เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร ebook

รหสั วชิ า 20204-2005
(Introduction to Computer Networks)

สายชล พานทอง
วนิดา ทองสมี า

คำนำ

การศึกษาในสายอาชีวศึกษาจะเป็นการเรียนรู้เพื่ออาชีพ จึงจำเป็นต้องมีการ
ฝึกทักษามากกว่าการเรียนรู้ในเชิงทฤษฎี ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถนำไปประกอบอาชีพ
ได้ทันที ไม่ต้องไปฝึกหรือเรียนรู้จากสถานประกอบการใหม่ รวมทั้ง การที่จะต้อง
แข่งขันในการสมัครเข้าทำงานถ้าผู้เรียนมีทักษะวิชาชีพเป็นอย่างดี ย่อมที่จะหางาน
ได้รวดเร็ว และเมื่อปฏิบัติงานแล้ว จะเป็นที่พึงพอใจของสถานประกอบการ
โดยเฉพาะการที่มีทักษะทางด้านโปรแกรมสำเร็จรูป เช่น Microsoft Word,
Microsoft Excel และ Microsoft Power Point แต่ในแง่ของระบบเครือข่ายซึ่งจะ
เกี่ยวข้องในทางด้าน Hardware และ Software ประกอบกัน มักจะไม่ค่อยมีผู้ท่ี
เรียนรอู้ ยา่ งจริงจัง จึงทำให้เกดิ ปญั หาขาดแคลนบุคลากรทางด้านนี้

หนังสือเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเล่มนี้ มุ้งเน้นที่จะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
และสามารถที่จะปฏิบัติการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายในรูปแบบต่างๆ ได้ ซึ่ง
ประกอบด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องคือ หลักการทำงานและองค์ประกอบของระบบ
เครือข่าย อุปกรณ์ระบบเครือข่าย ประเภทของเครือข่าย ตัวกลางการเชื่อมต่อ
เครือข่าย โปรโตคอล รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย การติดตั้ง ระบบปฏิบัติการ
เครอื ข่าย การใช้โปรแกรมประยกุ ต์และโปรแกรมยทู ิลติ บ้ี นเครือข่าย

จึงหวังว่า หนังสือเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับผู้มีความประสงค์ที่
จะเรียนรู้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเป็นอย่างดี สามารถที่จะพัฒนาไปสู่
ระบบเครอื ขา่ ยที่จะต้องปฏิบตั จิ ริง ท้งั นี้ ต้องขอขอบคุณ อาจารย์ภานพุ งศ์ สายพรศรี
ที่ได้ใหข้ ้อเสนอแนะเพอ่ื ให้หนงั สอื เล่มน้มี คี วามสมบรู ณ์มากยิง่ ขน้ึ

รหัสวชิ า 20204-2005 เครือข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บ้อื งตน้ 2-2-3

(Introduction to Computer Networks)

จุดประสงค์รายวิชา เพ่อื ให้

1. เข้าใจเกย่ี วกบั หลักการทำงานและองค์ประกอบของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
2. สามารถเลือกใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเช่ือมตอ่ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรเ์ บือ้ งต้น
3. สามารถใช้งานเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ในองคก์ ร
4. มีเจตคตแิ ละกิจนสิ ยั ที่ดีในการปฏิบตั ิงานคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยความละเอยี ดรอบคอบ และ
ถกู ตอ้ ง

สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับหลักการทำงานและกระบวนการของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ใช้อปุ กรณแ์ ละเชอื่ มตอ่ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้ ในการปฏิบตั งิ าน
3. ประยุกต์ใช้ในงานเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรใ์ นการปฏิบัตงิ านขององค์กร

คำอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทำงานและองค์ประกอบของระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวกลางการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โปรโตคอล รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ การติดตั้งระบบปฏิบัติการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้โปรแกรมประยุกต์และ
โปรแกรมยูทลิ ิต้ีบนเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

สารบัญ

หน่วยที่ 1 หนว่ ยท่ี 3
พื้นฐานการส่อื สารขอ้ มูลและเครือขา่ ย
1 มาตรฐานการเช่ือมต่อระบบเครอื ข่าย 34
• ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
• องค์ประกอบในการสือ่ สาร 3 • มาตรฐาน OSI Model 35
• รปู แบบของการสง่ สัญญาณขอ้ มูล 3
• คุณสมบตั ิพ้นื ฐานของการส่อื สารขอ้ มลู 3 • โปรโตคอลในการสือ่ สารขอ้ มูล 37
• ความหมายของระบบเครือขา่ ย 5
• องค์ประกอบของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 5 • โปรโตคอล TCP 37
• หลักการทำงานของระบบเครือขา่ ย 6
• กระบวนการ Three Way
คอมพวิ เตอร์ 7
• ประโยชน์ของการสื่อสารข้อมลู และ Handshake 38
8
เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 9 • Sliding Window และ
• เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์กบั ชีวติ ประจำวัน 11
• คำถามทา้ ยหน่วย ความนา่ เชอ่ื ถอื ในการรบั สง่ ขอ้ มลู 39
15
หนว่ ยท่ี 2 • โปรโตคอล UDP 41
ประเภทของเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 17
18 • โปรโตคอล IP 41
• เครือขา่ ยท้องถน่ิ 19
• เครือขา่ ยระดบั เมอื ง 20 • คำถามทา้ ยหน่วย 43
• เครอื ขา่ ยระดับประเทศ 21
• ระบบเครอื ข่ายไรส้ าย หนว่ ยที่ 4 48
• มาตรฐานเครอื ขา่ ยไรส้ าย 24 รูปแบบการเชอ่ื มต่อเครอื ขา่ ย
• รปู แบบการเชื่อมต่อของระบบ 23
28 • ลกั ษณะการเชอ่ื มโยงเครือข่าย 49
เครือข่ายไรส้ าย • การเชอ่ื มตอ่ แบบจุดตอ่ จดุ 50
• ประโยชนข์ องระบบเครอื ขา่ ยไรส้ าย • รปู แบบการเช่ือมโยงเครือข่าย 50
• คำถามท้ายหน่วย • ไอพีแอดเดรส และซบั เนต็ มาสก์ 53
• คำถามทา้ ยหน่วย 56

หนว่ ยที่ 5 62
อุปกรณใ์ นระบบเครือขา่ ย
63
• ชอ่ งทางการสือ่ สารแบบใช้สาย 63
• สายคบู่ ิดเกลียว 65
• สายโคแอกเชยี ล 66
• สายใยแกว้ นำแสง 67
• ชอ่ งทางการสอ่ื สารแบบไร้สาย 69
• อปุ กรณใ์ นเครือขา่ ย 74
• คำถามทา้ ยหนว่ ย

สารบญั

หนว่ ยท่ี 6 หนว่ ยที่ 8
การเชือ่ มต่อเครือขา่ ยแบบเวิรก์ กรุป๊
Windows 7 การตรวจสอบและแก้ไขปญั หาของ
80 ระบบเครือข่าย
116

• วิธกี ารและขัน้ ตอนและการเข้าหวั • การตรวจสอบอปุ กรณ์ฮาร์ดแวร์ 117

สาย RJ-45 81 • การตรวจสอบการติดตอ่ กบั

• ข้ันตอนการตดิ ตง้ั เครอื ข่ายแบบ คอมพวิ เตอรป์ ลายทาง 119

เวิรก์ กรุ๊ปดว้ ย Windows 7 83 • การตรวจสอบการตดิ ตง้ั ค่าในเวริ ก์ กรุ๊ป 123

• การสรา้ งเวริ ก์ กรุ๊ปให้กบั เคร่อื งแรก 85 • การตรวจสอบขอ้ บกพรอ่ งบนเครอื ขา่ ย 126

• การกำหนดไอพแี อดเดรส 87 • คำถามทา้ ยหนว่ ย 127

• การทดสอบการเช่ือมตอ่ 90 หนว่ ยท่ี 9
• คำถามทา้ ยหน่วย 94 การใชโ้ ปรแกรมประยกุ ต์และโปรแกรม

หน่วยท่ี 7 ยูทลิ ติ บ้ี นเครอื ข่าย 132

การแชร์ไฟลแ์ ละเครอื่ งพิมพบ์ นเครอื ข่าย 100 • แนวทางการตดิ ต้งั โปรแกรมประยกุ ต์

• การแชร์ไฟล์ 111 บนเครอื ขา่ ย 133

• การแชรเ์ คร่ืองพิมพ์ในระบบ • โปรแกรมประยกุ ต์บนเครือข่าย 134
เครือขา่ ย LAN 105 อินเทอร์เนต็ 137

• ขัน้ ตอนการเข้าใช้เครื่องพิมพท์ ี่ • การใชโ้ ปรแกรมประยุกตเ์ พ่อื การ
เครื่องลกู 108 ถา่ ยโอนแฟม้ ขอ้ มลู

• การตงั้ เครอ่ื งพมิ พ์เปน็ เครื่องหลกั 108 • การสร้างเอกสารเวบ็ เพจดว้ ย 138
• การคน้ หาคอมพิวเตอร์ในเวิร์กกรุป๊ 109 โปรแกรมบรรณาธิกร

• คำถามท้ายหนว่ ย 110 • โปรแกรมยูทลิ ิต้ี 139

• คำถามท้ายหน่วย 141

บรรณานุกรม 145

สาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 1

(1) ความหมายของการสอื่ สารขอ้ มูล
(2) องคป์ ระกอบในการส่ือสาร
(3) รูปแบบของการส่งสญั ญาณข้อมลู
(4) คุณสมบัติพ้ืนฐานของการส่ือสารข้อมูล
(5) ความหมายของระบบเครือขา่ ย
(6) องค์ประกอบของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์
(7) หลกั การทำงานของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
(8) ประโยชนข์ องการสือ่ สารข้อมูลและเครือข่ายคอมพวิ เตอร์
(9) เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์กบั ชวี ิตประจำวนั

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

จดุ ประสงค์ทัว่ ไป
(1) บอกความหมายและองคป์ ระกอบในการสื่อสารขอ้ มูลได้
(2) อธบิ ายรูปแบบและคุณสมบตั ิพ้ืนฐานของการส่ือสารขอ้ มูลได้
(3) อธบิ ายความหมายและองคป์ ระกอบของเครือข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้
(4) อธิบายหลกั การทำงานและประโยชนข์ องการสอ่ื สารขอ้ มูลและเครือขา่ ย
คอมพิวเตอรไ์ ด้
(5) อธบิ ายเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรก์ บั ชวี ิตประจำวนั ได้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
(1) พทุ ธพิ สิ ยั เข้าใจองค์ประกอบและรปู แบบของการสอื่ สารและระบบเครือข่าย
(2) ทักษะพิสยั แสดงความรูเ้ ก่ียวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครอื ข่าย
คอมพวิ เตอร์
(3) จติ พสิ ัย มกี ารทำงานดว้ ยความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย เลอื กใช้ภาษาท่ี
เหมาะสมกบั งาน

สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้

(1) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั การสอื่ สารขอ้ มูล
(2) แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์
(3) มกี จิ นสิ ยั ทดี่ ใี นการอยรู่ ่วมกนั เป็นหมคู่ ณะตามหลักประชาธิปไตย

พืน้ ฐานการส่อื สารข้อมูลและเครอื ขา่ ย พื้นฐานการสอื่ สาร

หน่วยท่ี 1 ข้อมลู และเครือข่าย

แผนผังความคดิ
(Mind Mapping)

พืน้ ฐานการสอื่ สารข้อมูลและเครอื ขา่ ย สาระสำคัญ

ความหมายของการส่อื สารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย เป็น
องคป์ ระกอบในการส่อื สาร การสื่อสารข้อมูลที่ใช้ในลักษณะการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลกันโดยใช้เครือข่าย
รปู แบบของการสง่ สญั ญาณข้อมลู คอมพิวเตอร์ โดยมีองค์ประกอบในการ
สื่อสารคือ ผู้ส่งข้อมูล ผู้รับข้อมูล ข้อมูลส่ือ
คณุ สมบตั ิพน้ื ฐานของการสอ่ื สารข้อมลู นำข้อมูลและโปรโตคอล ซึ่งในการสื่อสาร
ข้อมูลจะเป็นการส่งสัญญาณข้อมูลหลาย
ความหมายของระบบเครอื ขา่ ย รูปแบบด้วยกัน ส่วนระบบเครือข่าย เป็น
กลุ่มของคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเพื่อการ
องค์ประกอบของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ สื่อสาร โดยผ่านอุปกรณ์เครือข่าย ไม่ว่าจะ
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ เน็ตเวิร์คการ์ด
ช สื่อกลางและโปรโตคอล โดยมีหลักการ
ทำงานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่
หลักการทำงานของระบบเครอื ข่าย เน้นความน่าเชอ่ื ถอื และการลดค่าใช้จ่าย
คอมพิวเตอร์

ประโยชน์ของการส่อื สารขอ้ มูลและ
เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

เครอื ข่ายคอมพวิ เตอรก์ บั ชวี ติ ประจำวนั

2

พืน้ ฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือขา่ ย

ความหมายของการสอ่ื สารข้อมูล

การสื่อสารข้อมูล (Data Communication) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูล
กันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกลางในการส่งขอ้ มลู เพือ่ ให้ผ้สู ่งและผู้รับเกดิ ความเข้าใจซ่ึงกันและกนั

การสื่อสารข้อมูล ด้วยคอมพิวเตอร์นั้น จำเป็นต้องมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network)
บางครั้งเรียกทับศัพท์ว่าคอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก ซึ่งจะอาศัยระบบโทรคมนาคม (Telecommunication)
ให้สามารถติดต่อสื่อสารได้ระหว่างต้นทางและปลายทาง ดังนั้น การสื่อสารข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์จึง
เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เชื่อต่อระบบเครือข่ายตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อความสะดวกในการ
ติดต่อสื่อสารเพิ่มขีดความสามารถในการใช้ทรัพยากรร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า เช่น หน่วยความจำ หน่วย
ประมวลผล โปรแกรมประยกุ ต์ตา่ งๆ และอุปกรณ์ตอ่ พ่วง เปน็ ตน้

องคป์ ระกอบในการส่อื สาร

การสื่อสารทุกรูปแบบจะมอี งค์ประกอบในการสอ่ื สาร ดังน้ี

1. ผู้ส่งข้อมูล (Sender) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดที่ต้องการ เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้อง
วิดโี อ เป็นตน้

2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาจากผู้ส่ง เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์
เครอื่ งพมิ พ์ เป็นตน้

3. ข้อมูล (Data) คือ สิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปยังผู้รับ ซึ่งอาจจะเป็นข้อความ เสียง หรือ
ภาพเคลื่อนไหว

4. สื่อนำข้อมูลหรือตัวกลาง (Medium) คือ สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการนำข้อมูลจากผู้ส่งไป
ยงั ผ้รู ับ เชน่ คน อากาศ และสายเคเบลิ

