ดนตรีกับการประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ หมายถึงอะไร

   1. ด้านการศึกษา   นำเสียงดนตรีมาใช้ประกอบในการสอนแบบสร้างสรรค์ทางศิลปะผลปรากฏว่าเสียงดนตรีสามารถส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ เสริมสร้างความคิดจินตนาการ ช่วยกระตุ้นให้มีการแสดงออกในทางสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์ระหว่างประสาทหู กล้ามเนื้อมือ ให้สอดคล้องกับการใช้ความคิด ทำให้หายเหนื่อย และผ่อนคลายความตึงเครียด

Show

   2.ด้านการแพทย์  ใช้เสียงดนตรีกระตุ้นทารกในครรภ์มารดา ผลปรากฏว่าเด็กมีปฏิกิริยาตอบรับกับเสียงเพลง     ทั้งทางพฤติกรรมและร่างกายที่ดี  เสียงเพลงที่นุ่มนวลจะทำให้เด็กมีอาการสงบเงียบ ร่างกายเจริญเติบโตขึ้นและยังช่วยให้ระบบหายใจและระบบย่อยอาหารดีขึ้น

3. ด้านสังคม  มีการใช้จังหวะดนตรีมากำหนดควบคุมการทำงาน เพื่อให้เกิดความพร้อมเพรียง เช่นการพายเรือจังหวะยก-ส่งของ เป็นต้น  การใช้ดนตรีปลุกเร้าอารมณ์ให้เกิดความรัก ความสามัคคีในหมู่คณะ เช่นเพลงปลุกใจ เพลงเชียร์ เป็นต้น

  4.ด้านจิตวิทยา   ใช้เสียงดนตรีปรับเปลี่ยนนิสัยก้าวร้าวของมนุษย์ รักษาโรคสมาธิสั้น โดยเฉพาะเด็กจะทำให้มีสมาธิยาวขึ้น อ่อนโยนขึ้น โดยใช้หลักทฤษฎีอีธอส (Ethos) ของ  ดนตรี ซึ่งเชื่อว่าดนตรีมีอำนาจในการที่จะเปลี่ยนนิสัยของ มนุษย์  จนกระทั่งในบางกรณีสามารถรักษาโรคให้หายได้  ปัจจุบัน มีนักดนตรีบำบัดผู้ซึ่งมีความสามารถฟื้นฟูและบำบัดรักษาความเจ็บป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทำงานในด้านนี้

5. ด้านกีฬา ใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมกีฬา เช่น ยิมนาสติกกิจกรรมเข้าจังหวะ การเต้นแอโรบิค เป็นต้น  นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมต่างๆมากมาย ที่ใช้ดนตรีเป็นส่วนประกอบในการดำเนินการทั้งทางตรงและทางอ้อม  อาจกล่าวได้ว่าดนตรีเป็นส่วนประกอบที่ขาดเสียมิได้ในกิจกรรมของสังคมมนุษย์

ใช้เสียงดนตรีเพื่อสร้างบรรยากาศในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ ให้ดูศักดิ์สิทธิ์ เคร่งขรึม น่าเชื่อถือ   หรือสื่ออารมณ์ความรู้สึกที่ร่าเริง เบิกบาน สนุกสนาน ในงานเลี้ยงสังสรรค์ งานฉลองต่างๆ เป็นต้น

นอกจากนั้นยังเป็นการสร้างงาน อาชีพ ให้กับบุคคลในสังคมอย่างมากมายทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น นักดนตรี นักร้อง ครูสอนดนตรี นักประพันธ์เพลง นักผลิตรายการคอนเสิร์ต นักดนตรีบำบัด  ผู้อำนวยการเพลงหรือวาทยากร   นักเขียนทางดนตรี นักประดิษฐ์เครื่องดนตรี และผู้ซ่อมหรือปรับเสียงเครื่องดนตรี เป็นต้น

ที่มา : ไขแสง  ศุขะวัฒนะ,สังคีตนิยมว่าด้วย ดนตรีตะวันตก,พิมพ์ครั้งที่ 3,สำนักพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จำกัด,หน้า 1 – 3

ดนตรีประยุกต์ by

ดนตรีกับการประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ หมายถึงอะไร

1. ดนตรีกับการผ่อนคลาย

1.1. ช่วยผ่อนคลายความเครียด เหนื่อยล้า ทำให้รู้สึกร่าเริง มีความสุข

1.1.1. การเล่นเครื่องดนตรี

1.1.2. การฟังเพลง

2. ดนตรีกับการประชาสัมพันธ์

2.1. ทำให้การนำเสนอนั้นมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น

3. ดนตรีกับการบำบัดรักษา

3.1. บำบัดอาการและโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายแะจิตใจ

