เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 from Ninoy Kub Ni

แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ม.1 (วิชาประวัติศาสตร์) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย

แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ม.1 (วิชาประวัติศาสตร์) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย



เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


Download เป็น PDF File



เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4


ที่04:25

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ป้ายกำกับ: ข้อสอบ ประวัติศาสตร์ ม.1, ข้อสอบ ม.1

การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน ยังมีผลต่อความคิดความรู้สึกที่จะสื่อความหมายไปยังผู้ดูได้ เราอาจแบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ คือ

1. มุมสายตานก (Bird’s-eye view)  มุมชนิดนี้มักเรียกทับศัพท์ทำให้เข้าใจ มากกว่า เป็นมุมถ่ายมาจากด้านบนเหนือศีรษะ ทำมุมตั้งฉากเป็นแนวดิ่ง 90 องศากับผู้แสดง เป็นมุมมองที่เราไม่คุ้นเคยในชีวิตประจำวัน จึงเป็นมุมที่แปลก แทนสายตานกที่อยู่บนท้องฟ้า

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

2. การถ่ายภาพมุมสูง(High Level)  คือ การตั้งกล้องถ่ายในตำแหน่งที่สูงกว่าวัตถุ ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกถึงความเล็ก ความต้อยต่ำ ไม่มีความสำคัญ ไม่สง่าผ่าเผย

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

3. ภาพระดับสายตา(Eye Level Angle) คือ การถ่ายภาพในตำแหน่งที่อยู่ในระดับสายตาปกติที่เรามองเห็น ขนานกับพื้นดิน ภาพที่จะได้จะให้ความรู้สึกเป็นปกติธรรมดา

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

4. ภาพมุมต่ำหรือการถ่ายภาพในมุมต่ำ (Low Level)  คือ การถ่ายในตำแหน่งที่ต่ำกว่าวัตถุ จะให้ความรู้สึกถึงความสูงใหญ่ ยิ่งใหญ่กว่าความเป็นจริง แสดงถึงความสง่า

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

5. มุมสายตาหนอน (Worm’s-eye view) คือ มุมที่ตรงข้ามกับมุมสายตานก (Bird’s-eye view)  กล้องเงยตั้งฉาก 90 องศากับตัวละครหรือซับเจ็ค บอกตำแหน่งของคนดูอยู่ต่ำสุด มองเห็นพื้นหลังเป็นเพดานหรือท้องฟ้า เห็นตัวละครมีลักษณะเด่น เป็นมุมที่แปลกนอกเหนือจากชีวิตประจำวันอีกมุมหนึ่ง

ลักษณะของมุมนี้ เมื่อใช้กับซับเจ็คที่ตกลงมาจากที่สูงสู้พื้นดิน เคลื่อนบังเฟรม อาจนำไปใช้เป็นตัวเชื่อมระหว่างฉาก (transition) คล้ายการเฟดมืด (Fade out)

6. มุมเอียง (Oblique angle shot) เป็นมุมที่มีเส้นระนาบ (Horizontal line) ของเฟรมไม่อยู่ในระดับสมดุล เอียงไปด้านใดด้านหนึ่งเข้าหาเส้นตั้งฉาก (Verticle line) ความหมายของมุมชนิดนี้คือ ความไม่สมดุลลาดเอียงของพื้นที่ บางสิ่งบางอย่างที่อยู่ในสภาพไม่ดี เช่น ในฉากชุลมุนโกลาหล แผ่นดินไหว ถ้าใช้แทนสายตาตัวละคร หมายถึงคนที่เมาเหล้า หกล้ม สับสน ให้ความรู้สึกที่ตึงเครียด

มุมเอียงเป็นมุมที่ไม่ค่อยใช้บ่อยนัก ส่วนใหญ่ใช้ตามความหมายที่อธิบายในภาพยนตร์และมีชื่อเรียกหลายอย่าง เช่น Dutch angle, Tilted shot หรือ Canted shot เป็นต้น

นอกจากนี้ยังมีมุมกล้องอื่นที่สำคัญควรทราบดังนี้

1. มุมเฝ้ามอง (Objective Camera Angle) คือ มุมแอบมองหรือเฝ้ามองตัวละคร แอ็คชั่นและเหตุการณ์ที่กำลังเกิดขึ้นในหนัง เป็นมุมเดียวกับกล้องแต่มองไม่เห็นคนดู ซึ่งคนดูจะอยู่หลังกล้องโดยผ่านสายตาของตากล้อง หรือบางทีเป็นการถ่ายโดยคนแสดงไม่รู้ตัว เรียกว่า การแอบถ่าย (candid camera)

2. มุมแทนสายตา (Subjective Camera Angle) เป็นมุมมองส่วนตัว หรือเรียกว่า มุมแทนสายตา ซึ่งเป็นการนำพาคนดูเข้ามามีส่วนร่วมในภาพด้วย เช่น ผู้แสดงมองมาที่กล้อง ซึ่งจะให้ความรู้สึกเหมือนมองไปที่คนดูหรือพูดกับกล้อง เช่น การอ่านข่าว การรายงานข่าวในทีวี เป็นต้น ลักษณะของมุมกล้องชนิดนี้ เป็นความสัมพันธ์กันระหว่างสายตาต่อสายตา (eye-to-eye relationship)

มุมแทนสายตา แบ่งเป็น

          2.1  แทนสายตาคนดู เป็นการกำหนดตำแหน่งคนดูให้เป็นส่วนหนึ่งของฉากนั้น เช่น คนดูถูกพาให้เข้าชมโบราณสถาน พาเที่ยว คนดูจะได้เห็นเหตุการณ์ของแต่ละฉาก หรือกล้องอาจถูกทิ้งมาจากที่สูง แทนสายตามาจากที่สูง แทนคนดูตกลงมาจากที่สูง ภาพแทนสายตาของนักบิน รถแข่ง พายเรือ ดำน้ำ สกี รถไฟเหาะตีลังกา

         2.2 กล้องแทนสายตาตัวละคร เป็นการเปลี่ยนสายตาของคนดูจากการเฝ้าแอบมองมาเป็นแทนสายตาในทันที ซึ่งคนดูก็ได้เห็นร่วมกันดับตัวละครหรือผู้แสดง เช่น ตัวละครมองออกไปนอกกรอบภาพ จากนั้นภาพตัดไปเป็นมุมแทนสายตาของตัวละคร การแพนช็อตหรือ traveling shot ในภาพยนตร์สารคดีส่วนใหญ่ กล้องมักทำหน้าที่แทนสายตาของคนดู

3. มุมมองใกล้ชิด (Point-of-view Camera Angles) มุมมองใกล้ชิดนี้มักเรียกง่าย ๆ ว่า มุมพีโอวี (POV) เป็นมุมกึ่งระหว่าง มุม objective และมุม subjective แต่อย่างไรก็ตาม เราก็ถือว่าเป็นมุม objective หรือมุมแอบมอง และส่วนใหญ่ขนาดภาพที่ใช้มักเป็นภาพระยะใกล้กับระยะปานกลาง เพื่อให้สามารถมองเห็นภาพแสดงออกของใบหน้าตัวละคร เห็นรายละเอียดชัดเจน

การใช้มุมพีโอวีนี้ อาจใช้สำหรับกรณีที่ต้องการให้คนดูเข้าไปมีส่วนในเหตุการณ์ด้วย นอกจากนี้การใช้มุมพีโอวี ยังมักตามหลังช็อตผ่านไหล่ หรือ over-the-shoulder (OS) คือเมื่อผู้แสดงคนหนึ่งจะเห็นด้านหลังเป็นพื้นหน้า และใบหน้าของผู้แสดงอีกคนหนึ่งอยู่พื้นหลังหรืออาจใช้ก่อนมุมแทนสายตาของนัก แสดง เป็นต้น

การใช้มุมกล้องต้องคำนึงถึงพื้นที่ (space) และมุมมอง (viewpoint) ซึ่งตำแหน่งของกล้องเป็นตัว กำหนดพื้นที่ว่าจะมีขอบเขตเพียงใดจากที่ซึ่งคนดูมองเห็นเหตุการณ์ ซึ่งต้องสัมพันธ์กันทั้งหมด ทั้งขนาดภาพ มุมมอง และความสูงของกล้อง