5. โปรโตคอล (Protocol) คือ กฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือวิธีการในการสื่อสารข้อมูลซึ่งผู้ส่งและผู้รับ
จะต้องตกลงวิธกี ารสอ่ื สารให้เข้าใจตรงกนั เพ่อื ทีจ่ ะส่งและรับข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง

รปู แบบของการส่งสัญญาณขอ้ มูล

การติดตงั้ สอ่ื สารผา่ นชอ่ งทางการสง่ สัญญาณ สามารถทำได้ 3 ลักษณะ คือ

1. การสือ่ สารแบบทางเดียว (Simplex / One – Way Communication)
การสื่อสารแบบทางเดียว เป็นการส่งโดยใช้ช่องทางการส่งสัญญาณเพียงช่องเดียว ข้อมูลจะถูกส่งไปใน
ทิศทางเดียวเสมอจากฝ่ายส่งไปยังฝ่ายรับ โดยไม่มีการสับเปลี่ยนหน้าที่ของแต่ละฝ่าย เช่น การส่ง
สัญญาณโทรทศั น์ สญั ญาณวทิ ยุ

3

4
พ้ืนฐานการสื่อสารขอ้ มูลและเครือขา่ ย

ภาพที่ 1.1 : การสือ่ สารแบบทางเดยี ว

2. การสื่อสารแบบสลับหรือก่งึ สองทาง (Half – Duplex / Either – Way Communication)
การส่ือสารแบบสลับหรอื กึ่งสองทาง เป็นการสือ่ สารแบบ 2 ทางแบบสลบั หน้าทกี่ นั โดยใชช้ อ่ ง
ทางการส่งสัญญาณเพียงช่องเดียว ซ่ึงแต่ละฝา่ ยทำหน้าทไ่ี ด้ท้งั รับ – สง่ แตท่ งั้ 2 ฝา่ ยต้องสลบั หนา้ ท่ี
ให้สอดคล้องกนั เม่ือมีการสง่ ข้อมูลจากฝ่ายหน่ึงทเ่ี ป็นฝ่ายสง่ อีกฝ่ายหน่งึ ท่ีเปน็ ฝา่ ยรบั เมอ่ื ได้รบั
ข้อมูลแลว้ จะใช้เวลาส่วนหนงึ่ เพ่อื ตีความหรอื เพือ่ รบั ทราบวา่ ข้อมูลจากฝา่ ยส่งหมดแลว้ และตอบ
กลับไป เรยี กช่วงเวลาท่ีใช้ไปของฝา่ ยรับวา่ “Reaction Time” จากนัน้ หากฝ่ายใดฝ่ายหนึง่ ต้องการ
ส่งข้อมูลก็จะสง่ สัญญาณไปยงั อีกฝ่าย เพอื่ รอรบั ขอ้ มลู ท่ีจะสง่ ออกไป เชน่ วิทยุสื่อสาร เป็นต้น

ภาพท่ี 1.2 : การส่ือสารแบบสลบั หรอื กึง่ สองทาง

3. การสื่อสารแบบสองทาง (Full – Duplex / Both – Way Communication)
การสื่อสารแบบสองทางเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทางไปและกลับในเวลาเดียวกันได้ โดยใช้ช่อง

ทางการส่งสัญญาณ 2 ช่อง เพื่อให้ทั้ง 2 ฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้ในขณะเดียวกัน เช่น ระบบ
โทรศัพท์ทั่วไปซึ่งใช้สาย 4 เส้น (Four – Wire – Line) สายแต่ละคู่จะใช้เป็นช่องทางการส่งสัญญาณได้
1 ช่อง จะเห็นได้ว่าทั้ง 2 ฝ่ายสามารถรับส่งข้อมูลได้โดยไม่ต้องแบ่งเวลาในการใช้ช่องทางการส่ง
สัญญาณ การสื่อสารแบบ Full – Duplex นี้จะทำงานได้รวดเร็วกว่าแบบ Half – Duplex แต่การ
สื่อสารข้อมูลสำหรับคอมพิวเตอร์โปรแกรมประยกุ ต์ (Application Program) ที่ทำงานบนคอมพิวเตอร์
ขณะนั้น อาจเป็นตัวกำหนดประเภทการสื่อสารที่จะใช้ว่าเป็น Full – Duplex หรือ Half – Duplex
ทัง้ น้ี เนื่องจากโปรแกรมประยุกต์เหล่านอี้ าจต้องรอขอ้ มูลที่ส่งจากปลายทางอีกด้านหน่ึงแล้วจึงนำข้อมูล
น้ันมาประมวลผลตอ่ ไปเมือ่ เปน็ เชน่ น้ี การส่อื สารทใี่ ช้จึงเปน็ ได้เพยี งแบบ Half – Duplex

4

พนื้ ฐานการสอื่ สารข้อมูลและเครอื ขา่ ย

ภาพท่ี 1.3 : การสือ่ สารแบบสองทาง

คณุ สมบตั ิพนื้ ฐานของการส่อื สารข้อมูล

เมื่อมีการสื่อสารข้อมูลเกิดขึ้น อุปกรณ์การสื่อสารจึงนับได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของระบบการสื่อสารด้วย
การรวมส่วนของฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้สามารถทำการสื่อสารได้ ผลของระบบ
การสือ่ สารขอ้ มูลจะขน้ึ อยู่กับคณุ สมบตั ิพ้นื ฐาน 3 ประการด้วยกัน คือ

1. การสง่ มอบ (Deliver)
ระบบจะต้องสามารถส่งมอบข้อมูลไปยังจุดหมายปลายทางได้อย่างถูกต้อง ข้อมูลที่ส่งไปน้ัน

จะตอ้ งส่งไปยงั อปุ กรณ์ตามจดุ หมายที่ต้องการ ซึง่ อาจเป็นผูใ้ ช้ (User) หรอื อปุ กรณ์ก็ได้
2. ความถกู ต้องแน่นอน (Accuracy)
ระบบจะต้องส่งมอบข้อมูลได้ถูกต้องและแน่นอน อีกทั้งยังต้องสามารถส่งสัญญาณเตือนให้

รับทราบในกรณีท่กี ารส่งข้อมลู ในขณะนนั้ ไม่ถูกต้อง สญู หาย หรือไมส่ ามารถใช้งานได้
3. ระยะเวลา (Timeliness)
ระบบจะต้องส่งมอบข้อมูลในช่วงที่เหมาะสม เช่น ในบางระบบ เวลาอาจไม่ใช่สาระสำคัญ หาก

เกิดความล่าช้าในข้อมูลที่ส่งอาจยอมรับได้ โดยขอให้ข้อมูลไปถึงปลายทางถือว่าเพียงพอ แต่ในขณะที่
บางระบบโดยเฉพาะระบบเรียลไทม์ (Real – Time Transmission) ซึ่งระบบดังกล่าว จำเป็นต้องใช้
เวลาที่ตอบสนองแบบทันทีทันใด จึงจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์และสื่อส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง เพื่อให้
สามารถสง่ ขอ้ มลู ไปยงั จุดหมายปลายทางไดท้ นั ที

ความหมายของระบบเครือขา่ ย

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือ กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์คอมพิวเตอรท์ ี่
ถูกนำมาเชื่อมต่อกันผ่านอุปกรณ์ด้านการสื่อสารหรือสื่ออื่นใด ทำให้ผู้ใช้ในระบบเครือข่ายสามารถ
ติดตอ่ สือ่ สารแลกเปลยี่ นและใชอ้ ุปกรณต์ า่ งๆ ของเครือข่ายร่วมกันได้

5

พ้นื ฐานการสือ่ สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย

ภาพท่ี 1.4 : เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์

การที่เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีบทบาท และความสำคัญเพิ่มขึ้นเพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับการใช้
งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่างๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง เครือข่ายมี
ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชื่อมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์เพียงสองหรือสามเครื่องเพื่อใช้งานในบ้าน หรือในบริษัท
เล็กๆ ไปจนถึงเครือข่ายระดับโลกที่ครอบคลุมไปเกือบทุกประเทศ เครือข่ายสามารถเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอรเ์ ป็นจำนวนมากทว่ั โลกเข้าดว้ ยกนั เรียกวา่ เครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต (Internet)

องคป์ ระกอบของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถแบง่ องค์ประกอบทีส่ ำคญั ๆ ไดแ้ ก่

1. คอมพิวเตอร์อย่างนอ้ ย 2 เครื่อง
2. เน็ตเวิร์กการ์ด หรือ NIC (Network Interface Card) เป็นการ์ดเสียบเข้ากับช่องสลอตบน

เมนบอรด์ ของคอมพิวเตอร์ ซึง่ เป็นจดุ เชื่อมตอ่ ระหว่างคอมพวิ เตอรแ์ ละเครือข่าย

3. สื่อกลางและอุปกรณ์สำหรับการรับส่งข้อมูล เช่น สายสัญญาณ ปัจจุบันที่นิยมใช้ได้แก่สายคู่บิด

เกลียว (Twisted – Pair Cable ) และสายใยแก้วนำแสง ส่วนอุปกรณ์เครือข่าย ได้แก่ สวิตช์ (Switch)
เกตเวย์ (Gateway) เราเตอร์ (Router)

4. โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ใช้สื่อสารกันผ่านเครือข่าย

คอมพิวเตอร์ที่สามารถสื่อสารกันได้ ซึ่งจำเป็นต้องมีภาษาสื่อกลางที่ทำให้เข้าใจกัน คือ โปรโตคอล
เดยี วกัน เช่น TCP / IP, IPX / SPX

6

พ้ืนฐานการสือ่ สารข้อมูลและเครือขา่ ย

หลกั การทำงานของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 7

การใช้ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์น้นั มหี ลกั การทำงานตา่ งๆ ซ่ึงประกอบดว้ ย

1. การสื่อสาร (Communication) เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกันระหว่างเครื่อง
คอมพิวเตอร์ด้วยกันเอง รวมไปถึงการสื่อสารระหว่างมนุษย์ด้วยกันเอง เช่น การใช้ไปรษณีย์
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-mail) ซง่ึ อาจจะมีการแลกเปลย่ี นข้อมลู จากการแนบไฟลเ์ อกสารไปดว้ ย

2. การใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resource Sharing) ทรัพยากรในที่นี้ คือ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆ ที่
เชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดดิสก์ รวมไปถึงซอฟต์แวรเ์ ฉพาะบาง
ประเภทที่สามารถใช้งานร่วมกันได้อีกด้วย เช่น ซอฟต์แวร์ที่ทำงานบนเครื่องให้บริการกลาง (Server)
ในการใช้ทรัพยากรร่วมกันนั้น นอกจากจะเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายแล้ว ยังเป็นการทำงานร่วมกันเพ่ือ
เพิ่มประสิทธิภาพของงานได้อีกด้วย เช่น ในห้องทำงานที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ 10 เครื่อง ก็สามารถใช้
เครื่องพมิ พร์ ่วมกนั เพยี ง 1 เครอื่ ง แทนทจ่ี ะต้องมีเคร่ืองพิมพ์ถึง 10 เครอื่ ง

3. การใช้ข้อมูลและแฟ้มข้อมูลร่วมกัน (Data and File Sharing) เป็นการทำงานที่มีผู้ให้บริการ
(Server) เป็นศูนย์กลาง ข้อมูลและแฟ้มข้อมูลถูกเก็บไว้ที่ศูนย์กลาง (Server) เมื่อผู้ใช้บริการ (Client)
ตอ้ งการใช้ข้อมูล สามารถตดิ ตอ่ ผู้ใหบ้ ริการเพ่อื รับขอ้ มลู ได้ วิธีการน้จี ะชว่ ยให้ผู้ใช้บริการทุกคนท่ีทำงาน
ร่วมกัน ได้รับข้อมูลชุดเดียวกันเสมอ เพื่อให้การทำงานกับข้อมูลนั้นถูกต้อง เช่น ธนาคารจะมียอดเงิน
ยอดเดียวในบัญชี ไม่ว่าจะกดเงินจากตู้ ATM ที่ใดก็ตาม ยอดเงินที่มีอยู่จะถูกหักตามที่ได้กดเงินไป หรือ
การใช้เรียกเว็บไซต์ต่างๆ ผู้ใช้งานก็จะได้หน้าเว็บที่เหมือนกัน เป็นต้น นอกจากนั้น ผู้ให้บริการยัง
สามารถดูแลปกป้องข้อมูลไม่ให้บุคคลที่ไม่มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลได้ เช่น การใช้รหัสผ่านในการเข้าถึงข้อมูล
เป็นต้น

4. การเขา้ ใช้งานระยะไกล (Remote Login) ผู้ใชง้ านสามารถเข้าใชท้ รัพยากรได้ ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็
ตาม ภายใต้เงื่อนไขที่ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ของเขาจะต้องเชื่อมต่ออยู่กับเครือข่าย ด้วยเหตุผลนี้ผู้ดูแล
ระบบจงึ สามารถเข้าดูแลระบบจากทใี่ ดกไ็ ด้

5. ความเชื่อถือได้ (Reliability) ในการใช้งานเครือข่ายในปัจจุบันนั้น ความน่าเชื่อถือเป็นสิ่งท่ี
สำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อการดำเนินธุรกจิ เช่น ร้านค้าออนไลน์ หรือระบบธนาคาร ตัวอย่างเช่น
เมื่อลูกค้าต้องการใช้งานข้อมูล แต่ข้อมูลที่ลูกค้าต้องการใช้ไม่ได้ ระบบก็ไม่มีความน่าเช่ือถือ สามารถ
แก้ไขได้โดยการสำรองข้อมูลไว้หลายๆ สำเนา เมื่อสำเนาที่หนึ่งใช้ไม่ได้ ก็เปลี่ยนไปใช้สำเนาที่สอง เป็น
ต้น ซึง่ จะทำให้การทำงานของลกู ค้าไม่สะดดุ เป็นการเพ่มิ ความน่าเชอื่ ถือให้กับธุรกิจได้

6. การลดค่าใชจ้ า่ ย (Cost Reduction) การใช้งานเครือข่ายคอมพวิ เตอร์นั้น ผ้ใู ช้งานไมจ่ ำเปน็ ต้อง
เดินทางไปตามสถานที่ต่างๆ เพื่อทำการรวบรวมข้อมูล เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง นอกจากน้ี
ยังสามารถลดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารได้อีกด้วย เพราะการสื่อสารได้อีกด้วย เพราะการสื่อสารผ่าน
เครือข่าย เช่น การใช้อีเมล์ (E-mail) เฟซบุ๊ก (Facebook) หรือไลน์ (Line) นั้น มีความสะดวก รวดเร็ว
และเสียค่าบรกิ ารต่ำ ทำใหค้ า่ ใช้จา่ ยโดยรวมและตน้ ทุนถกู ลงด้ว

พื้นฐานการส่อื สารข้อมูลและเครอื ขา่ ย

ประโยชนข์ องการสอื่ สารขอ้ มลู และเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์