3.1.1. เช่น โรคกล้ามเนื้อเกร็ง

4. ดนตรีกับธุรกิจ

4.1. ตอบสนองให้ความสุขแก่ผู้ฟัง

4.1.1. การจัดแสดงคอนเสิร์ต

4.1.2. การขายอัลบั้มเพลง

5. ดนตรีกับการศึกษา

5.1. ทำให้จิตใจสงบเมื่อเรียน พัฒนาด้านสติปัญญา อารมณ์ และจิตใจของผู้เรียน

6. ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์

6.1. ด้านสติปัญญา

6.1.1. สมองปลอดโปร่ง มีสมาธิ

6.2. ด้านร่างกาย

6.2.1. นำมาประกอบการเล่นโยคะ เต้นแอโรบิก

6.3. ด้านจิตใจ

6.4. ด้านอารมณ์

6.4.1. การที่มีอารมณ์ร่วมกันไปกับเพลงนั้นๆ

6.5. ด้านสังคม

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ

การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ

ดนตรีกับการประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ หมายถึงอะไร

buddha,travel,music at buddha ,travel,music

การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ

  1. 1. การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ ดนตรีบำบัด จำกวิกิพีเดียสำรำนุกรมเสรี ดนตรีบำบัดหรือดุริยำงคบำบัดคือกำรวำงแผนในกำรใช้กิจกรรมทำงดนตรีควบคุมในกลุ่มของคนทุกวัยไม่ว่ำจะเป็นวัยเด็ก จนถึงวัยสูงอำยุเพื่อให้เกิดผลบรรลุในกำรรักษำโรคต่ำงๆที่เกิดมำจำกควำมบกพร่องต่ำงๆเช่นควำมผิดปกติทำงด้ำนอำรมณ์ ทำงร่ำงกำยและสติปัญญำ §ความหมายของดนตรี[แก้] ดูบทความหลักที่:ดนตรี ดนตรี คือลักษณะของเสียงที่ได้รับกำรจัดเรียบเรียงไว้อย่ำงเป็นระเบียบเรียบร้อยโดยมีแบบแผนและโครงสร้ำงชัดเจน สำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ได้ 3ด้ำนใหญ่ ๆคือเพื่อควำมสุนทรีย์,เพื่อกำรบำบัดรักษำและเพื่อกำรศึกษำ และเพื่อให้ร่ำงกำยได้รับควำมผ่อนคลำยสมองและสติปัญญำได้รับกำรผ่อนคลำย ดนตรีบำบัดถือว่ำเป้ นส่วนหนึ่งในกำรพัฒนำทำงด้ำนสมองและสติปัญญำ §ผลของดนตรีต่อร่างกายและจิตใจ[แก้] ดนตรีมีผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงของร่ำงกำยจิตใจและกำรทำงำนของสมองในหลำยๆด้ำน จำกกำรศึกษำวิจัยพบว่ำผลของดนตรีต่อร่ำงกำย สำมำรถทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงของอัตรำกำรหำยใจ,อัตรำกำรเต้นของชีพจร,ควำมดันโลหิต,กำรตอบสนองของม่ำนตำ, ควำมตึงตัวของกล้ำมเนื้อและกำรไหลเวียนของเลือดจึงมีกำรนำดนตรีมำประยุกต์ใช้ในกำรรักษำโรคภัยไข้ เจ็บทั้งร่ำงกำยและจิตใจเรียกกันว่ำดนตรีบำบัด(musictherapy) ประโยชน์ของดนตรีบำบัดมีหลำยประกำร เช่นช่วยปรับสภำพจิตใจให้อยู่ในสภำวะสมดุลมีมุมมองในเชิงบวก ผ่อนคลำยควำมตึงเครียดลดควำมวิตกกังวลกระตุ้นเสริมสร้ำงและพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ และควำมจำ กระตุ้นประสำทสัมผัสกำรรับรู้ เสริมสร้ำงสมำธิพัฒนำทักษะสังคมพัฒนำทักษะกำรสื่อสำรและกำรใช้ภำษำ พัฒนำทักษะกำรเคลื่อนไหวลดควำมตึงตัวของกล้ำมเนื้อลดอำกำรเจ็บปวดจำกสำเหตุต่ำงๆ ปรับลดพฤติกรรมที่ไม่เหมำะสมสร้ำงสัมพันธภำพที่ดีในกำรบำบัดรักษำต่ำงๆ และช่วยเสริมในกระบวนกำรบำบัดทำงจิตเวชทั้งในด้ำนกำรประเมินควำมรู้สึกสร้ำงเสริมอำรมณ์เชิงบวกกำรควบคุมตนเอง กำรแก้ปมขัดแย้งต่ำงๆและเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของครอบครัวมันดีต่อร่ำงกำยตรงที่ว่ำทำให้ร่ำงกำยผ่อนคลำย กำรใช้ดนตรีในงำนต่ำงๆ 1. ด้านการศึกษา นำเสียงดนตรีมำใช้ประกอบในกำรสอนแบบสร้ำงสรรค์ทำงศิลปะผลปรำกฏว่ำเสียงดนตรีสำมำรถส่งเสริ มพัฒนำกำรทำงอำรมณ์ เสริมสร้ำงควำมคิดจินตนำกำรช่วยกระตุ้นให้มีกำรแสดงออกในทำงสร้ำงสรรค์ ส่งเสริมให้มีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประสำทหูกล้ำมเนื้อมือให้สอดคล้องกับกำรใช้ควำมคิด ทำให้หำยเหนื่อย และผ่อนคลำยควำมตึงเครียด 2.ด้านการแพทย์ ใช้เสียงดนตรีกระตุ้นทำรกในครรภ์มำรดำ ผลปรำกฏว่ำเด็กมีปฏิกิริยำตอบรับกับเสียงเพลง ทั้งทำงพฤติกรรมและร่ำงกำยที่ดี เสียงเพลงที่นุ่มนวลจะทำให้เด็กมีอำกำร สงบเงียบร่ำงกำยเจริญเติบโตขึ้นและยังช่วยให้ระบบหำยใจและระบบย่อยอำหำรดีขึ้น
  2. 2. 3. ด้านสังคม มีกำรใช้จังหวะดนตรีมำกำหนดควบคุมกำรทำงำนเพื่อให้เกิดควำมพร้อมเพรียงเช่นกำรพำยเรือจังหวะยก- ส่งของ เป็นต้น กำรใช้ดนตรีปลุกเร้ำอำรมณ์ให้เกิดควำมรักควำมสำมัคคีในหมู่คณะเช่นเพลงปลุกใจเพลงเชียร์ เป็นต้น 4.ด้านจิตวิทยา ใช้เสียงดนตรีปรับเปลี่ยนนิสัยก้ำวร้ำวของมนุษย์รักษำโรคสมำธิสั้นโดยเฉพำะเด็กจะทำให้มีสมำธิยำวขึ้น อ่อนโยนขึ้นโดยใช้หลักทฤษฎีอีธอส(Ethos)ของ ดนตรี ซึ่งเชื่อว่ำดนตรีมีอำนำจในกำรที่จะเปลี่ยนนิสัยของ มนุษย์ จนกระทั่งในบำงกรณีสำมำรถรักษำโรคให้หำยได้ ปัจจุบัน มีนักดนตรีบำบัดผู้ซึ่งมีควำมสำมำรถฟื้นฟูและบำบัดรักษำควำมเจ็บป่วยทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจทำงำนในด้ำนนี้ 5. ด้านกีฬาใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมกีฬำเช่นยิมนำสติกกิจกรรมเข้ำจังหวะกำรเต้นแอโรบิค เป็นต้น นอกจำกนั้นยังมีกิจกรรมต่ำงๆมำกมำย ที่ใช้ดนตรีเป็นส่วนประกอบในกำรดำเนินกำรทั้งทำงตรงและทำงอ้อม อำจกล่ำวได้ว่ำดนตรีเป็นส่วนประกอบที่ขำดเสียมิได้ใน กิจกรรมของสังคมมนุษย์ ใช้เสียงดนตรีเพื่อสร้ำงบรรยำกำศในกำรประกอบพิธีกรรมต่ำงๆให้ดูศักดิ์สิทธิ์เคร่งขรึม น่ำเชื่อถือ หรือสื่ออำรมณ์ควำมรู้สึกที่ร่ำเริงเบิกบำนสนุกสนำนในงำนเลี้ยงสังสรรค์งำนฉลองต่ำงๆเป็นต้น นอกจำกนั้นยังเป็นกำรสร้ำงงำนอำชีพให้กับบุคคลในสังคมอย่ำงมำกมำยทั้งทำงตรงและทำงอ้อมเช่นนักดนตรี นักร้อง ครูสอนดนตรี นักประพันธ์เพลงนักผลิตรำยกำรคอนเสิร์ต นักดนตรีบำบัด ผู้อำนวยกำรเพลงหรือวำทยำกร นักเขียนทำงดนตรี นักประดิษฐ์เครื่องดนตรี และผู้ซ่อมหรือปรับเสียงเครื่องดนตรี