แนวคิดทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนุน ข้อสอบ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 กระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในโลก

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว30104
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลือ่ น
และหลกั ฐานสนบั สนุน

นางมงคล จันทราภรณ์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ

โรงเรยี นแกง้ เหนือพทิ ยาคม อาเภอเขมราฐ จังหวดั อบุ ลราชธานี
องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎีเลอื่ นและหลกั ฐานสนับสนุน ก

คำนำ

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เร่ือง กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จัดทาข้ึนเพ่ือเปน็ ส่อื นวตั กรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ประกอบกิจกรรมการ
เรียนการสอนและสามารถเรียนรดู้ ้วยตนเอง นาไปใช้ในการเรียนการสอนซอ่ มเสริมได้ หรือใชใ้ น
การสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรี ย น ของผู้ เรี ย น กลุ่ มส าร ะการ เรี ยน รู้ วิทย าศาส ตร์ เป็น น วัตกรร มที่ช่ว ยล ดบทบาทของครู
ตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็ม
ตามศกั ยภาพ ซง่ึ สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาท้ังด้านความรู้ กระบวนการคิด
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร การตัดสนิ ใจ การนา
ความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนมีจติ วทิ ยาศาสตรค์ ณุ ธรรมและค่านิยมที่
ถูกตอ้ งเหมาะสม

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีจะทาให้ผู้เรียน
มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกได้เป็นอย่างดี มีทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเองเป็นส่ือท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ
วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตรได้

มงคล จันทราภรณ์

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนแก้งเหนอื พิทยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ล่อื นและหลกั ฐานสนับสนุน ข

สำรบัญ

เร่อื ง หน้ำ
คำนำ ก
สำรบัญ ข
คำช้ีแจงเกยี่ วกับกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ค
แผนภมู ิลำดับข้ันตอนกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์ ง
คำชแ้ี จงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์สำหรับครู จ
คำช้ีแจงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์สำหรบั นกั เรยี น ช
1
สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั 2
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 2
ลาดับความคดิ ต่อเน่ือง 3
สาระสาคญั 4
แบบทดสอบก่อนเรยี น 7
บตั รเนอ้ื หา ชดุ ที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวปี เลื่อนและหลักฐานสนับสนุน 26
บตั รกจิ กรรมท่ี 2.1 เร่ือง การสารวจหลักฐานสนับสนนุ ว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกัน 31
บัตรกิจกรรมท่ี 2.2 ผังมโนทศั น์ เร่ือง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลอื่ นฯ 32
บตั รกิจกรรมท่ี 2.3 ถอดบทเรียน เร่อื ง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 33
แบบฝกึ หัด เร่ือง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเล่อื นและหลักฐานสนับสนุน 34
แบบทดสอบหลงั เรยี น 37
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 38
บรรณำนุกรม 39
ภำคผนวก 40
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 2.1 เรื่อง การสารวจหลักฐานสนบั สนนุ วา่ ทฤษฎเี คยอย่ตู ดิ กนั 47
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 2.2 ผงั มโนทัศน์ เรื่อง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลอ่ื นฯ 48
เฉลยบัตรกจิ กรรมท่ี 2.3 ถอดบทเรยี น เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนฯ 49
เฉลยแบบฝึกหดั เร่ือง แนวคิดของทฤษฎที วีปเล่ือนและหลักฐานสนับสนุน 50
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น 51
ประวตั ยิ ่อผ้จู ัดทำ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนือพทิ ยาคม

ชุดที่ 2 แนวคิดของทฤษฎีเลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนุน ค

คำชแี้ จงเกีย่ วกับชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เรื่อง กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ประกอบการ
จัดการเรียนรู้ รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โดยให้สอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) กระทรวงศกึ ษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝกึ ท่ีเหมาะสมกบั ระดับ
และวัย เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพ่ือ
ส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ
แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
เข้าใจหลกั การทางวิทยาศาสตร์ เกดิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ วธิ สี ารวจตรวจสอบขอ้ มูล
การคิดแก้ปัญหา ตลอดจนการเสริมสร้างจิตวิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้
จานวน 9 ชุด ดังนี้