การส่ือสารขอ้ มลู และเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนด์ งั นี้

1. ความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูล ปัจจุบันมีข้อมูลจำนวนมากสามารถถูกส่งผ่านเครือข่ายการ
สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว เช่น การส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายโทรศัพท์ ระบบดีเอสแอล
(Digital Subscriber Line DSL) ถ้าส่งด้วยอัตราเร็ว 2 Mbps หรือประมาณ 256 Kbps จะส่งข้อมูล
จำนวน 200 หนา้ ได้ในเวลาน้อยกวา่ 10วินาที

2. ความถูกต้องของข้อมูล การรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายการสื่อสารเป็นการ
ส่งแบบดิจิตอล ซึ่งระบบการสื่อสารจะมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ส่ง และแก้ไขข้อมูลที่ส่ง
และแก้ไขข้อมลู ทผ่ี ดิ พลาดใหถ้ กู ตอ้ งไดโ้ ดยอัตโนมตั ิ ดังนัน้ การสอ่ื สารข้อมูลจึงมคี วามน่าเชอ่ื ถอื สูง

3. ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู การใช้คอมพวิ เตอรใ์ นการส่งขอ้ มลู หรอื คน้ ควา้ ข้อมูลจากฐานขอ้ มลู
ขนาดใหญส่ ามารถทำไดร้ วดเรว็ เนอ่ื งจากสญั ญาณทางไฟฟา้ เดนิ ทางดว้ ยความเร็วใกลเ้ คยี งความเร็วแสง
เช่น การดูภาพยนตร์ หรือรายการโทรทัศน์ผ่านอินเทอร์เน็ต การตรวจสอบหรือการจองที่นั่งของสาย
การบนิ สามารถทำได้ทันที

4. การประหยัดค่าใช้จ่ายในการสื่อสารข้อมูล การรับและส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายการสื่อสาร
สามารถทำได้ในราคาถูกกว่าการสื่อสารแบบอื่น เช่น การใช้งานโทรศัพท์โดยผ่านอินเทอร์เน็ต หรือท่ี
เรียกว่า วอยซ์โอเวอร์ไอพี (Voice over IP : VoIP) จะมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าการใช้งานโทรศัพท์โดยผ่าน
ระบบโทรศัพท์พื้นฐาน หรือการใช้อีเมลส่งข้อมูล หรือเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์จะมีค่าใช้จ่ายต่ำ
กวา่ และรวดเร็วกว่าการส่งเอกสารแบบวิธีอ่ืน

5. ความสะดวกในการแบ่งปันทรัพยากร ในองค์กรสามารถใช้อุปกรณ์สารสนเทศร่วมกันได้ โดยไม่
ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์ให้กับทุกเครื่อง เช่น เครื่องพิมพ์ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้
โปรแกรมและข้อมูลร่วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลเหล่านั้นไว้ที่แหล่งเก็บข้อมูลนั้นไว้ที่แหลง่
เก็บข้อมูลทีเ่ ปน็ ศนู ย์กลาง เชน่ เคร่อื งบรกิ ารไฟล์ (File Server) เป็นตน้

6. ความสะดวกในการประสานงาน ในองค์กรที่มีหน่วยงานย่อยหลายแห่งที่อยู่ห่างไกลกันสามารถ
ทำงานประสารกันผ่านระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การประชุมทางไกล และการแก้ไขเอกสารร่วมกันผ่าน
ระบบเครอื ขา่ ย

7. การขยายบริการองค์กร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้องค์กรสามารถกระจายการทำงานไปตาม
จุดต่างๆ ที่ต้องการให้บริการ เช่น ธนาคารที่มีสาขาทั่วประเทศ สามารถถอนเงินในตู้เอทีเอ็ม หรือฝาก
เงินไดต้ ามตู้เอทเี อ็ม เปน็ ต้น

8. การสร้างบริการรูปแบบใหม่บนเครือข่าย การให้บริการต่างๆ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทำให้
ผู้ใช้สามารถเข้าใช้บริการได้ทกุ ทีท่ ุกเวลา เช่น การซื้อสินค้าผ่านรา้ นค้าออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการแบบหน่ึง
ของพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-commerce) และการรับชำระสนิ คา้ คา่ สาธารณปู โภคผา่ นจุดรบั ชำระ

8

พื้นฐานการสือ่ สารข้อมูลและเครือขา่ ย

เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรก์ ับชีวิตประจำวนั 9

ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถที่จะใช้ในการ
สื่อสารและติดต่อซึ่งกันและกันตลอดเวลา โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ฉะนั้น เครือข่ายคอมพิวเตอร์
จึงเข้ามามบี ทบาทอย่างมากกับชีวติ ประจำวนั ในหลายด้านดว้ ยกนั ดงั นี้

1. ด้านธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำ
บัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนี้งาน
อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ได้นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของ
อปุ กรณ์ตา่ งๆ เชน่ โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทำให้การผลติ มีคุณภาพดขี ึ้น หรอื งานธนาคารทใ่ี ห้บริการ
ถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอตั โนมัติ (ATM) และใช้คอมพิวเตอรค์ ิดดอกเบีย้ ให้กับผูฝ้ ากเงิน และการโอน
เงินระหวา่ งบญั ชี เชอ่ื งโยงกันเป็นระบบเครือข่าย

2. ด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในส่วนของการ
คำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุล สารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศหรอื
งานทะเบยี น การเงนิ สถติ ิ และเปน็ อปุ กรณส์ ำหรบั การตรวจรกั ษาไดร้ วดเร็วขน้ึ

3. ด้านคมนาคมและการสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวัน
เวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้อง
เสียเวลารอ อีกทั้งยังใช้ในการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และการจราจรทาง
อากาศหรือในการสอื่ สารก็ใชค้ วบคมุ วงโคจรของดาวเทยี มเพ่ือใหอ้ ยู่ในวงโคจร ซึง่ จะช่วยสง่ ผลตอ่ การส่ง
สญั ญาณใหร้ ะบบการสอื่ สารมีความชัดเจน

4. ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ
หรือจำลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดย
คอมพิวเตอร์จะคำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตาม
ความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครื่องมือ ผลการทำงาน งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มี
การใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงาน
นั้นๆ เช่น กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ได้จดั ระบบเครอื ข่าย Internet เพ่อื เช่อื มโยงไปยงั สถาบนั ต่างๆ กรมสรรพากร ใช้ในการ
จดั เก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นตน้

5. ด้านการศึกษา ได้แก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซึ่งมีการนำคอมพิวเตอร์มา
ช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรือด้านงานทะเบียน ซึ่งทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน
การเก็บขอ้ มูลการยืมและการส่งคืนหนงั สอื หอ้ งสมดุ

6. ด้านการตลาดและการขาย ในธุรกิจประเภทขายสินค้าที่มีหลายสาขา ระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์อย่างมากในการช่วยจัดวิเคราะห์การตลาด โดยนำข้อมูลที่เกิดจากการขาย
ประจำสาขาตา่ งๆ มาประมวลผลที่สาขาใหญ่ได้สะดวก รวดเร็ว อกี ทง้ั ยังเป็นการตรวจสอบข้อมลู ของแต่
ละสาขาดว้ ยนอกจากน้ี สาขาต่างๆ ยงั สามารถสง่ั ซือ้ สนิ ค้าผา่ นทางระบบเครือข่ายได้

พื้นฐานการส่ือสารข้อมูลและเครือขา่ ย

7. ดา้ นการสื่อสารทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ นบั ตัง้ แตเ่ ครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ได้เข้ามามีบทบาทใน
ชีวิตประจำวันของมนุษย์ การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ก็เป็นที่ได้รับความนิยม หรืออาจกล่าวได้ว่า
เป็นบริการทีไ่ ด้รับความนิยมสูงสุด

8. ด้านบริการข้อมูลข่าวสาร คือ การนำเสนอข่าวสารต่างๆ ของหน่วยงาน องค์กร และบุคคล
ต่างๆที่ต้องการจะเผยแพร่ข่าวสารไปยังบุคคลอื่น เพื่อหวังผลประโยชน์ทางธุรกิจ และไม่มีผลประโยชน์
ทางธุรกิจ และไม่มีผลประโยชน์มาเกี่ยวข้อง บริการนี้ คือ เวิลด์ ไวด์ เว็บ (Word Wide Web)
นอกจากนี้ ยังเป็นเครือข่ายที่สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง โดยสามารถทำการคัดลอก หรือถ่าย
โอนข้อมูล ทั้งในรูปแบบของการถ่ายโอนข้อมูลมาไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง (Download) และ
นำแฟ้มข้อมูลจากเครี่องคอมพิวเตอร์ของตนเองไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องของผู้อื่น (Upload) ได้
ดว้ ย

9. ด้านระบบทีวี เป็นการแพร่สัญญาณผ่านสายเคเบิล หรือผ่านดาวเทียมในรูปแบบของสมาชิก ที่
สมาชิกสามารถเขา้ รบั ชมตามเครือขา่ ยที่เปน็ สมาชกิ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันมากมาย ดังที่ได้ยกตัวอย่างข้างต้น
ซึ่งจะเห็นได้ว่า เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีส่วนสำคัญกับการดำรงชีวิตในด้านการสนองตอบทางด้านข้อมูล
ขา่ วสาร การสื่อสาร ทำให้ความสำคัญของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์มีความจำเปน็ ทีจ่ ะตอ้ งศกึ ษาและเรียนรู้
เปน็ อย่างย่งิ

การสอื่ สารขอ้ มลู หมายถึง กระบวนการถา่ ยโอนหรอื แลกเปลย่ี นข้อมลู ซ่ึงกนั และกนั โดยอาศัย
รปู แบบของการส่งสญั ญาณขอ้ มลู แบบต่างๆ คอื การสอ่ื สารแบบทางเดยี ว การสอื่ สารแบบสลับหรือ
การสอื่ สารกึง่ สองทาง และการสื่อสารแบบสองทาง ทั้งน้ีการส่ือสารที่จะให้ความสะดวกและรวดเรว็
ตอ้ งอาศัยระบบเครือข่าย ดว้ ยการเชือ่ มตอ่ คอมพวิ เตอรท์ ้งั หลายเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือเพ่มิ ขดี ความสามารถ
ของระบบใหส้ ูงขึ้น จนถงึ เครือข่ายระดบั โลกท่คี รอบคลมุ ไปเกือบทกุ ประเทศ ทีเ่ รียกกนั วา่ เครือขา่ ย
อินเทอร์เนต็

กจิ กรรมพฒั นาการ
เรียน1.รใู้ ห้นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน

2. ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มจัดทำรายงาน เรอื่ งพน้ื ฐานการสื่อสารข้อมูลและเครอื ขา่ ย พร้อม
ยกตัวอยา่ งและนำมาเสนอหนา้ ชั้นเรียนกลุม่ ละ 5 – 10 นาที

10

พ้ืนฐานการสื่อสารข้อมลู และเครอื ขา่ ย

คำถามท้ายหน่วยที่ 1

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ใี หถ้ กู ตอ้ ง

1. จงบอกความหมายของการส่ือสารขอ้ มูล
2. จงอธบิ ายองคป์ ระกอบในการสอ่ื สาร
3. จงอธบิ ายลักษณะของการสอื่ สารแบบทางเดยี ว
4. จงอธบิ ายลักษณะของการสือ่ สารแบบสลบั หรือกงึ่ สองทาง
5. จงอธบิ ายลักษณะของการส่อื สารแบบสองทาง
6. จงอธบิ ายคณุ สมบัตพิ นื้ ฐานของการส่อื สารขอ้ มลู
7. จงบอกความหมายของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
8. จงอธิบายองคป์ ระกอบของระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์
9. จงอธบิ ายหลักการทำงานของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์
10.จงบอกประโยชนข์ องการสอื่ สารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ มา 5 ขอ้

11

พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครอื ขา่ ย คำถามทา้ ยหนว่ ยท่ี 1

ตอนที่ 2 จงทำเครอื่ งหมายกากบาท (X) ลงหน้าขอ้ ท่ีถูกต้องท่ีสุด

1. ข้อใดหมายถึงการส่อื สาร 6. คุณสมบัติพนื้ ฐานของการสอื่ สารขอ้ มลู มีกีข่ อ้
ก. Network ก. 1
ข. Computer ข. 2
ค. Communication ค. 3
ง. Telephone ง. 4
จ. Send จ. 5

2. Receiver หมายถึงขอ้ ใด 7. ระยะเวลา ตรงกับคุณสมบัตพิ ื้นฐานของการ
ก. ผสู้ ง่ ขอ้ มูล สอื่ สารข้อใด
ข. ผู้รับข้อมลู ก. Sender
ค. ขอ้ มลู ข. Receive
ง. สื่อนำข้อมลู ค. Deliver
จ. กฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง ง. Accuracy
จ. Timeliness
3. Sender หมายถงึ ขอ้ ใด
ก. ผู้สง่ ข้อมูล 8. การใช้คอมพิวเตอร์จัดทำระบบเครอื ขา่ ย
ข. ผู้รับข้อมลู จะตอ้ งมีเครือ่ งคอมพิวเตอรอ์ ย่างนอ้ ยก่ีเคร่อื ง
ค. ขอ้ มลู ก. 1
ง. สื่อนำขอ้ มลู ข. 2
จ. กฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง ค. 3
ง. 4
4. การส่งสญั ญาณโทรทศั น์ เปน็ การส่งสญั ญาณ จ. 5
แบบใด
ก. การส่ือสารแบบทางเดียว 9. เครอื่ งพิมพ์ จดั เป็นองคป์ ระกอบส่วนใดของ
ข. การสอ่ื สารแบบสลบั ระบบคอมพิวเตอร์
ค. การสอ่ื สารแบบกงึ่ สองทาง ก. การสอ่ื สาร
ง. การสื่อสารแบบสองทาง ข. การใชท้ รัพยากรรว่ มกนั
จ. การสอื่ สารแบบสลบั ทางเดียว ค. การใชข้ อ้ มลู และแฟ้มขอ้ มูลร่วมกัน
ง. การเขา้ ใชง้ านระยะไกล
5. การสื่อสารแบบ Full – Duplex หมายถึงขอ้ จ. ความเชอ่ื ถือได้
ใด
ก. การสื่อสารแบบทางเดียว 10. การนำ CAI เขา้ มาใช้ในระบบคอมพิวเตอร์จดั
ข. การสอ่ื สารแบบสลบั อยใู่ นด้านใดของชวี ิตประจำวนั
ค. การส่อื สารแบบก่งึ สองทาง ก. ด้านธุรกิจ
ง. การสื่อสารแบบสองทาง ข. ด้านวิทยาศาสตร์
จ. การสื่อสารแบบสลบั ค. ด้านคมนาคมและสื่อสาร
ง. ด้านวศิ วกรรมและสถาปตั ยกรรม
จ. ดา้ นการศกึ ษา