เป็นต้น เมื่อเร็วๆนี้นักเรียนชั้นประถมศึกษำ 500,000คนจำกโรงเรียนประถม2,150 แห่งทั่วประเทศออสเตรเลียได้ร่วมกันร้องเพลงในโครงกำร Music:CountUs In ซึ่งอำจนับได้ว่ำเป็นกำรร้องเพลงร่วมกันที่ใหญ่ที่สุดในประวัติศำสตร์ โครงกำรนี้เป็นผลต่อยอดมำจำกรำยงำนรวบรวมผลกำรวิจัยหลำยฉบับที่สนับสนุนให้ผู้ปกครองออกมำผลักดันให้มีกำรเรียนกำ รสอนดนตรีในโรงเรียนต่ำงๆ ซึ่งมีโรงเรียนประถมของรัฐในออสเตรเลียจำนวนน้อยมำกที่มีหลักสูตรวิชำดนตรีที่ต่อเนื่องและได้มำตรฐำนตำมที่รำยงำนกำรวิ จัยดังกล่ำวระบุไว้ มีวิจัยหลำยฉบับได้ยืนยันว่ำดนตรีเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยพัฒนำกำรเรียนรู้ งำนวิจัยฉบับหนึ่งซึ่งตีพิมพ์ในวำรสำร TheJournal of Neuroscienceได้ศึกษำผู้ใหญ่ช่วงวัย50-70ปี จำนวน44 คน สรุปว่ำ อำสำสมัครที่เข้ำร่วมงำนวิจัยที่ได้เรียนดนตรีตั้งแต่เด็กนั้นมีพัฒนำกำรทำงสมองที่ดีต่อเนื่องยำวนำนจนกระทั่งเข้ำสู่วัยผู้ใหญ่ งำนวิจัยนี้ใช้วิธีตรวจกำรได้ยินในระดับก้ำนสมอง(Auditorybrainstemresponse)ผลกำรวิจัยพบว่ำ อำสำสมัครที่เล่นดนตรีในวัยเด็กตั้งแต่อำยุ4-14ปีมีกำรตอบสนองต่อเสียงที่ได้ยินไวกว่ำอำสำสมัครที่ไม่ได้เล่นดนตรี แม้จะไม่ได้เล่นดนตรีนำนร่วม40ปีแล้วก็ตำม ส่วนทำงด้ำนสหรัฐอเมริกำศำสตรำจำรย์ChrisBoyd Brewer กล่ำวไว้ในบทควำมที่ตีพิมพ์ในเว็บไซต์ของมหำวิทยำลัย JohnsHopkinsว่ำ ดนตรีช่วยให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนรู้ที่ดีขึ้นเนื่องจำกดนตรีมีคุณลักษณะที่เอื้อต่อกำรเรียนกำรสอนดังนี้
  3. 3. ทำให้เกิดสภำวะกำรเรียนรู้เชิงบวก สร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนรู้ที่พึงประสงค์ ช่วยให้เกิดทักษะกำรคำดกำรณ์ล่วงหน้ำ ทำให้กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนมีชีวิตชีวำขึ้น ปรับเปลี่ยนสภำวะของคลื่นสมอง เสริมสมำธิ เพิ่มควำมจำ ก่อให้เกิดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ผ่ำนประสำทสัมผัสทั้ง 5(Multisensory learningexperience) ช่วยคลำยควำมเครียด เสริมจินตนำกำร ประสำนควำมร่วมมือระหว่ำงกลุ่ม เสริมสร้ำงควำมปรองดอง ก่อให้เกิดแรงบันดำลใจและแรงจูงใจ ทำให้เกิดควำมสนุกสนำน สร้ำงสีสันให้บทเรียนที่มีแก่นเรื่องหลัก(Theme-orientedunit) นอกจำกนั้นดนตรียังเป็นสื่อกำรเรียนกำรสอนที่สำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ได้ดีกับทฤษฎีและแนวคิดกำรเรียนรู้ ต่ำงๆ ที่เป็นที่ยอมรับอย่ำงกว้ำงขวำงในวงกำรกำรศึกษำอีกด้วย ในตอนต่อไปผู้เขียนจะกล่ำวถึงทฤษฎีและแนวคิดกำรเรียนรู้ที่ใช้ได้ดีกับดนตรี 2ทฤษฎีด้วยกันคือทฤษฎี พหุปัญญำ (Multiple Intelligences)และแนวคิดกำรเรียนรู้เชิงเร่งรัด(Acceleratedlearning) และแนวทำงกำรนำดนตรีไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมกำรเรียนรู้ของเด็ก