ชดุ ที่ 1 เรื่อง ข้อมูลในการศกึ ษาและแบ่งชน้ั โครงสร้างโลก
ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลอื่ นและหลักฐานสนับสนนุ
ชุดท่ี 3 เร่อื ง แนวคิดของทฤษฎกี ารแผ่ขยายพน้ื สมุทรและหลกั ฐานสนับสนนุ
ชดุ ท่ี 4 เรอ่ื ง การแปรสณั ฐานของแผน่ ธรณี
ชดุ ท่ี 5 เรื่อง ธรณสี ณั ฐานและโครงสร้างทางธรณีทเ่ี กิดจากการเคลือ่ นท่ีของแผน่ ธรณี
ชดุ ท่ี 6 เรอ่ื ง ภูเขาไฟระเบิด
ชดุ ที่ 7 เรอ่ื ง แผ่นดินไหว
ชดุ ท่ี 8 เรื่อง สึนามิ
2. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์น้ีเป็น ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อน
และหลักฐำนสนบั สนุน ใช้เวลำ 2 ชว่ั โมง
3. ผูใ้ ช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์นค้ี วรศกึ ษาขนั้ ตอนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างละเอยี ดกอ่ นใช้
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อ
นักเรียนและผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ให้มีคุณภาพมากยงิ่ ข้ึนต่อไป

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ล่ือนและหลักฐานสนับสนนุ ง

แผนภมู ิลำดับขัน้ ตอนกำรใชช้ ุดกิจกรรมกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์

อ่านคาชแ้ี จงและคาแนะนาในการใชช้ ดุ กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ศึกษาตวั ชว้ี ดั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เสริมพ้ืนฐำน
ทดสอบก่อนเรียน ผมู้ ีพน้ื ฐำนตำ่

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามขนั้ ตอน

ประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้จากชดุ กจิ กรรม

ไม่ผ่ำน ทดสอบหลังเรียน
กำรทดสอบ

ผำ่ นกำรทดสอบ

ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์เร่อื งตอ่ ไป

แผนภมู ิลำดับขั้นตอนกำรเรียนโดยใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์
ชุดที่ 2 เรื่อง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐำนสนับสนุน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนือพทิ ยาคม

ชุดท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนุน จ

คำช้แี จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรส์ ำหรบั ครู

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 2 เร่ือง แนวคิด
ของทฤษฎีทวปี เลอ่ื นและหลักฐำนสนับสนุน ใชเ้ วลำในกำรทำกิจกรรม 2 ช่ัวโมง ซงึ่ นกั เรียนจะ
ได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการ
สืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือช่วยให้การดาเนินการจัดกิจกรรมการ
เรียนรบู้ รรลุจดุ ประสงค์และมีประสทิ ธภิ าพ ครูผู้สอนควรดาเนินการดงั น้ี

1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับครู และแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ท่ีครูผู้สอนสามารถนาชดุ กิจกรรมการเรียนรูไ้ ปใช้ในการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรไู้ ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ครูผสู้ อนเตรียมสอ่ื การเรียนการสอนใหพ้ รอ้ ม
3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้
บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด
ยกเวน้ สอื่ การสอนทต่ี อ้ งใชร้ ว่ มกัน
4. ครูต้องช้ีแจงใหน้ ักเรียนรู้เกี่ยวกับบทบาทของนักเรียนในการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้
ดงั นี้

4.1 ศึกษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกิจกรรมให้เข้าใจก่อนการเรียนรู้โดยใช้
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้

4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับขั้นตอน อ่านคาชี้แจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ
วา่ จะปฏิบัตกิ ิจกรรมอะไร อยา่ งไร

4.3 นักเรียนต้องต้ังใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ
ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกัน ไม่รบกวนผู้อนื่ และไม่ชกั ชวนเพอ่ื นให้ออกนอกลนู่ อกทาง

4.4 หลังจากปฏิบตั กิ จิ กรรมแลว้ นักเรียนจะต้องจัดเกบ็ อปุ กรณ์ทกุ ชิ้นใหเ้ รียบร้อย
4.5 เมอื่ มีการประเมินผลนกั เรยี นตอ้ งปฏบิ ัตติ นอย่างตงั้ ใจและรอบคอบ
5. การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7E) แบ่งออกเป็น
7 ขนั้ ตอน ดงั น้ี
5.1 ขั้นที่ 1 ขั้นตรวจสอบความร้เู ดิม
5.2 ขั้นท่ี 2 ขน้ั สร้างความสนใจ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชุดท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎีเล่ือนและหลักฐานสนบั สนนุ ฉ