12

พ้นื ฐานการสอื่ สารข้อมูลและเครอื ขา่ ย

ตอนที่ 3 จงบอกความหมายของคำศพั ท์ตอ่ ไปนี้

ข้อท่ี คำศพั ท์ คำแปล ข้อท่ี คำศพั ท์ คำแปล

1. Data 7. Deliver

2. Communication 8. Accuracy

3. Network 9. Timeliness

4. Sender 10. Resource Sharing

5. Receiver 11. Data Sharing

6. Medium 12. Reliability

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

สาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 2

(1) เครือข่ายทอ้ งถ่ิน
(2) เครือขา่ ยระดบั เมอื ง
(3) เครือขา่ ยระดบั ประเทศ
(4) เครือขา่ ยไร้สาย
(5) มาตรฐานเครอื ข่ายไรส้ าย
(6) รูปแบบการเชอื่ มตอ่ ของระบบเครือขา่ ยไรส้ าย
(7) ประโยชนข์ องระบบเครือข่ายไร้สาย

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป
(1) บอกลกั ษณะของเครือข่ายแบบตา่ งๆ ได้
(2) อธบิ ายประโยชน์เครอื ขา่ ยแต่ละแบบได้
(3) อธบิ ายมาตรฐานและรปู แบบเครือขา่ ยไรส้ ายได้
(4) อธบิ ายประโยชน์ของระบบเครือขา่ ยไรส้ ายได้
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
(1) พทุ ธพิสยั เขา้ ใจลกั ษณะและประโยชน์ของระบบเครือข่ายแบบตา่ งๆ
(2) แสดงความร้เู กีย่ วกบั ลกั ษณะของระบบเครือข่ายแต่ละแบบ
(3) จติ พิสยั มีการทำงานด้วยความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยเลอื กใชภ้ าษาที่
เหมาะสมกับงาน

สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้

(1) แสดงความรเู้ กยี่ วกบั ลกั ษณะและประโยชน์ของระบบเครอื ข่ายแบบตา่ งๆ
(2) ปฏิบัตวิ ธิ ีการเชอื่ มตอ่ ของระบบแตล่ ะเครือขา่ ย
(3) มกี จิ นสิ ยั ท่ดี ีในการอยูร่ ่วมกันเป็นหมคู่ ณะตามหลักประชาธิปไตย

ประปเรภะทเภขทองขเอคงรเอืคขรา่อื ยขค่าอยมคพอมวิ พเติวอเรต์ อร์

หน่วยที่ 2 เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

แผนผงั ความคิด
(Mind Mapping)

ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ สาระสำคญั

ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จะแบ่งออกเป็นระดับ
เครือข่ายท้องถน่ิ ท้องถ่ิน ระดับเมือง ระดับประเทศและไร้สาย แต่
เครอื ขา่ ยระดับเมือง ละประเภทจะมีความแตกต่างกันในเร่ืองของ
ระยะทางในการรับ - ส่งข้อมูล เช่น เครือข่าย
เครอื ข่ายระดับประเทศ ระดับท้องถ่ินจะรับ – ส่งข้อมูลได้ประมาณ 100
เมตร หรือระดับเมืองจะรับ - ส่งข้อมูลได้ไม่เกิน
เครือข่ายไร้สาย 6 0 กิ โล เม ต ร ข้ อ แ ต ก ต่ า งข อ งเค รื อ ข่ า ย
ค อ ม พิ ว เต อ ร์ น อ ก จ า ก จ ะ แ ต ก ต่ า ง กั น ใ น เรื่ อ ง
มาตรฐานเครอื ข่ายไรส้ าย ระยะทางแล้ว ยังมีลักษณะของอุปกรณ์และระบบ
การเช่ือมของเครือข่ายท่แี ตกต่างกัน สิ่งที่ได้เรียนรู้
ช จากหน่วยหารเรียนรู้นี้ก็คือ รูปแบบการเชื่อมต่อ
ของระบบเครอื ข่ายไรส้ ายสาบแบบตา่ งๆ อกี ด้วย
รปู แบบการเชื่อมตอ่ ของระบบ
เครือข่ายไรส้ าย

ประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายไรส้ าย

1168

ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

ประเภทของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์มีหลายประเภทสามารถใช้หลักเกณฑ์ในการแบ่งได้หลายวิธี แต่ถ้าหาก
แบง่ ประเภทของเครือขา่ ยตามขนาดและระยะทางทเี่ ชื่อมต่อระหวา่ งอปุ กรณ์การสอื่ สาร เครอื ขา่ ย
คอมพวิ เตอรส์ ามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 4 ชนดิ ดงั น้ี

1.เครอื ขา่ ยทอ้ งถิ่น หรือเครือข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
2.เครอื ขา่ ยระดบั เมอื ง หรือเครือข่ายแมน (Metropolitan Area Network : MAN)
3.เครอื ข่ายระดับประเทศ หรอื เครอื ขา่ ยแวน (Wide Area Network : WAN)
4.เครอื ข่ายไรส้ าย (Wireless Local Area Network : WLAN)
1. เครือข่ายท้องถน่ิ (LAN)
เครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Network : LAN) เป็นระบบเครือข่ายขนาดเล็กที่ใช้ในการ
เช่ือมโยงคอมพิวเตอร์ในบริเวณใกล้เคียงเข้าด้วยกัน ซ่ึงระยะทางไกลสุดที่สามารถรับ – ส่งข้อมูล
ได้แบบไม่ติดขัดประมาณ 100 เมตร มีการเชื่อมต่อแบบ Client – Server ระหว่างเคร่ืองลูกข่าย
(Client) กับเครื่องบริการกลาง (Server) ที่ให้บริการกับผู้ใช้จำนวนไม่มาก ความสามารถในการ
ทำงานของระบบเครือข่ายถูกกำหนดไว้ที่เครื่อง Server เพียงเครื่องเดียวท่ีควบคุมด้วยซอฟต์แวร์
ระบบเครือข่าย (Network Operating System : NOS) เช่น Novell, Microsoft Windows
Server และ IBM’s OS/2 Warp Server ซ่ึงทำหน้าท่ีกำหนดเส้นทางเดินข้อมูลในเครือข่าย และ
การจัดการการสื่อสารตลอดจนควบคุม ประสานการใช้งานทรัพยากรท้ังหมด ตัวอย่างการใช้
เครือข่าย เช่น เครือข่ายในสำนักงานขนาดเล็ก ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ด้วยกัน และ
อุปกรณต์ อ่ พ่วง เช่น เคร่ืองพิมพ์ สแกนเนอร์ ทำให้สามารถแบง่ ปนั การใช้ทรัพยากรได้

ภาพที่ 2.1 : เครือขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN)

ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

2. เครอื ขา่ ยระดับเมอื ง (MAN)
เป็นเครือข่ายท่ีสื่อสารได้ระยะไกลกว่าเครือข่ายท้องถ่ิน (LAN) และระยะไกลน้อยกว่า
เครือข่ายระดับประเทศ (WAN) สามารถรับ - ส่งข้อมูลได้ไม่เกิน 60 กิโลเมตร ซ่ึงเป็นเครือข่ายใน
เขตเมอื งครอบคลมุ พื้นทใี่ นอำเภอหรอื ใน
จงั หวดั เดียวกนั โดยอาจเปน็ การเชือ่ มโยงคอมพิวเตอร์ขององคก์ รเข้าดว้ ยกนั เชน่ การตอ่
คอมพวิ เตอรข์ องสาขาต่างๆ ในเขตเมอื ง เพื่อสอื่ สารแบง่ ปนั ขอ้ มลู ระหว่างกนั ในองคก์ รดังภาพที่
2.2

ภาพท่ี 2.2 : เครือข่ายระดบั เมอื ง (MAN)

3. เครอื ข่ายระดับประเทศ (WAN)
เป็นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมโยงระบบคอมพิวเตอร์ระหว่างองคก์ ร ระหว่างเมือง หรือ

ระหว่างประเทศ ซ่งึ เครือข่ายระดบั ประเทศ (WAN) จะเช่ือมต่อระยะทางไกลมาก จึงมีความเร็วใน
การสท่อสารไม่สูงมากนัก เครือข่ายระดับประเทศ (WAN) จะทำให้ทุกบริษัท ทุกองค์กร ทุก
หน่วยงานเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูล
ระหว่างกัน และทำงานร่วมกนั ในระบบที่ตอ้ งติดตอ่ ส่ือสารระหวา่ งกนั เชน่ ธนาคารที่มสี าขาท่ัวไป
เทศ มีบริการรับฝากถอนเงินผ่านตู้เอทีเอ็ม เป็นต้น เทคโนโลยีท่ีใช้กับเครือข่ายระดับประเทศ
(WAN) น้ันมีความหลากหลาย มีการเช่ือมโยงระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียม เส้นใย
แก้วนำแสง คล่นื ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ และสายเคเบลิ ท้งั ท่ีวางไปตามถนนหรือวางใตน้ ้ำ

18
18

ประเภทของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

ภาพที่ 2.3 : เครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ (WAN)

4. ระบบเครอื ข่ายไรส้ าย (Wireless LAN)

เครือข่ายไร้สาย (WLAN) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายไร้สาย ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดและวิธีการจัดการทางด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรต่างๆ ท้ังในองค์กรเดิมที่มี
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่แล้วและองค์กรที่เกิดขึ้นใหม่ที่กำลังวางแผนติดตั้งระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ ซึ่ง Wireless LAN (WLAN) ไม่ใช่เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีมาทดแทน
เครือข่ายแบบใช้สัญญาณ (Wired Network) แต่เป็นเทคโนโลยีที่สามารถขยายเครือข่ายแบบใช้
สัญญาณได้ นอกจากนั้น ยังถูกนำไปใช้ในบริเวณที่การติดตั้งสายสัญญาณมีอุปสรรคทางด้าน
ภูมิศาสตร์ หรือในบริเวณท่ีตอ้ งการความรวดเร็วในการตดิ ต้ังเครือข่ายใหม่สำหรับการทำงานแบบ
ชั่วคราว ซ่ึง WLAN มีความสะดวกรวดเร็วในการติดต้ังและรวดเร็วในการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์
เครอื ข่าย ในปจั จุบันเครือขา่ ย WLAN ได้มีการพัฒนามาตรฐานมาหลายมาตรฐานและมาตรฐานท่ี
ได้รับความนิยมใช้มากท่สี ดุ คอื มาตรฐาน IEEE 802.11

ภาพท่ี 2.4 : ระบบเครือขา่ ยไรส้ าย (WLAN)

19

ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

มาตรฐานเครอื ข่ายไร้สาย
สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติ (IEEE) ได้กำหนดคุณสมบัติ
สำหรับ WLAN ว่า มาตรฐาน IEEE 802.11 ซงึ่ ครอบคลุมทงั้ Physical Layer (PHY) และ Media
Access Control (MAC) มาตรฐาน IEEE 802.11 มีการใช้งานคร้ังแรกต้ังแต่ปี 1987 โดยเป็น
ส่วนหน่ึงของมาตรฐาน IEEE 802.11 (Token Bus) และทำงานอยู่ภายใต้กลุ่มที่เรียกว่า IEEE
802.4L ซ่ึงการนำ WLAN มาใช้งานคร้ังแรกนั้นเป็นการใช้ภายในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต
รถยนต์สำหรับการควบคุมและการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องมือในปี 1990 กลุ่ม IEEE 802.4L
WLAN ได้เปล่ียนช่ือเป็น IEEE 802.11 และเป็นมาตรฐานอิสระของ IEEE 802 ที่กำหนดระดับ
PHY และ MAC สำหรับ WLAN โดยมาตรฐานแรกของ IEEE 802.11 ใช้อัตราส่ง 1Mbps และ
2Mbps ได้เสร็จสมบูรณ์ตั้งแต่ปี 1997 โดนมีระดับของ PHY เป็นแบบ DSSS, FHSS และ
Diffused Infrared (DFIR) เมื่อมาตรฐานแรกเสร็จสมบูรณ์แล้วหลังจากน้ันได้มีการกำหนดให้มี
PHY ใหม่ท่ีรองรับอัตราส่ง 11 Mbps โดยใช้การเข้ารหัสแบบ CCK เรียกว่า IEEE 802.11b และ
อัตราสง่ 54 Mbps โดยใช้ PHY แบบ OPDM เรียกว่า IEEE 802.11a และท้งั สามร่นุ

มีการทำงานในระบบเ MAC ที่เหมือนกัน คือ การใช้กลไกของ Carrier Sense Multiple /
Collision Avoidance (CSNA / CA) ในการใชช้ ่องสญั ญาณสำหรบั การตดิ ตอ่ สือ่ สาร

มาตรฐานของ IEEE 802.11 ต้ังแต่เร่ิมต้นจนถึงปัจจุบัน ท่ีมีการกำหนดสัญญาณความถ่ีและ
อัตราการสง่ มีดังน้ี

1. IEEE 802.11 เป็นมาตรฐานเริ่มต้นของ WLAN ที่ประกาศใชเ้ ม่ือปี 1997 มีอัตราการสง่ 1
Mbps และ 2 Mbps โดยใช้สัญญาณวิทยุความถี่ 2.4 GHz และ 2.5 GHz ซ่ึงเป็นเทคโนโลยีแบบ
DSSS และ FHSS นอกจากน้ัน ยังมีการใช้คลื่นอินฟาเรดแบบ DFIR ในระดับช้ันของ PHY ด้วย
ส่วนของระดับ MAC ใช้กลไกของ CSMA / CA ซ่ึงในมาตรฐานเร่ิมต้นนี้ยังเป็นปัญหาในระบบ
ความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูล และไม่มีระบบ Quality of Service (QoS) สำหรับการประกัน
คณุ ภาพในการให้บริการ

2. IEEE 802.11a เป็นมาตรฐานท่ีประกาศใช้ในปี 1999 หลังจาก IEEE 802.11b โดยใช้
เทคโนโลยี OFDM และสามารถมอี ตั ราส่งสงู ถึง 54 Mbps โดยใชค้ ล่นื สญั ญาณวทิ ยุความถี่ 5 GHz
ซึ่งเป็นคล่ืนความถ่ีวิทยุของ Unlicensed National Information Infrastructure (U – NII) ที่มี
สัญญาณรบกวนจากอุปกรณ์อื่นน้อยกว่าในย่านความถ่ี 2.4 GHz โดยคลื่นความถ่ีนี้ไม่ได้รับ
อนุญาตใหใ้ ชใ้ นบางประเทศ เช่น ประเทศไทย เพราะได้ถกู จัดสรรสำหรับกจิ กรรมอ่นื ไปก่อนแลว้