ดนตรีนั้นสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ในกำรเรียนกำรสอนได้ และนำมำเป็นสื่อกำรสอนตำมแนวคิดและทฤษฎีกำรเรียนรู้ได้เป็นอย่ำงดีช่วยให้สมองเกิดกำรเรียนรู้ได้รวดเร็ว ในตอนนี้ผู้เขียนจะพูดถึงแนวคิดและทฤษฎีกำรเรียนรู้ 2ทฤษฎี ซึ่งเมื่อปรับใช้กับดนตรีแล้วจะช่วยส่งเสริมกำรเรียนรู้ให้มีประสิทธิภำพยิ่งขึ้นดังนี้ 1. ทฤษฎีพหุปัญญำ(MultipleIntelligences) ในปี 1983 ศำสตรำจำรย์โฮเวิร์ดกำร์ดเนอร์ (HowardGardner)ผู้เชี่ยวชำญด้ำนจิตวิทยำจำกมหำวิทยำลัยฮำวำร์ด (Harvard University) ได้นำเสนอทฤษฎีพหุปัญญำที่เขำใช้เวลำศึกษำนำนหลำยปี ทฤษฎีนี้แย้งว่ำควำมฉลำด(Intelligence) นั้นไม่ได้เป็นองค์รวมหำกแต่แบ่งออกเป็น9 ด้ำนคือด้ำนมิติ ( visual-spatial) ด้ำนภำษำศำสตร์ (linguistic)ด้ำนตรรกะ (logical-mathematical)ด้ำนกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำย(bodily-kinesthetic)ด้ำนควำมสัมพันธ์ระหว่ำงบุคคล(interpersonal) ควำมฉลำดภำยในตน(intrapersonal)ด้ำนดนตรี (musical)ด้ำนธรรมชำติ(naturalist) และควำมฉลำดในกำรหยั่งรู้ระดับสติปัญญำขั้นสูง(ExistentialSpiritualIntelligence)
  4. 4. ดนตรีสำมำรถพัฒนำควำมฉลำดด้ำนต่ำงๆได้แทบทุกข้ออย่ำงมีประสิทธิภำพเมื่อเล่นดนตรี ควำมเข้ำใจในควำมสำมำรถด้ำนภำษำตรรกะ และกำรใช้พื้นที่จะได้รับกำรกระตุ้นอย่ำงเต็มที่จำกกำรอ่ำนโน้ตและจังหวะในกำรเล่นดนตรี เพรำะต้องสมองในหลำยส่วนทำงำนไปพร้อมๆกันเพื่อประมวลผลอย่ำงรวดเร็วว่ำตัวโน้ตที่กำลังอ่ำนอยู่คือโน้ตใด มีกำรกำหนดจังหวะอย่ำงไรและจะเล่นอย่ำงไรเพื่อสื่ออำรมณ์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับควำมฉลำดทำงด้ำนกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำย และทำงดนตรี เมื่อเล่นดนตรีร่วมกันเป็นวงจะพัฒนำควำมสำมำรถทำงมนุษย์สัมพันธ์และควำมเข้ำใจในตนเอง คือต้องเล่นในส่วนที่ตัวเองเล่นให้ดีที่สุดและเล่นให้เข้ำวงอย่ำงไรจึงจะไพเรำะส่วนระดับปัญญำขั้นสูงนั้น เกิดขึ้นได้เมื่อเล่นดนตรีซึ่งดนตรีช่วยให้เกิดสมำธิ 2. กำรเรียนรู้เชิงเร่งรัด(Acceleratedlearning-AL) ช่วงทศวรรษที่1960ดร.จอร์จิ โลซำนอฟ(GeorgiLozanov) และ ดร.อีเวลีนำกัทเทวำ(Evelyna Gateva) ได้ค้นคว้ำวิธีที่จะช่วยเพิ่มควำมจำด้วยวิธีกำรต่ำงๆรวมทั้งกำรนำดนตรีมำใช้ในชั้นเรียนซึ่งได้รับควำมสนใจเป็นอย่ำงมำก เทคนิคกำรสอนหลำยวิธีที่นำมำใช้ในชั้นเรียนในปัจจุบันเช่นกำรเรียนรู้ทำงอินเตอร์เน็ตกำรเรียนรู้ผ่ำนเกม กำรเรียนกำรสอนโดยใช้ดนตรีเป็นบรรยำกำศซึ่งเป็นกำรพัฒนำด้ำนกำรเรียนรู้ผ่ำนประสำทสัมผัสทั้ง 5 ล้วนก่อกำเนิดมำจำกงำนวิจัยของผู้เชี่ยวชำญทั้งสองท่ำนนี้ กำรสร้ำงบรรยำกำศกำรเรียนรู้แบบAL ซึ่งจะบรณำกำรควำมรู้ทั้งหลำยคือPhysical