 

ลักษณะและขนาดของภาพ

1. ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS)

ได้แก่ ภาพที่ถ่ายภายนอกสถานที่โล่งแจ้ง มักเน้นพื้นที่หรือบริเวณที่กว้างใหญ่ไพศาล เมื่อเปรียบ เทียบกับสัดส่วนของมนุษย์ที่มีขนาดเล็ก ภาพ ELS ส่วนใหญ่ใช้สำหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลาและสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่แสดงความยิ่งใหญ่ของฉากหลัง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

2. ภาพระยะไกล (Long Shot /LS)

ภาพระยะไกล เป็นภาพที่ค่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดที่ไม่แน่นอนตายตัว บางครั้งเรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้อาจกินความตั้งแต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซึ่งเป็นภาพขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของฉากหลังและผู้แสดงมากขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเห็นผู้แสดงเต็มตัว ตั้งแต่ศีรษะจนถึงส่วนเท้า

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

3. ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS)

เป็นภาพที่เห็นรายละเอียด ของผู้แสดงมากขึ้นตั้งแต่ศีรษะจนถึงขา หรือหัวเข่า ซึ่งบางครั้งก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่เห็นตัวผู้แสดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กับฉากหลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ ในฉากนั้น

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

4. ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS)

ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดที่มีความหลากหลายและมีชื่อเรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณตั้งแต่หนึ่งในสี่ถึงสามในสี่ของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า Mid Shot หรือ Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตที่ใช้มากสุดอันหนึ่งภาพยนตร์

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

5. ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU)

เป็นภาพแคบ คลอบคลุมบริเวณตั้งแต่ศีรษะถึงไหล่ของผู้แสดง ใช้สำหรับในฉากสนทนาที่เห็นอารมณ์ความรู้สึกที่ใบหน้า ผู้แสดงรู้สึกเด่นในเฟรม บางครั้งเรียกว่า Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปั้นครึ่งตัว

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

6. ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU)

เป็นภาพที่เห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า ของผู้แสดง มีรายละเอียดชัดเจนขึ้น เช่น ริ้วรอยบนใบหน้า น้ำตา ส่วนใหญ่เน้นความรู้สึกของผู้แสดงที่สายตา แววตา เป็นช็อตที่นิ่งเงียบมากกว่าให้มีบทสนทนา โดยกล้องนำคนดูเข้าไปสำรวจตัวละครอย่างใกล้ชิด

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

7. ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU) 

เป็นภาพที่เน้นส่วนใด ส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพิ่มการเล่าเรื่องในหนังให้ได้อารมณ์มากขึ้น

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

ลักษณะของภาพที่ถ่าย

เพื่อบอกเนื้อหา หรือเรื่องราวของภาพและลักษณะภาพหรือธรรมชาติของภาพที่ถ่าย มีดังนี้

1. ภาพที่ถ่ายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view) หมายถึง ภาพถ่ายในลักษณะถ่ายจากมุมสูง เช่น จากเครื่องบิน เสมือนภาพแทนสายตานก ในบทโทรทัศน์นอกจากบอกว่า ตั้งกล้องมุมสูงแล้วจะต้องระบุด้วยว่าถ่ายจากเครื่องบิน

2. ภาพที่ถ่ายในระยะใกล้มาก (Big Close Up Shot) หมายถึง ภาพถ่ายในลักษณะใกล้มีขนาดใหญ่ เช่น ภาพคนเต็มหน้า หรือภาพบางส่วนของใบหน้าที่ต้องการเน้นเฉพาะ เช่น นัยน์ตา ปาก จมูก หรือบางส่วนของวัตถุ

3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot) หมายถึง ภาพถ่ายศีรษะกับหัวไหล่ทั้งสองของผู้แสดง

4. ภาพเอียง (Canted Shot) หมายถึง ภาพที่อยู่นอกเส้นดิ่งของภาพ ในบทโทรทัศน์มักจะบอกรายละเอียดเพิ่มเติม เช่น ภาพเอียง หรือภาพเฉียง ลักษณะใด

5. ภาพถ่ายข้ามไหล่ (Cross Shot) หมายถึง ภาพที่ถ่ายข้ามไหล่ด้านหลังอีกคนหนึ่งเป็นฉากหน้า และเห็นหน้าอีกคนหนึ่ง ในบทโทรทัศน์ใช้คำว่า X- Shot หรือถ่ายข้ามไหล่

6. ภาพเต็มตัว (Full Shot) หมายถึง ภาพผู้แสดงคนเดียว หรือหลายคนเต็มตัว โดยมีฉากหลังประกอบ

7. ภาพระดับเข่าของร่างกาย (Knee Shot) หมายถึง ภาพที่ถ่ายตั่งแต่ศีรษะลงไปจนถึงหัวเข่า หรือการถ่ายภาพตั่งแต่หัวเข่าลงไปถึงเท้า ซึ่งในบทโทรทัศน์ควรระบุให้ชัดเจน

8. ภาพถ่ายจากกระจกเงา (Mirror Shot) หมายถึง ภาพที่ถ่ายผู้แสดงจากภาพในกระจกเงา ซึ่งในบทโทรทัศน์ควรระบุให้ชัดเจนว่าเป็นภาพจากกระจกเงา

9. ภาพหมู่ (Group shot) หมายถึง ภาพในลักษณะรวมกันเป็นหมู่ หรือเป็นกลุ่มคน

10. ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัว (Two Shot / Double Shot ) หมายถึง ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัวในกรอบภาพเดียวดัน หันหน้าเข้าหากัน

หลักการกำหนดภาพ

1. ภาพแบบออฟเจคตีฟ (Objective Shot)

หมายถึง การถ่ายภาพในลักษณะแทนสายตาของผู้ชม หรือผู้สังเกตการณ์ ตำแหน่งของกล้องจะอยู่ทางด้านหน้าของนักแสดง

2. ภาพแบบซับเจคตีฟ (Subjective Shot)

หมายถึง การถ่ายภาพในลักษณะกล้องจะตั้งอยู่ในตำแหน่งแทนสายตาของผู้แสดง และกำกับมองดูการกระทำ เช่นเดียวกับที่ผู้แสดงมองเห็น ตัวอย่างที่ใช้กันบ่อยๆคือ ตั้งกล้องในมุมสูง ถ่ายภาพข้ามไหล่ผู้แสดงไปยังวัตถุที่กำลังแสดงอยู่

 

การเคลื่อนกล้อง

การเคลื่อนไหวกล้องในระหว่างการถ่ายทำจะช่วยเพิ่มความน่าสนใจและแสดงเรื่องราว ความหมายได้ดีนอกเหนือจากตัววัตถุเคลื่อนไหวหรืออาจเคลื่อนไหวทั้ง 2 อย่าง พร้อมๆ กัน การเคลื่อนไหวของกล้องมีหลาแบบ ดังนี้

1. การแพนกล้อง (Panning)

หมายถึง การเคลื่อนที่ของกล้องตามแนวนอนไปทางซ้าย (Pan left) หรือไปทางขวา (Pan right) เพื่อให้เห็นวัตถุตามแนวกว้าง หรือเมื่อต้องการนำผู้ชมไปยังจุดน่าสนใจ หรือที่ต้องการ
– เพื่อให้เห็นภาพที่อยู่นอกจดภาพในขณะนั้น
– เพื่อต้องการติดตามการเคลื่อนไหววัตถุ
– เพื่อให้เห็นปฏิกิริยาตอบโต้กัน
– เพื่อต้องการการเปลี่ยนฉาก

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

2. การทิ้ลท์ (Tilting)

หมายถึง การเคลื่อนกล้องตามแนวดิ่ง จากล่างขึ้นบน (Tilt Up) และจากบนลงล่าง (Tilt Down) เพื่อให้เห็นวัตถุตามแนวตั้งเช่น ภาพอาคารสูง หรือนำผู้ชมไปยังจุดที่ต้องการ
– เพื่อให้เห็นตำแหน่งที่ตั้งของสิ่งต่างๆ โดยสัมพันธ์กัน
– เพื่อให้เห็นวัตถุที่ยาวหรือสูงเกินรัศมี
– เพื่อต้องการปรับองค์ประกอบภาพ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

