พระ ราช ประวัติ ใน สมัย รัตนโกสินทร์

���¡�ا�ѵ���Թ�������繻���ѵ���ʵ�����Ӥѭ�ҡ��ǧ˹��㹻���ѵ���ʵ���� ����ѵ���ʵ�������ѵ���Թ����� ����仨����¶֧��ǧ���������ҧ �.�. 2325-2475 ������¡��ǧ������ѧ�ҡ��û���¹�ŧ ��û���ͧ ������ѹ��� 24 �Զع�¹ �.�. 2475 ���֧�Ѩ�غѹ��� ����ѵ���ʵ���������� ���ͻ���ѵ� ��ʵ�����ؤ ��ЪҸԻ�� ���������� ������Ҿ������ҡ�ѵ�����֡���Ѻ���ʹѺʹع�ҡ�ع�ҧ ��л�ЪҪ�����Һ�� ���ɡ����繻����ѵ��������Ҫǧ��ѡ�� ����վ����ҡ�ѵ�����׺�ѹ��ǧ�� ���ӴѺ�Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ��� 9 ���ͧ��
����ѡɳ��ѧ�� ���Ẻ���ҧ��ا�����ظ��
����ѡɳ����ɰ�Ԩ �����ͧ�蹴Թ��ҡ�����ҡ�㹻����������բ����
�����ҹ����֡�� ��кҷ���稾�оط��������ҹ����� �ô������ҧ�ç�ҹ�������繷����� ����������ԡ������� �ʴ������ȹ� ����� �繷�����Ҫ�ҹ��Ѿ���褹��� ���ҡ�� ���ԡ�� ����� �͡�ҡ����ѧ�����ç���¹ �͹˹ѧ��� �֧�Ѻ������ç�ҹ����ç���¹��ǧ ����á
�����ҹ�Ѳ����������Ż���� ��кҷ���稾�оط��ʹ��Ҩ����š�ç�ô������Ϳ�� �Ѳ����� ���ླյ�ҧ � �� ����Ҫ�Ըպ���Ҫ����ɡ ����Ҫ�Ը��ʡѳ�� (⡹�ء) �������ѡ��
��ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ���ѵ���Թ���
1. ��ѡ�ҹ��鹵� �� ����Ҫ����Ǵ�á�ا�ѵ���Թ��� ˹ѧ��ͻ�Ъ������Ǵ�� ��Ъ�� �����Ѻ��������ѵ���Թ��� �������˵� �����µ������ǧ ��Ъ����С���Ѫ��ŷ�� 4 ����Ҫ�Ԩ�� ��ມ�� ����Ҫ�ѵ��Ţ�
2. ��ѡ�ҹ����ͧ����Ӥѭ � ���� ��������к���ҪҸԺ�� ��ó��������ҳ��� ��Ъ�� ��������Ҫ�Ծ����кҷ���稾�Ш���������������� ��о���Ҫ�Ծ����кҷ���� ������Ш�Ũ������ ���������� �����駪�������йԾ�������Һ��ǧ�������稾���Ҵ�ç�Ҫҹ��Ҿ ������繨ӹǹ�ҡ ��� �ç�س��ҷ���Ӥѭ ���� ��ú���� ����Ժ�� �����ç�� �����ѷ�Ը���������ҧ � �Էҹ��ҳ��� ��� ��ѡ�ҹ����Ӥѭ��� � ���� ˹ѧ��;������� ������������������ �� Bangkok Calendar Bangkok Recorder Bangkok Time ������������ �͡�ҡ�������ѡ�ҹ���˹ѧ��ͫ����¹�ª�ǵ�ҧ����� �� �͡��âͧ �����ι��������� ���칤������ ����� �ҡ�� ��ૹ�� ����� �ѹ�֡����ѹ�ͧ �������������� ���˹ѧ��� ���������ͧ��ا����� �ͧ ��� �š�ǫ� ���

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

2. การปฏิรูประบบราชการ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราระเบียบการปกครองขึ้นใหม่ แยกหน่วยราชการออกเป็นกรมกองต่าง ๆ มีหน้าที่รับผิดชอบเฉพาะไม่ก้าวก่ายกันจากเดิมมี 6 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย, กระทรวงกลาโหม, กระทรวงนครบาล, กระทรวงวัง, กระทรวงการคลังและกระทรวงเกษตราธิการ ได้เพิ่มอีก 4 กระทรวง รวมเป็น 10 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงธรรมการ มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับกิจการของพระสงฆ์และการศึกษา, กระทรวงยุติธรรม มีหน้าที่ดูแลเกี่ยวกับคดีความที่ต้องตัดสินต่าง ๆ , กระทรวงโยธาธิการ มีหน้าที่ดูแลตรวจตราการก่อสร้าง การทำถนน ขุดลอกคูคลอง งานที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง และกระทรวงการต่างประเทศ มีหน้าที่ดูแลงานที่เกี่ยวข้องกับการต่างประเทศ