Environmentหรือ สภำพแวดล้อมในกำรเรียนเช่นอุณหภูมิและแสงสว่ำงในห้องเรียนกำรจัดที่นั่งMusicหรือกำรใช้เสียงดนตรี เพื่อให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลำยและเกิดควำมสนใจPeripheralsสิ่งที่อยู่รอบๆเช่นโปสเตอร์ ภำพที่ติดในชั้นเรียน Teacher/ Facilitatorหรือผู้สอน/ ฝึกสอนควรใช้น้ำเสียง(แหลมทุ้ม ดัง หรือค่อย)เพื่อเน้นถึงควำมสำคัญของเนื้อหำที่ต้องกำรนำเสนอ Positive Atmosphere หรือบรรยำกำศที่เอื้อต่อกำรเรียนรู้ เช่นบรรยำกำศที่เป็นมิตรหรือบรรยำกำศที่สนุก Art and Dramaหรือกำรแสดงออกไม่ว่ำจะเป็นกำรแต่งตัวกำรเล่นละครที่นำมำใช้เพื่อให้เกิดกำรเรียนรู้ สุดท้ำยคือActive and Passive Concerts กล่ำวคือActive Concertจะใช้กำรกระตุ้นให้ผู้เรียนตื่นตัวในกำรเรียนรู้ ส่วน Passive Concertจะเป็นกำรใช้เสียงเพลงหรือเทคนิคกำรสอนที่ให้ผู้เรียนรู้สึกผ่อนคลำย ซึ่งทั้งสองแบบจะทำให้ผู้เรียนมีควำมจำดีขึ้น จำกตอนที่ผ่ำนมำนั้นจะเห็นได้ว่ำดนตรีเป็นประโยชน์ต่อกำรเรียนรู้ศำสตร์ต่ำงๆมำก แม้ในแนวคิดและทฤษฎีกำรเรียนกำรสอนที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปยังมีกำรนำดนตรีเข้ำมำใช้เพื่อพัฒนำกำรเรียนรู้ ในตอนที่ 3 นี้ผู้เขียนจะกล่ำวถึงแนวทำงที่พ่อแม่ผู้ปกครองจะนำดนตรีมำประยุกต์ใช้เพื่อให้ลูกมีพัฒนำกำรทำงกำรเรียนรู้ สำหรับวัยทำรก ดนตรีช่วยให้พ่อแม่สื่อสำรกับลูกน้อยได้ดีขึ้นทำให้ลูกรู้สึกปลอดภัยและคลำยกังวล สิ่งแรกที่พ่อแม่ทำเพื่อนำให้ลูกน้อยรักเสียงเพลงคือร้องเพลง ไม่ต้องกังวลว่ำจะร้องเพี้ยนเพรำะทำรกชอบเสียงของพ่อแม่เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ระหว่ำงร้องเพลงให้สบตำลูกด้วย เมื่อลูกเริ่มส่งเสียงอ้อแอ้ ให้พ่อแม่ลองเลียนแบบเสียงลูกโดยทำเสียงให้ใกล้เคียงเสียงดนตรี ทำรกที่โตขึ้นอีกนิดอำจเลียนเสียงที่พ่อแม่ทำเป็นทำนองดนตรีได้
  5. 5. อำจลองบอกเวลำให้ลูกรักรับรู้ด้วยเสียงดนตรี พ่อแม่อำจลองแต่งเพลงที่บอกว่ำถึงเวลำอำบน้ำรับประทำนอำหำรหรือนอน เทคนิคนี้อำจช่วยให้ลูกเรียนรู้เวลำตั้งแต่ยังเล็กด้วยวิธีที่ผ่อนคลำย ทำเสียงดังในบ้ำนบ้ำงให้ลูกถือลูกแซ็กสำหรับเขย่ำหรือของที่มีเสียงเพื่อให้ลูกได้ทำเสียงดนตรีเอง ให้ลูกเคลื่อนไหวตำมเสียงเพลงพ่อแม่อำจจับให้ลูกโดดขึ้นลงขณะที่ร้องเพลงให้ฟัง หรือจับมือลูกเคำะตำมจังหวะเพื่อให้ลูกรับรู้ถึงจังหวะด้วยก็ได้ สำหรับวัยเตำะแตะ เพลงและเกมดนตรีสำมำรถเพิ่มคลังคำศัพท์ให้แก่เด็กได้ ทั้งยังสอนให้เด็กเรียนรู้ที่จะให้ควำมร่วมมือ และประสำนกำรทำงำนระหว่ำงร่ำงกำยและจิตใจอีกด้วย หำของที่เคำะได้และไม่เป็นอันตรำยกับเด็กให้ลูกเล่นเช่นช้อนไม้ หม้อเบำๆ แล้วให้ลูกเคำะเล่นเพื่อทำให้เกิดเสียง ลูกจะได้เรียนรู้เรื่องของจังหวะเสียงดัง-เบำและควำมยำวของเสียง