20

ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

3. IEEE 802.11b เป็นมาตรฐานที่ประกาศใช้ในปี 1999 หลังจาก IEEE 802.11 แล้ว
มาตรฐาน IEEE 802.11b ใช้วิธีการเข้ารหัสสัญญาณขอ้ มูลแบบ CCK ร่วมกับเทคโนโลยี DSSS มี
อัตราการส่งสูงถึง 11 Mbps โดยใช้สัญญาณวิทยุความถ่ี 2.4 GHz มาตรฐาน IEEE 802.11b นี้
เป็นที่รู้จักกันทั่วไปและเป็นที่ยอมรับกันท่ัวโลก มีการผลิตอุปกรณ์สำหรับมาตรฐานน้ีออกมา
ยอมรับการใช้งานป็นจำนวนมาก โดยมีการเรียกชื่อใหม่ทางการค้าว่า Wi – Fi (Wireless
Fidelity) และกำหนดรายละเอียดโดยสมาคม Wireless Ethernet Compatibility Alliance
(WECA) ที่ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งเป็นบริษัทที่ผลิตอุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
การสอ่ื สารจำนวนมาก

4. IEEE 802.11g มาตรฐานที่ประกาศใช้ในปี 2003 ใช้เทคโนโลยี OFDM และสัญญาณวิทยุ
ความถ่ี 2.4 GHz มีอัตราส่งสูงถงึ 54 Mbps สามารถทำงานเขา้ กันได้กับอุปกรณ์เครือข่าย WLAN
มาตรฐาน IEEE 802.11b ที่องค์กรต่างๆ ได้ติดตั้งไปก่อนหน้าน้ีแล้ว โดยปัจจุบันเป็นมาตรฐานท่ี
กำลังใช้กันอย่างแพร่หลาย และมีอุปกรณ์ในบางผลิตภัณฑ์ได้พัฒนาอัตราการส่งของ มาตรฐาน
IEEE 802.11g ได้สูงถึง 108 Mbps ซึ่งยังมีปัญหาในการทำงานร่วมกับอุปกรณ์อื่น แต่สามารถ
ทำงานร่วมกนั ไดก้ ับผลิตภัณฑ์ของตนเองหรอื ใชเ้ ทคโนโลยีชิปเซ็ตแบบเดียวกนั

5. IEEE 802.11n เป็นมาตรฐานท่ียังไม่ประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ซึ่งคาดว่าจะทำให้
เทคโนโลยี WLAN มีอัตราการส่งเกิน 100 Mbps และอาจสูงถึง 600 Mbps โดยอุปกรณ์ของ
เครือข่ายมาตรฐาน IEEE 802.11n สามารถติดต้ังส่ือสารกันได้มากกว่าหนึ่งช่องทางการส่ือสาร
โดยใช้สัญญาณวิทยุความถี่ทั้ง 2.4 GHz และ 5.8 GHz นอกจากนั้น มาตรฐานใหม่น้ียังได้รวม
เอาควาวมสามารถของเทคโนโลยี Multiple Input Output (MIMO) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่ใช้
เทคนิค OFDM และเพ่ิมอัตราการส่งให้กับอุปกรณ์ไร้สาย โดยในขณะนี้ IEEE 802.11n ยังเป็น
มาตรฐานสำหรับอนาคต แต่มีบางผลิตภัณฑ์ท่ีประกาศออกมาว่าตนเองมีเทคโนโลยีชิปเซ็ตที่
สามารถรองรับการใช้เทคโนโลยีตาม Draft Stand นี้ เนื่องจาก WLAN มาตรฐาน IEEE 802.11
เป็นเทคโนโลยีเครอื ขา่ ยไร้สายที่ได้รับ

ความนิยมอย่างแพร่หลายในการนำมาติดตั้งและใช้งานกับองค์กรต่างๆ ซึ่งในช่วงเร่ิมต้นมีปัญหา
ในเร่ืองของระบบรักษาความปลอดภัยและไม่มีการรับประกันคุณภาพของการรับส่งข้อมูลหรือ
QoS (Quality of Service) ดังน้ัน ทาง IEEE ได้ต้ังกลุ่มทำงานเพ่ือการศึกษาและพัฒนาให้การใช้
งานเครือข่ายมีประสทิ ธิภาพดีขึ้น ทำให้ปจั จุบันนอกจากมีมาตรฐานทางด้านอตั ราความเร็วในการ
รับส่งข้อมูลได้อธิบายทั้ง 5 มาตรฐานแล้ว ยังมีมาตรฐานอ่ืนๆ ท่ีเป็นเร่ืองการเพ่ิมประสิทธิภาพ
และการจัดการในด้านเทคนิคต่างๆ ของระบบเครือข่าย WLAN อีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งในบาง

21

ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

มาตรฐานได้ประกาศใช้แล้วและมีบางมาตรฐานกำลังอยู่ในช่วงการดำเนินการ โดยมีรายละเอียด
ดังนี้

1. IEEE 802.11c เป็นมาตรฐานที่เพิ่มความเร็วในระดับ PHY ให้สูงขึ้น สำหรับสัญญาณ
ความถี่ 2.4 GHz

2. IEEE 802.11d เปน็ มาตรฐานท่ีทำให้ IIIE 802.11a และ IEEE 802.11b ดขี ้นึ สำหรับการ
ทำโรมมงิ่ ในพืน้ ท่บี ริเวณกวา้ ง โดยมีรายละเอียดทสี่ ามารถตงั้ ค่าต่างๆ ในระดับ MAC ได้

3. IEEE 802.11e เป็นมาตรฐานที่ปรับปรุง MAC Layer ของ IEEE 802.11 ให้สามารถ
รองรับการให้บริการสำหรับแอพพลิเคช่ันทางด้านมัลติมีเดีย โดยมีการรับประกันคุณภาพในการ
ให้บริการเรียกว่า QoS และสามารถนำไปใชก้ ับอุปกรณใ์ นมาตรฐาน IEEE 802.11 ทุกรุ่น

4. IEEE 802.11f เป็นมาตรฐานที่กำหนดโปรโตคอลสำหรับการบริการของ AP ที่เรียกว่า
Inter Access Point Protocol (IAPP) ซึ่งเป็นโปรโตคอลที่ออกแบบมาสำหรับการจัดการกับ
ผู้ใช้บริการท่ีเคล่ือนที่ข้ามเขตการให้บริการของ AP ตัวหนึ่งไปยังตัวหน่ึง AP อีกตัวหน่ึง เพ่ือให้
เกิดการโรมมิ่งสัญญาณระหวา่ งเครือขา่ ย

5. IEEE 802.11h เป็นมาตรฐานที่ปรับปรุง MAC Layer ของ IEEE 802.11 และ PHY
Layer ของมาตรฐาน IEEE 802.11a ท่ีทำงานในย่านความถ่ี 5 GHz ให้ดีข้ึนโดยเป็นความ
พยายาม

6. ของ IEEE ที่จะเชื่อมต่อกับเทคโนโลยีมาตรฐาน HiperLAN / 2 ของ ETSI ซ่ึงเป็น
เทคโนโลยี WLAN ที่มีการใช้ในยุโรป และมาตรฐานนี้มีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนาอุปกรณ์ให้ได้
มาตรฐาน IEEE 802.11h และสามารถทำงานได้ถูกต้องตามความต้องการของประเทศในแถบ
ยโุ รป

7. IEEE 802.11i เป็นมาตรฐานที่ปรับปรุง MAC Layer ของ IEEE 802.11 ให้ดีขึ้นในด้าน
การรักษาความปลอดภัยของการใช้เครือข่ายไร้สาย โดยมาตรฐานนี้ได้นำเอาเทคนิคขน้ั สูงมาใช้ใน
การเข้ารหัส (Encryption) ด้วยคีย์ท่ีมีการเปลี่ยนค่าอยู่เสมอ โดยเรียกว่า Advanced
Encryption Standard (AES) ซึ่งก่อนหน้านี้จะมีการเข้ารหัสข้อมูลด้วยคีย์ที่ไม่มีการเปลีย่ นแปลง
นอกจากนั้น ยังมีการพัฒนาเทตนิคในการรองรับสิทธิ์ (Authentication) ของการใช้เครือข่ายไร้
สาย

8. IEEE 802.11j เป็นมาตรฐานและข้อกำหนดของประเทศญ่ีปุ่นสำหรับการเพ่ิมคุณสมบัติ
ของมาตรฐาน IEEE 802.11a ในชว่ งความถ่ี 4.9 – 5.0 GHz

22

ประเภทของเครือข่ายคอมพวิ เตอร์

9. IEEE 802.11k เป็นมาตรฐานที่ดำเนินการเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบเครือข่าย WLAN
เช่น การตัดสินใจในการโรมมิ่ง การจัดการช่องสัญญาณการจัดการ Hidden Node และการ
ปรับแต่งค่าตา่ งๆ ให้เหมาะสมกบั การทำงานของเครอื ข่าย

10. IEEE 802.11m เป็นมาตรฐานและข้อกำหนดในการดูแลระบบเครือข่ายตามมาตรฐาน
IEEE 802.11 ทง้ั หมด ซงึ่ กำลังมกี ารปรบั และแกไ้ ขเพอ่ื ให้มีเอกสารสำหรับอา้ งอิง

11. IEEE 802.11o เป็นมาตรฐานท่ีดำเนินการในเรื่องของ Voice over WLAN หรือการใช้
สัญญาณเสียงบนเครือข่ายตามมาตรฐาน IEEE 802.11 ซึ่งเป็นการทำ Handoff ที่รวดเร็วขึ้น
ระหว่างที่มีการใช้สัญญาณเสียง และมีการจัดระดับความสำคัญของการจราจรทางเสียงบนข้อมูล
ทว่ั ไป

12. IEEE 802.11p เป็นมาตรฐานที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารในช่วงส่ันๆ ของ WLAN ที่
สภาพแวดล้อมของการใชง้ านในยานพาหนะ

13. IEEE 802.11q เปน็ มาตรฐานที่ดำเนินการในเร่ืองของการใช้เครอื ขา่ ย WLAN ในรูปแบบ
ของ VLAN

14. IEEE 802.11r เป็นมาตรฐานที่ดำเนินการในเรื่องของการทำโรมม่ิงในระบบเครือข่าย
WLAN โดยเป็นส่วนของการทำโรมมิง่ ทีร่ วดเรว็ ระหวา่ ง AP หรอื ท่ีเรียกวา่ Fast Handoff

15. IEEE 802.11s เป็นมาตรฐานท่ีดำเนินการสำหรับการเช่ือมตอ่ เครือข่าย WLAN แบบเมซ
(Mesh Network) และใหโ้ หลดในเครอื ขา่ ยแบบเมซสามารถตัง้ คา่ ต่างๆในเครอื ขา่ ยได้

16. IEEE 802.11t เป็นมาตรฐานของการทำงานในลักษณะคาดการณ์ล่วงหน้าของเครือข่าย
ไรส้ าย หรอื Wireless Performance prediction (WPP)

17. IEEE 802.11u เป็นมาตรฐานท่ีเพิ่มเติมรายละเอียดต่างๆ เพ่ือให้การทำงานดีขึ้นสำหรับ
การเช่ีอมต่อเครือข่าย WLAN มาตรฐาน IEEE 802.11 กับเครือข่ายภายนอกอื่นๆ ที่ไม่ใช่
มาตรฐาน IEEE 802

18. IEEE 802.11v ดำเนินการสำหรับการจัดการเครือข่ายไร้สายหรือ Wireless Network
Management ตามมาตรฐาน IEEE 802.11

19. IEEE 802.11w เปน็ มาตรฐานท่ีจดั การและปอ้ งกนั เฟรมของ IEEE 802.11
20. IEEE 802.11x เป็นหมายเลขท่ีถูกสงวนไว้ไม่ให้มีการใช้งาน เพรราะว่าจะทำให้สับสน
กับมาตรฐาน IEEE 802.11x ซ่ึงเป็นมาตรฐานที่กำหนดและควบคุมความปลอดภัยให้กับเครือข่าย
ในระดับพอร์ต
21. IEEE 802.11y เป็นมาตรฐานท่กี ำหนดใช้งานใน

23

ประเภทของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์

22. สหรูปรัฐแอบเมบรกิกาารเชื่อมตอ่ ของระบบเครอื ขา่ ยไร้สาย
1. Peer – to – Peer (ad hoc mode)

รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายไร้สายแบบ Peer to Peer เป็นการเช่ือมต่อแบบโครงข่าย
โดยตรงระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องนั้นจะมีความเท่าเทียมกัน
สามารถทำงานของตนเองได้ และขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ จึงเหมาะสำหรับนำมาใช้งานเพ่ือ
จุดประสงค์ด้านความรวดเร็ว หรือติดต้ังได้โดยง่ายเม่ือไม่มีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีจะรองรับ ตัวอย่าง
เช่น ในศนู ย์ประชุมหรอื การประชุมท่จี ัดนอกสถานท่ี

ภาพท่ี 2.5 : การเชื่อมตอ่ เครือข่ายไร้สายแบบ Peer to Peer

2. Client / Server (Infrastructure Mode)
ระบบเครือข่ายไร้สายแบบ Client / Server (Infrastructure Mode) มีลกั ษณะการรบั สง่

ข้อมูลโดยอาศัย Access Point (AP) หรือเรียกว่า “Hot Spot” ทำหน้าท่ีเป็นสะพานเช่ือมต่อ
ระหว่างระบบเครือข่ายแบบใช้สายกับคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Client) โดยจะกระจายสัญญาณ
คล่ืนวิทยุเพื่อ รับ – ส่งข้อมูลเป็นรัศมีโดยรอบ ซึ่ง AP 1 จุด สามารถให้บริการเคร่ืองลูกข่ายได้ถึง
15 – 50 อุปกรณ์ เหมาะสำหรับการนำไปขยายเครือข่าย หรือใช้ร่วมกับระบบเครือข่ายแบบใช้
สายเดมิ ในสำนักงาน ห้องสมดุ หรอื ในห้องประชุมเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการทำงานให้มากข้ึน

24

ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

ภาพที่ 2.6 : ระบบเครอื ข่ายไรส้ ายแบบ Client / Server

3. Multiple Access Points and Roaming
โดยท่ัวไปแล้ว การเชื่อมต่อสัญญาณระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับ Access Point ของ

เครือข่ายไร้สายจะอยู่ในรัศมีประมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ 1,000 ฟุต ภายนอกอาคาร
หากสถานท่ีที่ติดต้ังมีขนาดกว้างมากๆ เช่น คลังสินค้า บริเวณภายในมหาวิทยาลัย สนามบิน
จะต้องมีการเพ่ิมจุดการติดตั้ง AP ให้มากขึ้น เพ่ือให้การรับส่งสัญญาณในบริเวณของเครือข่าย
ขนาดใหญ่เปน็ ไปอยา่ งครอบคลมุ ทว่ั ถึง

ภาพท่ี 2.7 : ระบบเครือขา่ ยไร้สายแบบ Multiple Access Points and Roaming

4. Use of an Extension Point
กรณที ี่โครงสร้างของสถานทตี่ ดิ ตั้งเครือขา่ ยแบบไร้สายมีปัญหา ผ้อู อกแบบระบบอาจจะใช้

Extension Points ท่ีมีคุณสมบัติเหมือนกับ Access Point แต่ไม่ต้องผูกติดไว้กับเครือข่ายไร้สาย
เปน็ สว่ นทีใ่ ชเ้ พมิ่ เตมิ ในการรบั สง่ สัญญาณ

25

ประเภทของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์

ภาพที่ 2.8 : ระบบเครอื ขา่ ยไรส้ ายแบบ Use of an Extension Point

5. The Use of Directional Antennas
ระบบแลนไร้สายแบบน้ีเป็นแบบใช้เสาอากาศในการรับส่งสัญญาณระหวา่ งอาคารท่ีอย่หู า่ ง

กนั โดยการตดิ ตงั้ เสาอากาศแต่ละอาคาร เพอ่ื สง่ และรบั สญั ญาณระหวา่ งกนั

ภาพท่ี 2.9 : ระบบเครอื ขา่ ยไร้สายแบบ The Use of Directional Antennas

ประโยชนข์ องระบบเครอื ข่าย
ระบบเครือข่ายไร้สาย เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ท่ีประกอบไปด้วย

อุปกรณ์ไม่มากนักและมักจำกัดอยู่ในอาคารหลังเดียวหรืออาคารในบริเวณเดียวกัน การใช้งานท่ี
น่าสนใจที่สดุ ของเครือข่ายไรส้ าย คอื ความสะดวกสบายไม่ต้องติดอยู่กับที่ ผ้ใู ช้สามารถเคลอ่ื นไป
มาได้โดยท่ยี งั สอื่ สารอยู่ในระบบเครอื ข่าย ซง่ึ ระบบเครือขา่ ยไรส้ ายจะมปี ระโยชนต์ ่างๆ ดงั นี้

1. มีความคล่องตัวสูง (Mobility Improves Productivity & Service) ดังนั้น ไม่ว่าจะ
เคล่ือนท่ีไปท่ีใดหรือเคล่ือนย้ายคอมพิวเตอร์ไปตำแหน่งใด ก็ยังมีการเชื่อมต่อกับเครือข่าย
ตลอดเวลา ตราบใดท่ยี งั อยใู่ นระยะการส่งข้อมูล

26

ประเภทของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์

2. สามารถติดตั้งได้ง่ายและรวดเร็ว (Installation Speed and Simplicity) เพราะไม่
ตอ้ งเสยี เวลาติดตงั้ สายเคเบิล และไม่รกรงุ รัง

3. สามารถขยายระบบเครือข่ายได้ง่าย (Installation Flexibility) เพียงแค่มีพีซีการ์ดมา
ต่อเข้ากับเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์โนต๊ บุ๊ค หรอื เคร่ืองคอมพิวเตอร์พซี ี สามารถเข้าสู่เครือข่ายได้ทันที

4. ลดค่าใช้จ่ายโดยรวม (Reduced Cost – of – Ownership) ท่ีผ้ลู งทุนต้องลงทุน ซึง่ มี
ราคาสูง เพราะในระยะยาวแล้ว ระบบเครือข่ายไร้สายไม่จำเป็นต้องเสียค่าบำรุงรักษาและการ
ขยายเครอื ข่ายกล็ งทนุ นอ้ ยกว่าเดิมหลายเทา่ เนือ่ งด้วยความงา่ ยในการติดตง้ั

5. เครือข่ายไร้สายทำให้องค์กรสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไม่ยุ่งยาก
(Scalability) เพราะสามารถโยกย้ายตำแหน่งการใช้งาน โดยเฉพาะระบบท่ีมีการเชื่อมระหว่าง
จดุ ต่อจุด เช่น ระหวา่ งตึก

สรุปทา้ ยหน่วย

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้ 4 ประเภท คือ เครือข่ายท้องถ่ิน เครือข่ายระดับเมือง เครือข่าย
ระดับประเทศ และเครือข่ายไร้สาย ซึ่งแต่ละประเภทจะมีช่ือเรียก คือ เครือข่าย LAN เครือข่าย MAN
เครือข่าย WAN และเครือขา่ ย WLAN ท้ัง 4 ประเภทนี้ จะเชอื่ มโยงโดยระยะทางไม่เทา่ กัน แตม่ ปี ระโยชน์ใน
การสื่อสารข้อมูล โดยเฉพาะระบบเครือข่ายไร้สาย จะมีความคล่องตัวสูงติดต้ังได้ง่าย รวดเร็ว และสามารถ
ขยายระบบเครอื ขา่ ยไดง้ ่าย

กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้

1. ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 5 คน
2. ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ จดั ทำรายงานเกยี่ วกบั ลักษณะของการทำงานของระบบเครือข่ายแต่ละ

ระบบ พร้อมยกตวั อย่างหน่วยงานทีใ่ ชง้ านเครือข่ายในแบบต่างๆ แล้วนำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น
กล่มุ ละ 5 – 10 นาที

27

ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

คำถามทา้ ยหนว่ ยที่ 2

ตอนที่ 1 จงตอบคำถามตอ่ ไปนใี้ หถ้ กู ตอ้ ง

1. จงอธบิ ายลักษณะของเครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN)
2. จงอธบิ ายลกั ษณะของเครอื ข่ายระดบั เมอื ง (MAN)
3. จงอธบิ ายลกั ษณะของเครือขา่ ยระดบั ประเทศ (WAN)
4. จงอธิบายลกั ษณะของเครือขา่ ยไร้สาย (Wireless LAN)
5. จงยกตัวอยา่ งมาตรฐานเครือข่ายไรส้ ายมา 5 แบบ
6. จงอธิบายรปู แบบการเชื่อมตอ่ ของระบบเครือขา่ ยแบบ Peer – to – Peer
7. จงอธิบายรปู แบบการเช่อื มต่อของระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
8. จงอธิบายรปู แบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่ายแบบ Multiple Access Points

and Roaming
9. จงอธบิ ายรปู แบบการเช่อื มตอ่ ของระบบเครอื ข่ายแบบ Use of an Extension Point
10.จงบอกประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายไร้สาย

28

คำถามท้ายหน่วยท่ี 2 ประเภทของเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์

ตอนที่ 2 จงทำเครือ่ งหมายกากบาท (X) ลงหน้าข้อท่ีถูกต้องที่สุด

1. เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทอ้ งถ่นิ ตรงขอ้ ใด 7. รูปแบบการเชื่อมต่อของระบบเครือข่าย
แบ บ ใด ที่ ใช้ เส าอ าก าศ ใน การรับ ส่ ง
ก. LAN ข. MAN สัญญาณระหวา่ งอาคารทอ่ี ยหู่ ่างกัน
ก. Peer – to - Peer
ค. WAN ง. WLAN ข. Client / Server
ค. Multiple Access Points and
จ. ZMAN Roaming
ง. Use of an Extension Point
2. เครอื ขา่ ยไรส้ าย ตรงกับข้อใด จ. The Use of Directional Antennas

ก. LAN ข. MAN 8. การรับส่งข้อมูลแบบ Hot Spot ตรงกับ
การเชือ่ มตอ่ ของระบบเครอื ข่ายแบบใด
ค. WAN ง. WLAN ก. Peer – to - Peer
ข. Client / Server
จ. ZMAN ค. Multiple Access Points and
Roaming
3. Metropolitan Area Network หมายถึง ง. Use of an Extension Point
จ. The Use of Directional Antennas
เครอื ขา่ ยแบบใด
9. Extension Points ใช้กับ การเช่ือมต่อ
ก. เครอื ขา่ ยท้องถ่นิ ของระบบเครอื ข่ายแบบใด
ก. Peer – to - Peer
ข. เครอื ขา่ ยระดบั เมอื ง ข. Client / Server
ค. Multiple Access Points and
ค. เครอื ข่ายระดับประเทศ Roaming
ง. Use of an Extension Point
ง. เครอื ข่ายไร้สาย จ. The Use of Directional Antennas

4. เค ร่ื อ ง ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ท่ี ค ว บ คุ ม ด้ ว ย 10. Installation Flexibility ตรงกับประโยชน์
ของระบบเครือขา่ ยไร้สายข้อใด
ซอฟต์แวร์ระบบเครือข่าย เรยี กว่าอะไร ก. มีความคลอ่ งตวั สงู
ข. ติดต้ังได้ง่ายและรวดเรว็
ก. Client ข. Area ค. ขยายระบบเครือขา่ ยได้งา่ ย
ง. ลดค่าใช้จา่ ยโดยรวม
ค. Novell ง. Network จ. ปรับขนาดและความเหมาะสมได้งา่

จ. Sever

5. ข้อใดเปน็ ระบบเครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ

ก. ธนาคาร ข. สำนักงาน

ค. สถานศกึ ษา ง. บ้าน

จ. สหกรณ์

6. รูปแบบการเช่ือมต่อของระบบเครือข่าย

แบบใดท่ีเป็นการเช่ือมต่อโดยตรงระหว่าง

คอมพิวเตอร์

ก. Peer – to – Peer

ข. Client / Sever

ค. Multiple Access Points and

Roaming

ง. Use of an Extension Point

จ. The Use of Directional Antennas 29

ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

ตอนที่ 3 จงบอกความหมายของคำศพั ทต์ ่อไปนี้

ข้อที่ คำศัพท์ คำแปล ข้อที่ คำศัพท์ คำแปล
1. Local
2. Metropolitan 7. Installation
3. Area
4. Wireless 8. Speed
5. Client
6. Server 9. Simplicity

10. Service

11. Flexibility

12. Scalability

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

30 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ประเภทของเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์
31

สาระการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3

(1) มาตรฐาน OSI Model
(2) โปรโตคอลในการสอ่ื สาร
(3) โปรโตคอล TCP
(4) กระบวนการ Three Way Handshake
(5) Sliding Window และความนา่ เช่อื ถอื ในการรับส่งขอ้ มลู
(6) โปรโตรคอล UDP
(7) โปรโตคอล IP

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

จดุ ประสงคท์ ว่ั ไป
(1) บอกลกั ษณะของมาตรฐาน OSI Model ได้
(2) อธิบายการทำงานของโปรโตคอลแบบต่างๆ ได้
(3) อธิบายกระบวนการ Three Way Handshake ได้
(4) อธิบายลกั ษณะการทำงานของ Sliding Window ได้
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
(1) พทุ ธพิ สิ ยั เข้าใจลกั ษณะการทำงานของ OSI Model และ โปรโตคอล
(2) ทกั ษะพิสยั แสดงความรู้เกย่ี วกับวธิ กี ารทำงานของโปรโตคอลแบบต่างๆ
(3) จติ พิสัย มีการทำงานด้วยความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย เลือกใช้ภาษาท่ี

เหมาะสมกับงาน

สมรรถนะประจำหน่วยการเรยี นรู้

(1) แสดงความรเู้ ก่ยี วกับลักษณะการทำงานของ OSI Model และโปรโตคอล
(2) แสดงความรเู้ กย่ี วกับวธิ ีการทำงานของโปรโตคอลแบบตา่ งๆ
(3) มกี จิ นสิ ัยทีด่ ใี นการอยู่ร่วมกันเปน็ หมูค่ ณะตามหลกั ประชาธิปไตย

มาตรฐานการเชอื่ มตอ่ ระบบเครือขา่ ย

หนว่ ยที่ 3 ระบบเครือขา่ ย

แผนผังความคิด
(Mind Mapping)

มาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ ระบบเครือข่าย สาระสำคัญ

มาตรฐาน OSI Model ในหน่วยการเรียนรู้นี้ จะศึกษาเกี่ยวกับ
มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย ซึ่งมี
โปรโตคอลในการส่อื สารขอ้ มลู หน่วยงานที่กำหนดมาตรฐานสากลขึ้น คือ
International Standards Organization
โปรโตคอล TCP เพื่อให้ผู้ผลิตต่างๆ สามารถแยกผลิตส่วนท่ี
สามารถนำไปใช้ร่วมกันได้ ซึ่งเรียกระบบ
กระบวนการ Three Way มาตรฐานน้วี ่า OSI Model (Open System
Handshake Interconnection Reference Model) ซึ่ง
จะแบ่งการทำงานของระบบเครือข่าย
Sliding Window และความ ออกเป็น 7 ชั้น คือ Application Layer,
น่าเชือ่ ถอื ในการรับสง่ ขอ้ มูล Presentation Layer, Session Layer,
Transport Layer, Network Layer, Data
โปรโตรคอล UDP Link Layer, แ ล ะ Physical Layer
นอกจากนี้ ยังจะได้เรียนรู้ในส่วนของ
ช โ ป ร โ ต ค อ ล ใ น ก า ร ส ื ่ อ ส า ร ข ้ อ ม ู ล ท ี ่ เ ป็ น
ข้อตกลงในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
โปรโตคอล IP ในเครอื ข่าย

34

มาตรฐานการเชือ่ มตอ่ ระบบเครือขา่ ย

มาตรฐาน OSI Model 35

การทค่ี อมพิวเตอรเ์ ครอื่ งหน่ึงจะส่งข้อมูลไปยงั คอมพิวเตอร์อีกเครอ่ื งหนึ่งได้น้ัน จะต้องอาศัยกลไก
หลายๆ อย่างร่วมกนั ทำงานต่างหน้าที่กัน และเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายเข้าด้วยกัน ปัญหาที่เกดิ ขึน้ คือการ
เชื่อมต่อมีความแตกต่างระหว่างระบบและอุปกรณ์หรือเป็นผู้ผลิตคนละรายกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้การ
สร้างเครอื ขา่ ยเป็นเรอื่ งยากมาก เนอื่ งจากขาดมาตรฐานกลางทีจ่ ำเปน็ ในการเช่อื มตอ่

จึงได้เกิดหน่วยงานกำหนดมาตรฐานสากล
ขึ้นคือ International Standards Organization
(ISO) ขึ้น และทำการกำหนดโครงสร้างทั้งหมดท่ี
จำเป็นต้องใช้ในการสื่อสารข้อมูลและเป็นระบบ
เปิด เพื่อให้ผู้ผลิตในส่วนที่ตัวเองถนัดแต่สามารถ
นำไปใช้ร่วมกันได้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สมัยใหม่จะถูกออกแบบให้มีโครงสร้างที่แน่นอน
และเพื่อเป็นการลดความซับซ้อน ระบบเครือข่าย
ส่วนมากจึงแยกการทำงานออกเป็นชั้นๆ (layer)
โดยกำหนดหน้าที่ในแต่ละชั้นไว้อย่างชัดเจน
แบบจำลองสำหรับอ้างอิงแบบ OSI (Open
System Interconnection Reference Model )
หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า OSI Reference
Model ของ ISO เป็นแบบจำลองที่ถูกเสนอและ ภาพที่ 3.1 แบบจำลอง OSI Model 7 เลเยอร์
พัฒนาโดยองค์กร International Standard Organization (ISO) โดยจะบรรยายถึงโครงสร้างของ
สถาปัตยกรรมเครือข่ายในอุดมคติ ซึ่งระบบเครือข่ายที่เป็นไปตามสถาปัตยกรรมน้ี จะเป็นระบบ
เครือข่ายแบบเปิด และอุปกรณ์ทางเครือข่ายจะสามารถติดต่อกันได้โดยไม่คำนึงถึงว่าจะเป็นอุปกรณ์
ของผู้ขายรายใด แบบจำลอง OSI จะแบ่งการทำงานของระบบเครือข่ายออกเปน็ 7 ชัน้ คอื