5.3 ข้นั ที่ 3 ขั้นสารวจและค้นหา
5.4 ขน้ั ท่ี 4 ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรุป
5.5 ขัน้ ท่ี 5 ขน้ั ขยายความรู้
5.6 ขนั้ ที่ 6 ขน้ั ประเมนิ
5.7 ขั้นที่ 7 ขั้นนาความรไู้ ปใช้
6. ขณะท่ีนักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด
เปน็ รายกลุ่มหรือรายบุคคล ต้องไมร่ บกวนกิจกรรมของนักเรยี นกลุ่มอนื่
7. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน
ใดหรอื กลุ่มใดมปี ัญหาควรเข้าไปให้ความช่วยเหลือจนปัญหานั้นคล่คี ลายลง
8. การสรุปผลท่ีได้จากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเป็นกิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ
ตัวแทนของกลุ่มร่วมกัน ครูควรเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกใหม้ ากทสี่ ุด
9. ประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั เรยี น เพ่อื ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของนกั เรียน

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนแกง้ เหนอื พิทยาคม

ชุดท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลือ่ นและหลักฐานสนบั สนุน ช

คำชแ้ี จงกำรใช้ชุดกิจกรรมกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรส์ ำหรับนักเรยี น

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดท่ี 2 เรื่อง แนวคิด
ของทฤษฎีทวีปเล่ือนและหลักฐำนสนับสนุน ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูล
มาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทาง
กระบวนการกล่มุ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด นักเรยี นควรปฏบิ ัติตามคาช้แี จง ดังตอ่ ไปนี้

1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชุดท่ี 2 เร่ือง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเล่ือน
และหลักฐำนสนบั สนนุ ใชเ้ วลำในกำรทำกิจกรรม 2 ชว่ั โมง

2. นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ข้อ
3. นกั เรยี นทากิจกรรมเป็นรายกลุ่มและศกึ ษาวธิ ีดาเนนิ กจิ กรรมใหเ้ ข้าใจ
4. นักเรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมในชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
5. นักเรยี นทากจิ กรรมในชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ใู หค้ รบ
6. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น จานวน 10 ขอ้

โดย : นางมงคล จันทราภรณ์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียนแก้งเหนือพทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 11

ชดุ ท่ี 2

แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนนุ

มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชีว้ ดั

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปล่ียนแปลงภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิศาสตร์โลก รวมท้ังผลต่อสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดลอ้ ม
ตัวช้ีวดั
ว 3.2 ม.6/2 อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาท่ีสนับสนุนการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณี
โดยใช้แบบจาลอง
ว 3.2 ม.6/3 ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณท่ีสัมพันธ์
กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยา
ทพ่ี บ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 22

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั

1. อธิบายแนวคิด ทฤษฎเี กี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแผน่ ธรณี (K)
2. อธบิ ายหลกั ฐานทางธรณีทสี่ นบั สนุนการเคล่อื นที่ของแผ่นธรณี (K)
3. สรา้ งแบบจาลองและอธิบายเกี่ยวกบั ลักษณะของรอยต่อของแผน่ ธรณีภาคของโลก (P)
4. ทดลองและอธบิ ายสาเหตุที่ทาใหแ้ ผ่นเปลือกโลกเคลอ่ื นท่ี (P)
5. ประยกุ ตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเก่ียวกับแนวคิดทฤษฎที วีปเล่อื นและหลกั ฐาน

สนบั สนนุ ในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนและนาความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจาวนั (A)
6. มีความสนใจใฝ่เรยี นรูห้ รอื อยากรอู้ ยากเห็น ทางานรว่ มกับผูอ้ น่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์ ยอมรบั

ความคดิ เหน็ ของผู้อนื่ ได้ (A)

ลาดบั ความคดิ ตอ่ เนอ่ื ง

การแปรสณั ฐานของแผ่นธรณี

ธรณีภาคซึ่งเป็นช้ันนอกสุดของโครงสร้างโลก แบ่งออกเป็นแผ่นธรณี (plate)
หลายแผ่น ซง่ึ เคล่อื นทไ่ี ปบนฐานธรณภี าคทา ให้เกิดการเปลีย่ นแปลงทางธรณีอยู่ตลอดเวลา

ทฤษฎีทวปี เลอื่ น คือ แนวความคดิ ที่กล่าวว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหนึ่งทวปี ต่าง ๆ
ไม่ได้มีตาแหน่ง เหมือนกับในปจั จุบัน แต่เคยอยู่รวมกันเป็นแผ่นดินใหญ่เพยี งแผ่นดินเดยี วที่
เรียกวา่ พันเจีย (Pangaea)

