แบบทดสอบ เรื่อง การเมือง การปกครอง ม. 4

9 เพราะเหตุใด ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี รัฐบาลส่วนใหญ่สามารถดำรงตำแหน่งจนครบวาระได้

10 ระบบสองสภา มีสภาอะไรบ้าง

11 ระบอบประชาธิปไตยในระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา ประธานาธิบดีอยู่ในฐานะใด?

12 ระบอบประชาธิปไตยในระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา คณะรัฐมนตรีีที่มาจากอะไร

13 โดยทั่วไปแล้ว รัฐสภาจะมาจากสิ่งใด

15 ระบอบเผด็จการ แบ่งได้เป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

16 ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของการปกครองระบอบเผด็จการแบบอำนาจนิยม

17 ในระบอบเผด็จการแบบอำนาจนิยม ข้อใดเปรียบเสมือนกฎหมายที่ใช้ปกครองบ้านเมือง

18 ข้อใดไม่ใช่หลักของระบอบการปกครองแบบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ

19 คำคมที่ถือเป็นหลักสำคัญของระบอบเผด็จการแบบฟาสซิสต์ คือข้อใด

20 ระบอบเผด็จการแบบคอมมิวนิสต์ เกิดขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์ใด

21 ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะของระบอบเผด็จการ

22 ทุกระบอบการปกครองในโลก ล้วนมีจุดหมายสำคัญคือข้อใด

23 ปัจจุบันกระแสโลกสากลให้การยอมรับการปกครองระบอบใด ว่าเป็นการปกครองที่ดีและเหมาะสมที่สุด

24 พิสิฐกำลังแต่งกลอนเกี่ยวกับประเทศที่ปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี แสดงว่าพิสิฐ กำลังแต่งกลอนเกี่ยวกับประเทศใด

25 พรนภัสกับอติวิชญ์ต้องการไปฮันนีมูนที่ประเทศที่ปกครองระบอบเผด็จการแบบเบ็ดเสร็จ ซึ่งมีเพียงประเทศเดียวในปัจจุบันเท่านั้น แสดงว่าพรนภัสกับอติวิชญ์ต้องการไปฮันนีมูนที่ประเทศใด

แบบทดสอบท้ายหน่วยเศรษฐศาสตร์

ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด

  1. การปกครองระบอบประชาธิปไตยให้ความสำคัญในเรื่องใดมากกว่าการปกครองระบอบเผด็จการ

    1.   ?    ก. ขั้นตอนการบริหารราชการ
    2.   ?    ข. กระบวนการบริหารประเทศ
    3.   ?    ค. การใช้อำนาจในการปกครอง
    4.   ?    ง. การสรรหาบุคคลมาเป็นผู้นำประเทศ
  2. ข้อใดคือลักษณะที่สำคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย

    1.   ?    ก. พรรคการเมืองมีจำนวนมากพรรค
    2.   ?    ข. ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพเต็มที่
    3.   ?    ค. ประชาชนต้องเลือกตั้งผู้แทนราษฎรโดยตรง
    4.   ?    ง. การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย
  3. รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตยต้องเคารพสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนในเรื่องใด

    1.   ?    ก. สิทธิเสมอกันในด้านการศึกษาเล่าเรียน
    2.   ?    ข. สิทธิเสรีภาพในการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นของตน
    3.   ?    ค. เสรีภาพในการชุมนุมและการรวมกลุ่มอย่างเปิดเผยโดยไม่จำกัดเวลา
    4.   ?    ง. สิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในชีวิต เสรีภาพในการพูด การเขียน การแสดงความคิดเห็น
  4. ประเทศใดมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข

    1.   ?    ก. ฟิลิปปินส์ ฝรั่งเศส
    2.   ?    ข. อังกฤษ เนเธอร์แลนด์
    3.   ?    ค. เบลเยียม เดนมาร์ก
    4.   ?    ง. นอร์เวย์ สวีเดน
  5. การนำหลักประชาธิปไตยมาใช้ในการเมืองการปกครองจะทำให้เกิดลักษณะเด่นชัดในข้อใด