1. Application Layer

เป็นเลเยอร์ที่กำหนดอินเตอร์เฟชระหว่างแอผพลิเคชั่นที่ทำงานบนเค รื่องคอมพิวเตอร์กับ
ซอฟต์แวร์สื่อสารต่างๆ ที่ทำงานอยู่บนเครี่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น เว็บบราวเซอร์ ถือว่าเป็นแอป
พลิเคชั้นที่ทำงานอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อต้องการรับส่งข้อมูลเว็บเพจกับเครื่องเซิฟร์ ซึ่งจะต้อง
อาศัยความสามารถของเลเยอร์ 7 ในการอินเตอร์เฟชกับซอฟต์แวร์สื่อสารในเลเยอร์ระดับล่างเพื่อให้
ได้มาซ่งึ เว็บเพจทตี่ อ้ งการ

2. Presentation Layer

จุดประสงค์หลักของเลเยอร์นี้คือ กำหนดฟอร์แมตของการสื่อสาร ตัวอย่างเช่น ASCII Text,
EBCDIC, ไบนารี (Binary) และ JPEG การเขา้ รหัสก็รวมอยู่ในเลเยอร์น้ีดว้ ย ตัวอย่างเช่น โปรแกรม FTP
ต้องการรับส่งโอนย้ายไฟล์กับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ปลายทาง โปรโตคอล FTP จะอนุญาตให้ผู้ใช้ระบุ
ฟอรแ์ มตของขอ้ มลู ท่ีโอนย้ายกันได้วา่ เปน็ แบบ ASCII Text หรือเปน็ แบบไบนารี (Binary)

มาตรฐานการเชอื่ มตอ่ ระบบเครอื ขา่ ย

3. Session Layer

เป็นเลเยอร์ที่ควบคุมการสื่อสารจากต้นทางไปยังปลายทางแบบ End to End และคอยควบคุม

ช่องทางการสื่อสารในกรณีที่มีหลายๆ กระบวนการ (Process) ต้องการรับส่งข้อมูลพร้อมๆ กันบน

เครื่องเดียวกัน และยังให้อินเตอร์เฟชสำหรับแอปพลิเคชั่นเลเยอร์ด้านบนในการควบคุมขั้นตอนการ

ทำงานของโปรโตคอลในระดับ Transport / Network เช่น Socket ที่ใช้ในยูนิกซ์ หรือ Windows

Socket ที่ใช้ในวินโดวส์ ซึ่งได้ให้ Application Programming (API) แก่ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ในระดับบน

สำหรับการเขยี นโปรแกรมเพ่อื ควบคุมการทำงานของโปรโตคอล TCP / IP ในระดบั ลา่ ง

4. Transport Layer

เป็นเลเยอร์ที่มีหน้าที่หลักๆ ในการแบ่งข้อมูลในเลเยอร์บนให้พอเหมาะกับการจัดส่งไปในเล

เยอร์ล่าง (Segmentation) ทำหน้าที่ประกอบรวมข้อมูลต่างๆ ที่ได้รับมาจากเลเยอร์ล่าง (Assembly)

และให้บริการในการแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ้นในระหวา่ งทางของการส่ง หน่วยของข้อมูลในเล

เยอร์นี้มักจะถูกเรียกว่า Segment ตัวอย่างของโปรโตคอลในเลเยอร์นี้ที่รู้จักกันดี คือ โปรโตคอล TCP

และ UDP

5. Network Layer

เป็นเลเยอร์ที่มีหน้าที่หลักในการส่งแพ็คเกจจากเครื่องต้นทางให้ไปถึงเครื่องปลายทาง ด้วย

ความพยายามที่ดีที่สุด เลเยอร์นี้จะกำหนดใหม้ ีการตั้งลอจิคลั แอดเดรสขึ้นมาบนเครื่องคอมพิวเตอร์และ

อุปกรณ์สื่อสารเพื่อใช้ระบุตัวตน ตัวอย่างของโปรโตคอลเลเยอร์นี้ ได้แก่ โปรโตคอล IP และลอจิคัล

แอดเดรสทใ่ี ช้คอื หมายเลข IP Address นั้นเอง

เลเยอร์นี้จะให้บริการใน Network Layer โดยตรงเมื่อได้รับแพ็คเกจมาจากเครื่องคอมพิวเตอร์

แล้วพยายามหาให้ได้ว่าจะส่งแพ็คเกจออกไปทางอินเตอร์เฟช (Interface) ใด เพื่อไปยังเครื่อง

คอมพิวเตอร์ปลายทางได้ โปรโตคอลที่ทำงานในเลเยอร์นี้จะไม่ทราบว่าแพ็คเกจจริงๆ แล้วไปยังเครื่อง

ปลายทางหรือไม่ หน้าที่ของการยืนยันว่าข้อมูลได้ไปถึงปลายทางจริงๆ นั้นคือหน้าที่ของ Transport

Layer โดยหน่วยของการรับส่งขอ้ มูลในเลเยอร์น้คี อื แพค็ เกจ (Packet)

6. Data Link Layer

รับผิดชอบในการส่งข้อมูลบนเน็ตเวิร์กแต่ละประเภท เช่น Ethernet, Token Ring, FDDI หรือ

บน WAN ต่างๆ และดูแลเรื่องการห่อหุ้นข้อมูลจากเลเยอร์บน เช่น แพ็คเกจ IP ไว้ภายใน “เฟรม” และ

ส่งจากต้นทางไปยังอุปกรณ์ตัวถัดไป เลเยอร์นี้จะเข้าใจได้ถึงกลไกและอัลกอริทึมรวมทั้งฟอร์แมตของ

เฟรมท่จี ะใชใ้ นเน็ตเวริ ์กประเภทตา่ งๆ เปน็ อยา่ งดี

ในเน็ตเวิร์กแบบอีเทอรเ์ น็ต การสื่อสารในเลเยอร์นี้จะมีการระบุหมายเลขแอดเดรสของเครื่อง /

อุปกรณ์ต้นทางกับเครื่อง / อุปกรณ์ปลายทางด้วยฮารด์ แวร์แอดเดรสที่เรียกว่า MAC Address ผู้ใช้งาน

อีเทอร์เน็ตจะพบว่า เน็ตเวิร์กการ์ดที่เสียบอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีหมายเลข MAC Address

กำกับอยู่เสมอ MAC Address เป็นแอดเดรสที่ฝังมากับฮาร์ดแวร์ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงโดยผู้ใช้

ปลายทางได้ MAC Address เป็นตัวเลขขนาด 6 ไบต์ 3 ไบต์แรกจะได้รับการจัดสรรโดยองค์กรกลาง

36 IEEE ให้กับผู้ผลิตแต่ละราย ส่วนตัวเลข 3 ไบต์หลังนั้นทางผู้ผลิตจะไปกำหนดเอง โดยหน่วยของการ
รบั สง่ ข้อมูลในเลเยอร์น้ืคือ เฟรม (Frame)

มาตรฐานการเช่อื มตอ่ ระบบเครือขา่ ย

7. Physical Layer 37

เลเยอร์นี้จะกำหนดมาตรฐานของสัญญาณทางไฟฟ้าและมาตรฐานของคอนเน็กเตอร์เชื่อมต่อ
ต่างๆ รวมถึงมาตรฐานของสายเคเบิลที่จำเป็นต้องใช้ เช่น มาตรฐานสาย CAT มาตรฐานของหัวต่อเชื่อม
V.35 ที่ใช้ใน WAN และมาตรฐาน RS232 เป็นต้น รวมทั้งแรงดันทางไฟฟ้าและรูปแบบการรับส่งบิต
ขอ้ มูลทีเ่ หดิ ขึ้นในส่ือนำสญั ญาณ

โปรโตคอลในการสื่อสารข้อมลู

โปรโตคอล (Protocol) คือ ข้อตกลงในการ
สื่อสารระหว่างอุปกรณ์ในเครือข่าย ดังนั้น คอมพิวเตอร์
หรืออุปกรณ์เครือข่ายจะติดต่อสื่อสารกันได้ต้องใช้
โปรโตคอลตัวเดียวกัน โปรโตคอลเป็นได้ทั้งฮาร์ดแวร์
และซอฟต์แวร์ซึ่งจะสอดคล้องกับโมเดล OSI
โปรโตคอลอาจจะเป็นเพียงส่วนเดียวหรือประกอบ
ขึ้นมาเป็นชุดก็ได้ โปรโตคอลสำคัญที่พบได้บ่อยใน
ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ มดี งั ต่อไปนี้

ภาพท่ี 3.2 : โมเดลโปรโตคอล TCP / IP

โปรโตคอล TCP

โปรโตคอล TCP ในเลเยอร์ของ Transport น้ันมหี น้าทห่ี ลกั ๆ คอื
1. จัดแบ่งข้อมูลจากระดับแอปพลิเคชันเลเยอร์ให้มีขนาดพอเหมาะที่จะส่งไปบนเน็ตเวิร์ก หน่วย
ของขอ้ มูลในระดบั นเี้ รยี กว่า TCP Segment
2. เริ่มต้นสร้างคอนเน็กชันระหว่างต้นทางและปลายทางให้สำเร็จก่อน ก่อนที่ทั้งต้นและปลายทาง
จะมีการรับส่งข้อมูลกันจริงๆ การรับส่งข้อมูลโดยมีการสร้างคอนเน็กชันก่อนการส่งนี้ เรียกว่า การ
สื่อสารแบบ Connection – Oriented และกระบวนการที่ใช้ในการสร้างคอนเน็กชัน คือ Three Way
Handshake
3. มีการใส่หมายเลข Sequence Number (SEQ) ลงไปใน TCP Segment ที่ส่งไปเพื่อจัดลำดับ
การส่งข้อมูล เมื่อปลายทางได้รับ TCP Segment นั้นแล้วจะต้องมีการยืนยัน (Acknowledgement:
ACK) กลับมาใหเ้ คร่อื งต้นทางทราบวา่ ได้รับ TCP Segment แลว้
4. ในกรณีที่ไม่ไดร้ ับ ACK ยืนยันกลบั มาภายในเวลารอคอยท่ีเหมาะสมค่าหน่ึง ซึ่งจะเข้าใจวา่ TCP
Segment ส่งไปไม่ถึงยังเคร่ืองปลายทาง ในกรณีนี้เครื่องต้นทางจะมีการส่งใหม่ (Retransmission) อีก
ครั้ง และเพิ่มเวลารอคอยออกไปอีกระยะหนี่งจนกว่าจะได้รับ ACK กลับมา กลไกนี้คือการทำ Error
Recovery ซ่งึ ทำใหโ้ ปรโตคอล TCP มีความน่าเชือ่ ถอื ในการรบั ส่งขอ้ มลู

มาตรฐานการเช่อื มต่อระบบเครอื ขา่ ย

5. การส่ง ACK เพื่อยืนยันว่าได้รับข้อมูลครบถ้วนนั้น เครื่องปลายทางไม่จำเป็นต้องส่ง ACK กลับ
TCP Segment ทั้งหมดที่ได้รับ แต่สามารถส่ง ACK เมื่อได้รับข้อมูลหลายๆ TCP Segment ตามที่ตก
ลงกันไว้ก่อนได้ โดยเครื่องต้นทางและเครื่องปลายทางต้องมีการตกลงกันแต่แรกว่าจะให้ผู้ที่ได้รับ TCP
Segment ตอบยืนยัน (ACK) กลับมาเมื่อได้รับ TCP Segment ไปแล้วเป็นจำนวนเท่าไรขนาดของ
TCP Segment ที่ผู้ส่งสามารถสง่ ได้ในคร้ังหนึ่งๆ โดยไม่ต้องรอคอยให้มีการตอบรับ เรียกว่า “Window
Size” หมายความว่า ผู้รับสามารถรอรับขอ้ มูลจนครบตามขนาดของ Window Size กอ่ นแล้วจงึ คอ่ ยส่ง
ACK

6. ควบคุมลำดับขั้นตอนของการส่งแพ็คเกจของโปรโตคอล IP ให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย
จัดสรรขนาดบัฟเฟอร์ข้อมูลที่เหมาะสมไว้ทั้งในขณะรับและส่งข้อมูล และช่วยประกอบรวมแพ็คเกจ IP
ทีไ่ ดร้ บั เข้ามาใหเ้ ป็นข้อมลู ผนื เดยี วกนั สำหรบั ส่งต่อข้ึนไปยงั แอปพลิเคชนั ในระดบั บน

กระบวนการ Three Way Handshake

เป็นกระบวนการในการสร้างคอนเน็กชัน (Connection) ระหว่างต้นทางกับปลายทาง โฮสต์ต้นทาง
จะเริ่มต้นขอสร้างคอนเน็กชันด้วยการส่งแพ็ตเกจ TCP ที่มีการเซตฟิลด์ SYN ไว้ (ฟิลด์ SYN =
Synchronize) และรอให้ปลายทางส่งแพ็คเกจ TCP ที่มีฟิลด์ SYN และ ACK กลับมาก่อน จากนั้นต้น
ทางจึงตอบยืนยันว่าต้องการการรับส่งข้อมูลด้วยอีกครั้ง เป็นอันจบ หลังจากผ่านกระบวนการข้างต้นนี้
ไป โฮสต์ต้นทางและโฮสต์ปลายทางก็พร้อมทีจ่ ะเริม่ รับสง่ ข้อมูลกนั โดยระหว่างกระบวนการนี้ โฮสต์ต้น
ทางและโฮสต์ปลายทางจะมีการตกลงกันว่าจะใช้ขนาดของ Window Size ขนาดเท่าไร และหมายเลข
Sequence Number (Seq) ของโฮสต์แตล่ ะฝ่ังจะมีค่าเริม่ ตน้ เทา่ กับเทา่ ไร ดงั ภาพที่ 3.3 Seq Number
ของต้นทางเท่ากบั 300 และ Seq Number ของปลายทางเท่ากบั 400