หลักฐานท่ีสนับสนุนว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีป ซาก
ดกึ ดา บรรพ์ ความคลา้ ยกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา หลกั ฐานจากรอยครดู บนหินท่ีเกิด
จากการเคล่ือนตัวของธารน้า แขง็ บรรพกาล

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 33

ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร เป็นการพบหลักฐานบนพื้นสมุทรท่ีสนับสนุนการ
เคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี ได้แก่ สันเขากลางสมุทร อายุของหินบะซอลต์บนพื้นมหาสมุทร
ภาวะแมเ่ หลก็ บรรพกาล

นักวิทยาศาสตร์รวบรวมหลักฐานและแนวคิด จากทฤษฎีทวปี เล่ือน ทฤษฎีการแผ่
ขยายพื้นสมุทร นา มาสรุปเป็นทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผ่นธรณี ซ่ึงกล่าวถึงการเคลือ่ นท่ี
และการเปลี่ยนลักษณะของแผ่นธรณีอันเน่ืองมาจากวงจรการพาความร้อนของแมกมา
ภายในเน้อื โลก

การเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีสัมพันธ์กับ แนวรอยต่อของแผ่นธรณี 3 รูปแบบ คือ
แนวแผ่นธรณีแยกตวั แนวแผ่นธรณีเคล่ือนที่หากัน แนวแผ่นธรณเี คลื่อนผ่านกันในแนวราบ
แต่ละรูปแบบ ส่งผลให้เกิดธรณีสัณฐาน โครงสร้างทางธรณีแบบต่าง ๆ และปรากฏการณ์
ทางธรณีต่าง ๆ บนโลก

สาระสาคัญ

แผ่นธรณีต่าง ๆ ของโลกมีการเปล่ียนแปลงขนาดและตาแหน่งต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
มีหลักฐานปรากฏให้เห็น ซ่ึงอธิบายการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณีได้ตามทฤษฎกี ารแปรสัณฐานของแผ่น
ธรณี โดยมี แนวคิดมาจาก ทฤษฎีทวีปเลื่อน และทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร ซึ่งมีหลักฐาน
ที่สนับสนุน ได้แก่ รูปร่างของขอบทวีปท่ีสามารถเชื่อมต่อกันได้ ความคล้ายคลึงกันของกลุ่มหิน
และแนวเทือกเขา ซากดึกดา บรรพ์ ร่องรอยการเคล่ือนที่ของตะกอนธารน้า แข็ง ภาวะแม่เหล็ก
บรรพกาล อายุหินของพ้นื มหาสมุทร รวมทงั้ การค้นพบสันเขากลางสมุทร และรอ่ งลึกกน้ สมุทร

ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีอธิบายการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี เนื่องจากการพา
ความร้อน ของแมกมา ภายในโลก โดยแนวรอยต่อของแผ่นธรณีมี 3 รูปแบบ ได้แก่ แนวแผ่นธรณี
แยกตัว แนวแผ่นธรณีเคลื่อนหากัน และแนวแผ่นธรณีเคลื่อนท่ีผ่านกันในแนวราบ ซึ่งทา ให้เกิดธรณี
สัณฐาน ได้แก่ ร่องลึกก้นสมุทร หมู่เกาะภูเขาไฟรูปโค้ง แนวภูเขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุด
และสันเขากลางสมุทร และ โครงสร้างทางธรณี เช่น เขตรอยเล่ือน นอกจากนี้ยังทา ให้เกิดธรณี
พิบัตภิ ยั ตา่ ง ๆ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 44

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เรือ่ ง แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลือ่ นและหลกั ฐานสนบั สนุน
รายวชิ าโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวชิ า ว30104 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6

คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาที่ใช้ 10 นาที
2. จงเลือกคาตอบที่ถกู ต้องท่สี ุด แล้วเขียนเครอื่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. ในการศกึ ษาเร่อื งใด ๆ อาจมีแนวคดิ หรือทฤษฎีในเร่ืองนั้น ๆไดม้ ากกว่าหน่ึง ทั้งน้ีข้ึนอยกู่ บั
อะไร

ก. เวลาท่คี ้นพบ
ข. ผทู้ าการค้นควา้
ค. ข้อมูลที่ถกู ค้นพบ
ง. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการศึกษา

2. บุคคลใดท่ีเปน็ ผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเลื่อน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

3. โครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ช้ันใหญ่ๆประกอบไปด้วยช้ันใดบ้าง
ตามลาดับ

ก. ช้ันเปลือกโลก, ช้ันผิวโลก, ชั้นเนื้อโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นเน้ือโลก, ช้ันแก่นโลก
ค. ช้ันเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นใน, ชั้นแก่นโลก
ง. ช้ันเปลือกโลก, แก่นโลกชั้นนอก, แก่นโลกชั้นใน

4. กระบวนการท่ีทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเกิดจากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของช้ินหิน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 55

5. ธรณภี าคแผ่นอินเดียเคลอื่ นเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผ่นยูเรเซียทาให้เกิดส่ิงใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

6. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหน่ึงทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อส่ิงใด

7. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดไดแ้ ก่แผ่นทวีปและแผ่นมหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคล่ือนท่ีตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปล่ียนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคท่ีอยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

8. ข้อใดถูกต้องที่สุดเก่ียวกับทวีปเลื่อน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเล่ือนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปท่ีเดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเร่ิมค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน
ค. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเล่ือนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ง. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเล่ือนออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผน่ หนึ่งจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนง่ึ เกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภูเขา
ไฟใต้ทะเลเกดิ จากอะไร

ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนท่ีมุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ค. แผ่นธรณีภาคภาคพ้ืนทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ง. ขอบแผ่นธรณีภาคเคลื่อนที่ผ่านกัน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 66

10. ธรณีภาค เกิดจากอะไร
ก. เปลือกโลกส่วนท่ีเป็นแผ่นดิน
ข. การหลอมละลายของช้ันหิน
ค. เน้ือโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 77

บัตรเนอ้ื หา
ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
ชดุ ที่ 3 แนวคดิ ของทฤษฎที วีปเล่ือนและหลกั ฐานสนับสนนุ

ในต้นศตวรรษท่ี 19 มีนักวิทยาศาสตร์ได้เสนอแนวคิดว่า ในอดีต ณ ช่วงเวลาหน่ึงทวีป
ต่าง ๆ ของโลกไม่ได้มีตาแหน่งเหมือนเช่นปัจจุบัน แต่เคยเชื่อมต่อเป็นผืนแผ่นดินเดียวกันมาก่อน
นกั วิทยาศาสตร์คนหน่ึงท่เี สนอแนวคดิ ข้างตน้ คอื อลั เฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener)

รูปที่ 2.1 แผนภาพแสดงหลักฐานซากดกึ ดาบรรพ์ กลุ่มหินและแนวเทือกเขาในทวปี ตา่ ง ๆ
ที่มา : หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรฯ์ วชิ าวิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (หนา้ 117)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ
โดยเริ่มจากการสังเกตรูปร่างทวีปต่าง ๆ บนโลกและพบว่าบางทวีปมีขอบท่ีต่อกันได้
ดงั รูปท่ี 2.2 จงึ นาไปสู่การศึกษาหาหลักฐานและขอ้ มลู เพอ่ื สนับสนนุ แนวคดิ ดังกลา่ ว

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 88

รปู ท่ี 2.2 แสดงรอยต่อของทวปี ในอดีต
ทม่ี า http://508 star.blogspot.com

รูปที่ 2.2 แสดงให้เห็นว่าเมื่อ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา
อินเดีย ออสเตรเลีย เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซึ่งเป็นเขตหนาวเย็น โดยมี
หลักฐานเป็นรอ่ งรอยของธารน้าแขง็ ในอดตี ในขณะทตี่ อนใต้ของทวีปอเมรกิ าเหนอื ยุโรป และเอเชีย
มหี ลกั ฐานบง่ ชีว้ ่า เคยเป็นเขตรอ้ นแถบศูนย์สูตรมาก่อน เน่ืองจากอดุ มสมบูรณ์ด้วยถา่ นหนิ และนา้ มัน
ซึง่ เกดิ จากการทับถมของพชื ในอดีต และหลักฐานจากฟอสซลิ