    1.   ?    ก. ประชาชนมีเสรีภาพมากที่สุด
    2.   ?    ข. ประชาชนทุกคนไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
    3.   ?    ค. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายบริหารบ้านเมือง
    4.   ?    ง. ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้นส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดี


1. ข้อใด ไม่ใช่ องค์ประกอบของรัฐ


2. พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีประโยชน์ต่อคนไทยอย่างไร


3. ข้อใดเกี่ยวข้องกับประชาธิปไตยโดยประชาชน


4. ข้อใดคือฐานะของพระมหากษัตริย์ไทยที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ


5. การเลือกตั้งมีความสำคัญต่อประเทศชาติอย่างไร


6. ประเทศไทยมีรูปแบบของรัฐในข้อใด


7. อำนาจใดใช้ในการพัฒนาประเทศ



9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับความเสมอภาคทางเศรษฐกิจ


10. รัฐมีแนวนโยบายด้านการต่างประเทศตามข้อใด


ชื่อ-นามสกุล :ชั้น :เลขที่ :ได้คะแนน :คิดเป็น :ผลการสอบ :

แบบทดสอบ เรื่อง การเมือง การปกครอง ม. 4
แบบทดสอบ เรื่อง การเมือง การปกครอง ม. 4

                              แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

                                 เรื่อง  การเมืองการปกครอง

1.  การปกครองตนเองของประชาชนระบอบประชาธิปไตย  เริ่มปรากฏขึ้นตั้งแต่เมื่อไร
      ก.  สมัยกลาง                                               ข.  สมัยโรมัน
      ค.  สมัยกรีกโบราณ                                        ง.  สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
2.  หลักการใดบ้างสอดคล้องกับการปกครองแบบประชาธิปไตย
      ก.  หลักเอกภาพ                                           ข.  หลักนิติธรรม
      ค.  หลักเหตุผลแห่งรัฐ                                      ง.  หลักการกระจายอำนาจ
3.  วิธีการได้มาซึ่งบุคคลในตำแหน่งใดมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนระหว่างประเทศที่ใช้ระบบรัฐสภาและระบบ
     ประธานาธิบดี
      ก.  สมาชิกวุฒิสภา                                         ข.  หัวหน้าฝ่ายบริหาร
      ค.  หัวหน้าฝ่ายตุลาการ                                    ง.  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
4.  ข้อใดเป็นเครื่องบ่งชี้ว่าประเทศมีลักษณะเป็นสาธารณรัฐหรือไม่
      ก.  ประชากรในรัฐ                                         ข.  ระบบเศรษฐกิจ
      ค.  ประมุขของประเทศ                                    ง.  ระบอบการปกครอง
5.  การปกครองแบบเผด็จการห้ามดำเนินการตามข้อใด
      ก.  การลงทุน                                               ข.  การเลือกตั้ง
      ค.  การประท้วง                                            ง.  การตั้งพรรคการเมือง
6.  จุดอ่อนในการบริหารประเทศตามระบอบเผด็จการ ตรงกับข้อใด
      ก.  มีค่าใช้จ่ายสูง                                           ข.  ดำเนินการยาก
      ค.  ขาดความเป็นเอกภาพ                                 ง.  เกิดความผิดพลาดได้ง่าย
7.  หลักการปกครองแบบเผด็จการ  ให้ความสำคัญต่อสิ่งใดน้อยที่สุด
      ก.  ความมั่นคงของรัฐบาล                                 ข.  ความจงรักภักดีต่อชาติ
      ค.  ความเสมอภาคในสังคม                                ง.  ความเป็นเอกภาพของรัฐ
8.  ระบอบเผด็จการเชื่อว่าประชาชนจะมีบทบาทอย่างไร
      ก.  แสดงความคิดเห็น                                      ข.    รับผิดชอบร่วมกัน
      ค.  มีส่วนร่วมในการปกครอง                              ง.    เชื่อฟังคําสั่งของรัฐเท่านั้น
9.  ข้อใดไม่ใช่ข้อเสียของระบบเผด็จการ
      ก.   อาจนําประเทศไปสู่ความพินาศได้
      ข.   ประชาชนถูกริดรอนสิทธิเสรีภาพ
      ค.   ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการดําเนินการปกครองมาก
      ง.   คนดีไม่มีโอกาสดํารงตําแหน่งทางการปกครอง
10.  สิ่งที่ทำให้ รัฐ ชาติ ประเทศ  มีความแตกต่างกัน คือข้อใด
      ก.  ดินแดน                                                       ข.  อาณาเขต
      ค.  รัฐบาล                                                  ง.  อำนาจอธิปไตย
11.   ฮ่องกง จัดเป็นรัฐหรือไม่  เพราะเหตุใด
      ก.  เป็นรัฐ  เพราะมีการปกครองตนเองอย่างอิสระ       ข.  เป็นรัฐ  เพราะมีดินแดนที่มีอาณาเขตแน่นอน
      ค.  ไม่เป็นรัฐ  เพราะไม่มีรัฐบาลเป็นของตนเอง           ง.  ไม่เป็นรัฐ  เพราะไม่มีอำนาจอธิปไตย 