3. การซูม (Zooming)

หมายถึง การเปลี่ยนขนาดของวัตถุให้ใหญ่ขึ้น (Zoom In) หรือเปลี่ยนขนาดของวัตถุให้เล็กลง (Zoom Out)
– เพื่อต้องการเปลี่ยนขนาดของวัตถุอย่างช้าๆ
– เมื่อต้องการให้ผู้ชมสนใจวัตถุนั้น
– เมื่อต้องการให้เห็นวัตถุอย่างชัดเจน
– เพื่อให้บังเกิดผลที่น่าตื่นใจ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

4. การดอลลี่ (Dolling)

หมายถึง การเคลื่อนกล้องติดตาม ความเคลื่อนไหวของสิ่งที่ถ่าย หรือฉากที่มีระยะทางยาวในทิศทางตรง หรือทางอ้อมไปรอบๆ การเคลื่อนไหวกล้องเข้าหาวัตถุ เรียกว่า Dolly in และการเคลื่อนไหวกล้องออกจากวัตถุ เรียกว่า Dolly out ผลของการดอลลี่ (Dolly) จะคล้ายซูม (Zoom) คือขนาดของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงไปตาระยะของการดอลลี่ แต่จะแตกต่างกันตรง ส่วนประกอบต่างๆในภาพเกี่ยวกับระยะทางระหว่างวัตถุกับฉากหน้าและฉากหลัง จะเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของกล้อง คนดูจะสามารถรู้ถึงมิติของความลึกมากกว่าภาพที่เกิดจากการซูม
– เพื่อสร้างความตื่นเต้น
– เมื่อต้องการติดตามการเคลื่อนไหว
– เพื่อให้มีมุมมองภาพที่หลากหลายแบบ
– เมื่อต้องการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบภาพ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

5. การทรัค (Trucking / Tracking)

หมายถึง การเลื่อนไหวกล้องไปด้านซ้ายให้ขนานกับวัตถุไปทางซ้าย เรียกว่า Trucking left หรือไปทางขวา เรียกว่า Trucking right ซึ่งผลจะคล้ายกับการแพน แต่การทรัคจะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมิติเรื่องความลึกของ ภาพได้ดีกว่า คล้ายๆ กับความรู้สึกของเราที่มองออกไปนอกหน้าต่างรถขณะที่เคลื่อนที่ไป

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

6. การอาร์ค (Arking)

หมายถึง การเคลื่อนไหวกล้องในแนวเฉียงเป็นรูปครึ่งวงกลม ไปทางซ้าย (Ark left) หรือ ไปทางขวา (Ark right) เพื่อเปลี่ยนมุมกล้องไปทางด้านข้างของวัตถุ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

7. การบูม หรือเครน (Booming / Craning)

หมายถึง การถ่ายภาพพร้อมกับขาตั้งกล้องในแนวตั้ง เรียกว่า ‘บูม’ ถ้าเคลื่อนขึ้น เรียกว่า Boom Up ส่วนเลื่อนลง เรียกว่า Boom Down และถ้าเคลื่อนกล้องขึ้นลงโดยใช้เครน เรียกว่า Crane Up และ Crane Down เมื่อต้องการเคลื่อนกล้องลงด้วยเครน วัตถุประสงค์เพื่อต้องการคงมุมกล้องที่ต้องการจากมุมสูงและต่ำอย่างต่อเนื่อง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4

8. สติลช็อต (Still Shot)

หมายถึง การถ่ายภาพโดยไม่เคลื่อนกล้อง ใช้มากในการถ่ายทำรายการทั่วไป โดยปกติกล้องจะโฟกัสอยู่บนวัตถุหรือบุคคลที่ต้องการออกอากาศมากที่สุด ในการถ่ายแบบนี้จำเป็นต้องจัดองค์ประกอบภาพให้ดี