3. การสาธารณูปโภค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินไปขุดดินก่อพระฤกษ์เพื่อประเดิมการสร้างทางรถไฟไปนครราชสีมา แต่ทรงเปิดทางรถไฟกรุงเทพฯ-พระนครศรีอยุธยาก่อน จึงนับว่าเส้นทางรถไฟสายนี้เป็นทางรถไฟแห่งแรกของไทย นอกจากนี้ได้โปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานและถนนอีกมากมาย คือ ถนนเยาวราช ถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินนอก ถนนดินสอ ถนนบูรพา ถนนอุณากรรณ เป็นต้น และโปรดให้ขุดคลองต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางคมนาคมและส่งเสริมการเพาะปลูก การสาธารณสุขเนื่องจากการรักษาแบบยากลางบ้านไม่สามารถช่วยคนได้อย่างทันท่วงที จึงพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จำนวน 200 ชั่ง โปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงพยาบาลวังหลังต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "โรงพยาบาลศิริราช" เปิดทำการรักษาประชาชนเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2431 การไฟฟ้าพระองค์ทรงมอบหมายให้กรมหมื่นไวยวรนาถ เป็นแม่งานในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าและสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับประชาชนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2433 การไปรษณีย์โปรดให้เริ่มจัดขึ้นในปี พ.ศ. 2424 รวมอยู่ในกรมโทรเลขซึ่งได้จัดขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2412 โดยโทรเลขสายแรกคือ ระหว่างจังหวัดพระนคร (กรุงเทพมหานคร) กับจังหวัดสมุทรปราการ

4. การเสด็จประพาส การเสด็จประพาสเป็นพระราชกรณียกิจที่สำคัญอย่างหนึ่งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหลังจากเกิดกรณีพิพาทกับฝรั่งเศสแล้ว ก็ได้เสด็จประพาสยุโรป 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2440 ครั้งหนึ่งและในปี พ.ศ. 2450 อีกครั้งหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ในยุโรปตลอดจนประเทศฝรั่งเศสด้วย อีกทั้งยังได้ทรงเลือกสรรเอาแบบแผนขนบธรรมเนียมอันดีในดินแดนเหล่านั้นมาปรับปรุงในประเทศให้เจริญขึ้น ในการเสด็จประพาสครั้งแรกนี้ได้ทรงมีพระราชหัตถเลขาตลอดระยะทางถึงสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ (ซึ่งต่อมาได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชเทวี) ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน พระราชหัตถเลขานี้ต่อมาได้รวมเป็นหนังสือเล่มชื่อ "พระราชนิพนธ์เรื่องไกลบ้าน" ให้ความรู้อย่างมากมายเกี่ยวกับสถานที่ต่าง ๆ ที่เสด็จฯ

5. การศึกษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความสำคัญของการศึกษา จึงโปรดให้สร้างโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง คือ "โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก" ก่อนจะเปลี่ยนชื่อเป็น "โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ" ต่อมาโปรดให้ตั้งโรงเรียนหลวงสำหรับราษฎรขึ้นเป็นแห่งแรก คือ "โรงเรียนวัดมหรรณพาราม" และในที่สุดได้โปรดให้จัดตั้งกระทรวงธรรมการขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2435 (ปัจจุบันคือกระทรวงศึกษาธิการ) เพื่อดูแลเรื่องการศึกษาและการศาสนา

1. ด้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พระองค์ทรงใช้ประสบการณ์และแนวพระราชดำริ โครงการหลวงในการพัฒนาและวิจัย พระราชทานทุนการศึกษาแก่นักเรียนไทยไปศึกษาต่อต่างประเทศ เพื่อนำกลับมาพัฒนาประเทศ 2. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีความห่วงใยประชาชนชาวไทยในทุกด้าน โดยเฉพาะในด้านสุขภาพอนามัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นห่วง และเอื้ออาทรต่อทุกข์สุขของพสกนิกรอย่างจริงจัง โดยเฉพาะความทุกข์ของไพร่ฟ้าจากพยาธิภัย ในการเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรตามท้องที่ต่างๆ ทุกครั้ง พระองค์จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีคณะแพทย์ ทั้งแพทย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขาจากโรงพยาบาลต่างๆ และแพทย์อาสาสมัคร โดยเสด็จพระราชดำเนินไปในขบวนอย่างใกล้ชิด เพื่อที่จะได้รักษาผู้ป่วยไข้ได้ทันที นอกเหนือจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังได้ริเริ่มหลายโครงการด้านการแพทย์และสาธารณสุข ดังนี้ โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์ หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้พระราชทาน โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์ หน่วยงานฝ่ายคนไข้ ในกองราชเลขานุการ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ 3. ด้านการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงตระหนักดีว่าการศึกษาของเยาวชนนั้นเป็นพื้นฐานอันสำคัญของประเทศชาติ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระราชทานพระราชทรัพย์จัดตั้งมูลนิธิอานันทมหิดลให้เป็นทุนสำหรับการศึกษาในแขนงวิชาต่างๆเพื่อให้นักศึกษาได้มีทุนออกไปศึกษาหาความรู้ต่อ พระองค์จึงมีพระราชดำริริเริ่มโครงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ดังนี้ โรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ ทุนการศึกษาพระราชทาน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน พิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา 4. ด้านศาสนา พระองค์เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในการเปิดพระราชพิธีเนื่องในวโรกาสต่างๆอาทิเช่น พระราชพิธีบำเพ็ญการกุศล ทรงสนับสนุนให้มีการสร้างศาสนสถาน อีกทั้งยังทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกของทุกศาสนา ไม่ใช่เฉพาะแต่ศาสนาที่พระองค์ทรงนับถือ เนื่องจากทุกศาสนาต่างสอนให้คนเป็นคนดีและให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นจำนวน 45…