ภาพท่ี 3.3 : กระบวนการ Three Way Handshake

38

มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือขา่ ย

Sliding Window และความน่าเชอ่ื ถอื ในการรบั สง่ ขอ้ มลู

ภาพที่ 3.4 แสดงกระบวนการ Sliding Window แบบง่ายๆ เพื่อช่วยควบคุมโฟล์การรับส่งข้อมูล
(Flow Control) สมมุติให้ขนาดของ Window (Window Size) เท่ากับ 1 นั้นหมายความว่าทุกๆ TCP
Segment ทถ่ี ูกสง่ ออกไปจะต้องไดร้ ับการตอบยืนยัน (Ack) วา่ ได้รบั ข้อมูลแล้ว โดยเคร่อื งต้นทางตอ้ งรอ
คอยให้ปลายทางส่ง Ack กลับมาก่อนว่าได้รับ TCP Segment ที่ 2 แล้วจึงค่อยส่ง TCP Segment ที่ 3
ถัดไปได้เป็นเช่นนีไ้ ปเรื่อยๆ แต่ในกรณีที่ขนาดของ Window เท่ากับ 4 นั้นหมายความว่า เครื่องต้นทาง
สามารถส่ง TCP Segment ไปได้ทีเดียว 4 ชุดตามลำดับ และถึงจะหยุดรอคอยให้ปลายทางตอบรับ
กลับมาวา่ ได้รบั TCP Segment ขา้ งต้นทั้งหมดครบ 4 ชดุ แล้ว จึงจะสง่ TCP Segment ถดั ไปได้

ภาพท่ี 3.4 : การทำงานของ Sliding Window 39

มาตรฐานการเชอ่ื มต่อระบบเครอื ขา่ ย

ในการตอบกลบั เพือ่ ยนื ยนั วา่ ได้รับขอ้ มลู จากต้นทางน้ี เครอ่ื งปลายทางจะใชว้ ิธกี ารตอบรบั แบบ
Forward Acknowledgement คือการบอกเครื่องต้นทางว่ามันได้รับ TCP Segment ล่าสุดถึงชุดที่ 4
แล้วพร้อมที่จะรับ TCP Segment ที่ 5 เป็นข้อมูลชุดถัดไป (ด้วยการส่ง Ack 5 ไม่ใช่ Ack 4) เมื่อเครื่อง
ปลายทางได้รับ Ack เช่นน้ี จะทราบทนั ทีว่าเครื่องปลายทางได้รับครบถ้วนถึง TCP Segment ที่ 4 แล้ว
มันจะส่ง TCP Segment ชดุ ท่ี 5 ออกไปให้

ภาพที่ 3.5 : การทำงานเมือ่ มกี ารสง่ ขอ้ มลู ผิดพลาด
จากภาพที่ 3.5 ขนาดของ Window เท่ากับ 4 เพราะฉะนั้นเครื่องต้นทางจึงส่งได้ 4 ชุดแล้วจึงรอ
การตอบกลับ (Ack) เมื่อปลายทางตอบกลับมาว่าได้รับ TCP Segment ถึงชุดที่ 4 แล้ว และต้องการได้
TCP

40

มาตรฐานการเช่อื มตอ่ ระบบเครือขา่ ย

Segment ชุดที่ 5 ต่อไป (ด้วยการ Ack5) เครื่องต้นทางจะส่งไปให้อีก 4 ชุด (คือ TCP Segment ที่ 5,
6, 7 และ 8 ตามลำดับ) แต่บังเอิญด้วยเหตุผลบางประการทำให้ TCP Segment ที่ 7 สูญหายระหว่าง
ทางเช่น เกิดความหนาแน่นขึ้น เราเตอร์มีบัฟเฟอร์ไม่เพียงพอ เราเตอร์จำเป็นต้องโยนทิ้งด้วยกฎบาง
ประการของ QoS หรอื อะไรก็แล้วแต่ สง่ ผลให้ปลายทางไมไ่ ด้รบั TCP Segment ที่ 7

เมื่อ TCP Segment ที่ 8 เดินทางมาถึงปลายทาง มันจะตอบรับ (Ack) กลับไปว่า Ack 37 ซึ่ง
หมายความว่า จะได้รับ TCP Segment ล่าสุดถึงชุดที่ 6 แล้ว และต้องการจะได้รับ TCP Segment ชุด
ที่ 7 ต่อไป เมื่อ Ack ถูกส่งกลับมาให้ต้นทาง ต้นทางจะทราบได้ทันที่ว่า TCP Segment ชุดที่ 7 สูญ
หายไประหว่างทาง และจะส่ง TCP Segment ชุดที่ 7 กลับไปให้ใหม่ เมื่อปลายทางได้รับและเช็คดูว่า
ขณะน้ีไดร้ บั ครบแล้วต้งั แต่ TCP Segment ท่ี 5–8 จึงตอบ Ack กลบั ไปวา่ ไดร้ บั TCP Segment ท่ี 5-8
ครบถ้วนแล้ว และต้องการรับ TCP Segment ที่ 9 เป็น TCP Segment ถัดไปด้วยการส่ง Ack 9
กลับมาให้

โปรโตคอล UDP

เป็นโปรโตคอลในระดับ Transport Layer ที่มีความแตกต่างไปจากโปรโตคอล TCP เกือบทุก
ด้าน โปรโตคอล UDP ทำการส่งข้อมูลโดยไม่มีการสร้างคอนเน็กชันก่อน (เรียกว่าแบบ
Connectionless) ไม่มีการส่งการยืนยันว่าได้รับข้อมูลแล้ว ไม่มีการจัดเตรียมขนาดบัฟเฟอร์สำหรับ
การรับส่งข้อมูลและไม่มีการจัดลำดับของข้อมูลที่ได้รับ หน้าที่ของการยืนยันว่าได้รับข้อมูลแล้วอาจถูก
ผลักภาระให้กับแอปพลิเคชันในเลเยอร์บนต่อไป และยังไม่สนใจในการควบคุมโฟล์ของการรับส่งข้อมูล
ดว้ ย ด้วยหลกั การทำงานข้างต้นนี้จงึ ทำให้ UDP เปน็ โปรโตคอลทไ่ี ม่มคี วามน่าเช่อื ถอื (Unreliable)

โปรโตคอล UDP เมื่อไม่มีความน่าเชื่อถือ แต่ประโยชน์สำคัญที่ได้รับจากการทำงานแบบนี้คือ
ความรวดเร็ว ความไม่สิ้นเปลืองเวลาและทรัพยากรที่ต้องใช้ในการติดตามสถานะต่างๆ ตัวอย่างหนึ่งท่ี
พบในการทำงานบนเน็ตเวิร์กที่ใช้ UDP ได้แก่ โปรโตคอล SNMP (Simple Network Management
Protocol) อปุ กรณ์เนต็ เวิรก์ ซึง่ ทำหน้าท่ีเปน็ SNMP Agent จะส่งรายการสถานะต่างๆ กลับไปให้เคร่ือง
เซิร์ฟเวอร์ท่ีทำหน้าที่ SNMP Server โดยผ่านทาง UDP เพราะมันต้องการความรวดเร็ว อีกทั้งข้อมูล
สถานะมีจำนวนมาก การทีจ่ ะตอ้ งรอคอยเซตอัพคอนเนก็ ชันทุกครง้ั เมอื่ ต้องการส่งขอ้ มูลอาจจะเปน็ เร่ือง
ที่เสียเวลาและไม่จำเป็น อีกตัวอย่างหนึ่ง คือ การโอนย้ายไฟล์ด้วยโปรโตคอล FTP จะเป็นแบบ
Connection Oriented คือ การใช้งานโปรโตคอล TCP ส่วนการโอนย้ายไฟล์ด้วยโปรโตคอล Trivial
FTP (TFTP) จะเป็นแบบ Connectionless คือ ใชง้ านโปรโตคอล UDP

โปรโตคอล IP

โปรโตคอล IP ทีอ่ ยใู่ น Network Layer จะมีหนา้ ที่ 3 อยา่ งต่อไปนี้ คอื

41

มาตรฐานการเชอ่ื มต่อระบบเครอื ขา่ ย

1. Addressing
หนา้ ท่นี ้ีหมายถงึ การให้บริการในการติดตั้ง “ลอจคิ ลั แอดเดรส (Logical Address)” ให้กบั เครือ่ ง

คอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรโตคอล IP เนื่องจาก ลอจิคัลแอดเดรสนี้จะไม่ได้ถูกกำหนดมาตายตัวหรือฝังมา
กับเน็ตเวิร์กการ์ด ดังนั้น มันจึงเป็นแอดเดรสที่ผู้ออกแบบหรือบริหารระบบเครือข่ายเป็นผู้ตั้งขึ้นมาเอง
และสามารถเปลยี่ นแปลงแก้ไขได้ ข้อดขี องการมีลอรคิ ัลแอดเดรสหรือแอดเดรสใน Network Layer คอื

1.1ทำให้เราสามารถออกแบบระบบเนต็ เวิรก์ ได้ง่ายข้นึ
1.2ทำใหร้ ะบบเน็ตเวริ ์กสามารถขยายเพ่มิ เติมไดโ้ ดยงา่ ย
1.3ทำใหก้ ารแก้ไขปัญหาทำไดโ้ ดยงา่ ย
2. Packaging

เป็นการจัดเตรียมแพ็คเกจ IP ให้อยู่ในสภาพที่พร้อมส่งไปยังเครื่องปลายทาง โดยการนำเอา
TCP Segment หรือ UDP Segment จากในเลเยอร์บนมาบรรจุไว้ในฟิลด์ Data ของแพ็คเกจ IP (หาก
ขนาดของ Segment ใหญเ่ กินกวา่ จะสง่ ไดภ้ ายในแพค็ เกจ IP แพ็คเกจเดียว จะต้องแบง่ Segment ย่อย
ออกและส่งไปในหลายๆ แพ็คเกจ) จากนั้นใส่ค่าฟิลด์ Destination IP Address และ Source IP
Address ให้เป็นหมายเลข IP Address ปลายทางและต้นทางตามลำดับ และที่สำคัญคือ จะใส่ค่าฟิลด์
Protocol Number ลงไปด้วย ค่าตัวเลขค่าหนึ่งที่ระบุว่าเลเยอร์บนเป็น TCP หรือ UDP (หมายเลข 6
สำหรับ TCP และหมายเลข 17 สำหรับ UDP) แพ็คเกจ IP หนึ่งๆ บางครั้งเรียกว่า ดาต้าแกรม
(Datagram)

3. Routing

Routing คือ การหาเส้นทางในการส่งแพ็คเกจไปให้ถึงเครื่องปลายทางให้ได้ หลักความสำคัญ
ของการส่งแพ็คเกจโดยโปรโตคอล IP คือ จะส่งให้ดีที่สุด (Best Effort) โดยที่ไม่การันตีว่าข้อมูลจะถึง
ปลายทางหรือไม่ และจะปล่อยให้เปน็ หนา้ ทีข่ องโปรโตคอลในระดับสงู กว่า คอื TCP เป็นผ้รู บั ประกันให้

สรุปทา้ ยหน่วย

มาตรฐานการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายตามมาตรฐาน OSI Model จะมีทั้งหมด 7 เลเยอร์ แต่ละเลเยอร์จะมีลักษณะการ
ทำงานที่แตกต่างกันไป เช่น Application Layer เป็นเลเยอร์ทีก่ ำหนดอินเตอร์เฟซระหว่างแอปพลิเคชันที่ทำงานบนเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์กับซอฟต์แวร์สื่อสารต่างๆ ที่ทำงานอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ยังมีโปรโตคอลในการสื่อสาร
ขอ้ มูล ซ่งึ หมายถงึ ขอ้ ตกลงในการสื่อสารระหวา่ งอุปกรณ์ต่างๆ ในเครือขา่ ย

กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้

1. ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 3 - 5 คน

2. ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศึกษาเกย่ี วกบั มาตรฐานการเช่ือมต่อระบบเครอื ขา่ ยแตล่ ะเลเยอร์ พร้อมทัง้ เปรียบเทียบ
ลักษณะการทำงานของแตล่ ะเลเยอรก์ ับการสง่ ไปรษณยี ์ แลว้ นำเสนอหน้าช้นั เรียนกลุ่มละ 5 – 10 นาที

42

มาตรฐานการเชอื่ มต่อระบบเครอื ขา่ ย

คำถามทา้ ยหน่วยท่ี 3

ตอนท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปนีใ้ หถ้ ูกต้อง

1. จงอธิบายมาตรฐาน OSI Model
2. จงบอกส่วนของการทำงานของระบบเครอื ข่ายแบบจำลอง OSI
3. จงอธบิ ายขัน้ ของการทำงานแบบ Application Layer
4. จงอธบิ ายขนั้ ของการทำงานแบบ Presentation Layer
5. จงอธิบายขนั้ ของการทำงานแบบ Session Layer
6. จงอธบิ ายขน้ั ของการทำงานแบบ Transport Layer
7. จงบอกความหมายของโปรโตคอลในการสื่อสาร
8. จงอธบิ ายกระบวนการ Three Way Handshake
9. จงอธิบายความหมายของโปรโตคอล UDP
10. จงอธิบายหน้าท่ีของโปรโตคอล IP

43

มาตรฐานการเชื่อมตอ่ ระบบเครอื ขา่ ย คำถามท้ายหนว่ ยท่ี 3

ตอนที่ 2 จงทำเคร่อื งหมายกากบาท (X) ลงหนา้ ข้อที่ถูกต้องทีส่ ดุ

1. ข้อใดคอื ตัวอกั ษรย่อของมาตรฐานสากล 6. TCP (Host - to - Host) อยใู่ นเลเยอรใ์ ดของ

ก. ISA OSI
ข. ISO
ค. OSI ก. Presentation
ง. TPI ข. Session
จ. STA ค. Transport
2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ สว่ นหน่งึ ของ OSI Model ง. Data Link
จ. Physical
ก. Server 7. Network Access อยูใ่ นเลเยอรใ์ ดของ OSI
ข. Presentation
ค. Session ก. Presentation
ง. Transport ข. Session
จ. Network ค. Transport
3. เลเยอรใ์ ดของ OSI Model อยูใ่ นส่วนของ ง. Data Link
จ. Physical
Bits 8. ข้อใดเป็นกระบวนการในการสรา้ งคอน

ก. Presentation เน็กชนั (Connection) ระหวา่ งต้นทางกบั

ข. Session ปลายทาง

ค. Transport ก. The Way handshake
ง. Data Link ข. Sliding Window
จ. Physical ค. Forward Acknowledgement
4. เลเยอร์ใดของ OSI Model อย่ใู นส่วนของ ง. TCP

Segment จ. IP
9. ขอ้ ใดหมายถงึ การใหบ้ ริการในการตดิ ตั้ง
ก. Presentation
ข. Session Logical Address ให้กบั เครอื่ งคอมพิวเตอร์
ค. Transport
ง. Data Link ก. UDP
จ. Physical ข. Addressing
5. เลเยอรใ์ ดของ OSI Model เป็นเลเยอร์ท่ี ค. Packaging
ง. Routing
ควบคุมการสอ่ื สารแบบ End to End จ. IP
10. ขอ้ ใดหมายถงึ การหาเส้นทางในการส่ง
ก. Presentation
ข. Session แพค็ เกจไปใหถ้ งึ เครือ่ งปลายทางใหไ้ ด้
ค. Transport
ง. Data Link ก. UDP
จ. Physical ข. Addressing
ค. Packaging

ง. Routing

จ. IP

44