12.  การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475  ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายประการ  ยกเว้นข้อใด
      ก.  รูปแบบของรัฐ                                          ข.  ผู้บริหารประเทศ
      ค.  ระบอบการปกครอง                                    ง.  เจ้าของอำนาจอธิปไตย
13.  ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข  ใครคือผู้ที่มีอำนาจสูงสุดของประเทศ
      ก.  รัฐบาล                                                  ข.  รัฐสภา
      ค.  ประชาชน                                              ง.  พระมหากษัตริย์
14.  สภาผู้แทนราษฎร  และสมาชิกวุฒิสภา  ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550  ประกอบด้วยสมาชิก
      จำนวนกี่คน
      ก.  ส.ส. 480  คน / ส.ว. 150  คน                       ข.  ส.ส. 480 คน / ส.ว. 200  คน
      ค.  ส.ส. 500  คน / ส.ว. 150  คน                       ง.  ส.ส. 500  คน / ส.ว. 200  คน
15.  พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติโดยผ่านทางสถาบันทางการเมืองใด
      ก.  ศาล                                                     ข.  รัฐสภา
      ค.  คณะรัฐมนตรี                                           ง.  คณะองคมนตรี
16.  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ของไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
      ก.  ทรงดำรงฐานะองค์อธิปัตย์แห่งรัฐ                     ข.  ทรงดำรงตำแหน่งสูงสุดของกองทัพ
      ค.  ทรงดำรงตำแหน่งฐานะประมุขแห่งพระศาสนา       ง.  ทรงดำรงตำแหน่งสูงสุดของฝ่ายบริหาร
17.  การกำหนดให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิออกเสียงประชามติ  เป็นการสนับสนุนแนวคิดในเรื่องใด
      ก.  การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน                             ข.  การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
      ค.  การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประเทศ               ง.  การกระจายอำนาจให้ประชาชนปกครองตนเอง
18.  การใช้หลักการใดก่อให้เกิดความยุติธรรมในสังคมได้ดีที่สุด
      ก.  หลักภราดรภาพ                                        ข.  หลักเสียงข้างมาก
      ค.  หลักการมีส่วนร่วม                                      ง.  หลักความเสมอภาค
19.  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี  ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
      ก.  จะดำรงตำแหน่งติดต่อกัน 2 วาระไม่ได้               ข.  จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 4 ปีไม่ได้
      ค.  จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 8 ปีไม่ได้               ง.  จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้
20.  ความมุ่งหวังที่สำคัญที่สุดของพรรคการเมือง คือข้อใด
      ก.  การได้เป็นผู้บริหารประเทศ                            ข.  การควบคุมการบริหารงานของรัฐ
      ค.  การรักษาผลประโยชน์ของพรรคการเมือง             ง.  การได้รับเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร