php?articles_id=177&osCsid=6b2177f5b879136d401f786115c97fd5
https://cooking.kapook.com/view180149.html
https://cooking.kapook.com/drink/other     
https://th.openrice.com/th/bangkok/article/%E0%B8%A3%E0%B8%A7A1%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%

3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ

เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องหรือรายการทีวีที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาหารว่างและเครื่องดื่ม                  

หมวดที่ 7

การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

2.  กลุยุทธ์การประเมินการสอน :  
2.1   การประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.2   การประเมินผลจากผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การสังเกตพฤติกรรมและการมีส่วนร่วม
2.4   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน

3.   การปรับปรุงการสอน  : 
3.1   การวิจัยนอกชั้นเรียน
3.2   การจัดกิจกรรมศึกษานอกสถานที่
3.3   เชิญบุคลากรในชุมชนให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

4.  การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา :
              4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
                     ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
              4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา
                     โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

5.  การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา : 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
             5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
                    ผลสัมฤทธิ์
             5.2  เชิญบุคลากรในชุมชนมามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่