หำเพลงใหม่ๆเด็กวัยเตำะแตะชอบเพลงที่จบแบบหักมุมเช่นเพลง PopGoesthe Weaselและเพลงที่ช่วยเรื่องควำมจำเช่น OldMacDonald และBingo และอำจร่วมร้องด้วยเมื่ออำยุ2ขวบ ร้องผิดๆถูกๆเมื่อลูกรู้จักเนื้อเพลงแล้วพ่อแม่ลองตั้งใจร้องผิดเป็นบำงคำบ้ำงลูกจะตื่นเต้นและช่วยแก้ไขให้ถูกต้อง พำไปชมกำรแสดงดนตรีสำหรับเด็กเพื่อให้ลูกได้ฟังดนตรีที่เล่นสดบ้ำงจะสังเกตได้ว่ำ ดนตรีนั้นสำมำรถใช้เป็นสื่อในกำรพัฒนำลูกน้อยในด้ำนต่ำงๆได้หลำกหลำย ทั้งยังช่วยให้บรรยำกำศระหว่ำงสมำชิกในครอบครัวเป็นกันเองและผ่อนคลำยมำกขึ้นในตอนหน้ำ ผู้เขียนจะกล่ำวถึงแนวทำงกำรใช้ดนตรีพัฒนำลูกน้อยวัยก่อนเข้ำเรียนและวัยเรียนต่อไป สำหรับวัยก่อนเข้ำเรียน ควรให้ลูกในวัยนี้มีโอกำสได้เต้นและเคลื่อนไหวและคอยถำมว่ำเพลงแต่ละเพลงทำให้ลูกรู้สึกอย่ำงไรบ้ำง ให้ลูกเคำะจังหวะตำมพ่อแม่ลองเคำะจังหวะที่หน้ำขำหรือท้องแล้วให้ลูกเคำะจังหวะตำมหรือเคำะโต๊ะ หรือจำกพลำสติกเข้ำด้วยกันเหมือนเล่นฉำบ เล่นละครเปิดเพลงคลำสสิกแล้วให้ลูกแสดงให้ตรงกับอำรมณ์ของเพลงเช่นถ้ำเป็นเพลงเร็วลูกอำจแสดงเป็นม้ำ แล้วล้มตัวนอนในตอนจบที่เพลงมีจังหวะช้ำลง ให้ลูกลองเล่นเครื่องดนตรีเองให้ได้สัมผัสและเล่นเครื่องดนตรีของจริง จะเป็นขนำดเท่ำที่ผู้ใหญ่เล่นหรือขนำดเล็กสำหรับเด็กก็ได้ ให้ลูกลองดูว่ำเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่งสำมำรถเล่นได้กี่วิธี เล่นเกม“กระซิบและตะโกน”ให้ลูกร้องเพลงเดียวกันสองอำรมณ์ ครั้งแรกให้ร้องประหนึ่งว่ำเขินอำยอีกครั้งให้ร้องแบบมีพลัง ลูกจะมีควำมมั่นในในกำรร้องมำกขึ้น ไปชมกำรแสดงดนตรีคลำสสิกพำลูกไปดูกำรแสดงดนตรีคลำสสิกจริงๆบ้ำงลูกจะได้เรียนรู้ว่ำเมื่อเล่นเป็นวงแล้ว เสียงเครื่องดนตรีแต่ละเครื่องจะเป็นอย่ำงไรและหำกได้รับอนุญำตจำกนักดนตรี ให้ลูกได้มีโอกำสขึ้นไปดูเครื่องดนตรีหลังจำกที่กำรแสดงจบแล้ว สำหรับเด็กวัยเรียน เมื่อถึงวัยเข้ำชั้นประถมศึกษำลูกจะเริ่มมีแนวดนตรีที่ชอบแล้วและพร้อมที่จะเริ่มหัดเรียนเครื่องดนตรี
  6. 6. เปลี่ยนสถำนีวิทยุให้ลูกได้ฟังเพลงหลำกหลำยแนวเพื่อให้ลูกเรียนรู้ว่ำมีดนตรีหลำยแนว และช่วยให้ลูกเลือกแนวที่ชอบได้ง่ำยขึ้น หัดร้องเพลงให้ลูกร้องเพลงให้ฟังเป็นประจำ มีส่วนร่วมเมื่อลูกเริ่มหัดเล่นเครื่องดนตรี ให้พ่อแม่ตั้งใจฟังเวลำที่ลูกฝึกซ้อมส่งเสริมให้ลูกมีสมำธิและหมั่นชมเชย ให้อิสระ จัดตำรำงกำรฝึกซ้อมให้ลูกแต่ให้ลูกเลือกว่ำจะซ้อมอะไรก่อน เน้นเรื่องพัฒนำกำรไม่ใช่ควำมสมบูรณ์แบบไม่เร่งรัดลูกจนเกินไป ให้ลูกได้ลองแต่งเพลงเองให้ลูกได้ลองแต่งเพลงเองโดยพ่อแม่เป็นคนจดเนื้อเพลงหรือโน้ตแล้วจัดเก็บไว้ในแฟ้ ม เพื่อที่ลูกจะได้สะสมผลงำนของตัวเอง พ่อแม่ลองนำแนวทำงเหล่ำนี้ไปปรับใช้ตำมวัยของลูกจะเป็นผลดีต่อกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ของลูกได้ดีทีเดียว

การนําดนตรีไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ แสดงให้เห็นถึงสิ่งใด

ดนตรีบำบัดรักษา คือ การนำดนตรีไปประยุกต์ใช้ในการรักษาโรคต่างๆ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ เป็นการปรับสภาพสิ่งที่ผิดปกติให้เกิดความสมดุลและกลับมาสู่สภาพปกติ เช่น อาการกล้ามเนื้อ เกร็งตัว ก็นดนตรีมาช่วยกระตุ้นให้คลายตัว หรือเกิดความวิตกกังวล ก็นำดนตรีมาช่วยลดความตึงเครียด และความกังวลลงได้

หัวข้อดนตรีกับการประยุกต์ใช้มีกี่ประเภท

ดนตรีไทยกับการประยุกต์ใช้.
ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์ ... .
ดนตรีไทยกับการผ่อนคลาย ... .
ดนตรีกับการบำบัดรักษา ... .
ดนตรีกับการศึกษา ... .
ดนตรีกับการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ... .
ดนตรีกับธุรกิจ.

สามารถนำดนตรีไปประยุกต์ใช้อะไรในชีวิตได้บ้าง

ดนตรีคือชีวิต ดนตรี กับศาสนา และพิธีกรรม ในศาสนา และพิธีกรรมตามความเชื่อของ แต่ล่ะบุคคล ดนตรีได้ถูกนำมาใช้ เช่น ใช้ในบทสวด หรืออธิษฐานขอพร การบวงสรวง บูชา ปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย ใช้ทำสมาธิ และใช้เป็นส่วนประกอบของพิธีการต่างๆ เช่น การเปิดงาน ปิดงาน

นักเรียนสามารถนำดนตรีมาประยุกต์ใช้กับการเรียนในวิชาอื่นๆ ได้หรือไม่ อย่างไร

เนื่องจากดนตรีเป็นสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเรา นักเรียนสามารถนำความรู้ทางดนตรีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตัวเราด้านต่าง ๆ ได้ เช่น ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ด้านสติปัญญา ด้านจิตใจ ด้านสังคม เป็นต้น นอกจากนี้นักเรียนสามารถนำความรู้ทางดนตรีไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น ๆ ได้อีกด้วย เช่น