นักธรณีวิทยาเชื่อว่าเปลือกโลกมีการเคล่ือนที่ ในปี 1908 Frank B. Taylor ได้อธิบาย
ปรากฏการณ์ของการท่ีมหาทวีป 2 แห่ง ซึ่งเคยวางตัวอยู่ใกล้ข้ัวโลกเหนือและใต้แตกแยกออกเป็น
ทวีปขนาดเล็กกว่าและเคล่ือนที่มาทางเส้นศูนย์สูตร น่ันคือมหาทวีปลอเรเซีย (Laurasia) ซึ่งอยู่ทาง
เหนือและมหาทวีปกอนด์วานา (Gondwanaland) ซ่ึงอยู่ทางใต้ โดยเป็นการเคล่ือนที่เฉพาะของ
เปลือกโลกไซอัล และผลักดันตะกอนทาให้เกิดแนวเทือกเขาทางด้านหน้าทที่ วีปเคลื่อนที่ไปประกอบ
กับร่องรอยการแตกแยกของทวีปทางด้านหลัง สาหรับแรงท่ีทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของทวีปนั้น
อธิบายวา่ มาจากแรงดึงดดู ของดวงจนั ทร์ซ่ึงเขา้ มาอยู่ใกลช้ ดิ โลกมาก ในยคุ ครเี ทเชียส

ต่อมาในปี 1910 Alfred Wegener ได้สร้างแผนท่ีมหาทวีปใหม่เพียงแห่งเดียว โดยอาศัย
รูปร่างแผนที่ของ Snider และตั้งช่ือว่ามหาทวีปพันเจีย ล้อมรอบอยู่ด้วยมหาสมุทรแพนธาลาสซา
(Panthalassa) แล้วจึงแตกออกและเคลอ่ื นทไี่ ปอยู่ ณ ตาแหน่งทเี่ ห็นอยใู่ นปัจจุบนั

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 99

ขณะเคล่ือนที่ก็เกิดเทือกเขาด้านหน้า การแตกแยกด้านหลังเหมือนคาอธิบายของ Taylor
นอกจากนี้ยังอธิบายว่ารอยชิ้นทวีปที่ขาดหล่นปรากฏเป็นเกาะแก่ง หรือรอยฉีกที่พบเป็นร่องลึก
ยังปรากฏอยู่บนพื้นมหาสมุทร ขณะเดียวกับท่ีมีการแทรกดันขึ้นมาของเปลือกโลก ที่มีมวลตั้งต้น
มาจากชั้นเนื้อโลก

รูปท่ี 2.3 ภาพแสดงแผ่นทวีปตา่ ง ๆ
ท่มี า : http://www.baanjomyut.com

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 1100

ในอดีตทปเคยอยู่ติดกันมาก่อน โดยใช้หลักฐานต่าง ๆ มาสนับสนุน เช่น รูปร่างของขอบ
ทวีป ซากดึกดาบรรพ์ ความคล้ายกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา การเคลื่อนที่ของธารน้าแข็ง
บรรพกาลสาหรับเวเกเนอร์ หลักฐานแรกที่นามาใช้อธบิ ายแนวคิดเรื่อง "ในอดตี ทวีปท้ังหมดเคยเป็น
แผ่นดินเดียวกนั มาก่อน" คือ รูปร่างของขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบท่ีต่อกันได้ เชน่ ทวีป
อเมริกา แอฟริกา และยุโรป ซ่ึงคาดว่าทวีปเคยอยู่ติดกัน ทั้งน้ีจากกิจกรรมจะเห็นว่าการต่อรูปร่าง
ของทวีปโดยพจิ ารณาจากแนวชายฝั่งในปัจจุบันอาจต่อกันไดไ้ ม่สมบูรณ์ เนอ่ื งจากการกร่อนและการ
สะสมตวั ของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบของลาดทวีปจะ
พบวา่ ทวีปต่าง ๆ สามารถเชื่อมต่อกันไดส้ มบูรณม์ ากขนึ้ ดังรูปท่ี 2.4

รปู ท่ี 2.4 การเชอ่ื มตอ่ ขอบทวปี ตา่ ง ๆ บนโลกโดยพิจารณาจากขอบของลาดทวปี เป็นเกณฑ์
ทมี่ า : หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรฯ์ วชิ าวิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (หนา้ 118)

สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 1111

รูปที่ .5 การกระจายตวั ของซากตกึ ดาบรรพพ์ ืชและสัตว์ชนิดตา่ ง ๆ
ที่คน้ พบในแต่ละทวีป แสดงถงึ การเช่ือมตอ่ ของแผ่นดนิ ในอดตี

ท่ีมา : หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตรฯ์ วิชาวิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ (หนา้ 119)
สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

นอกจากหลักฐานเรื่องขอบทวีปแล้ว เวเกเนอร์ได้พยายามหาคาอธิบายแนวคิด
โดยการศึกษาและหาหลกั ฐานดว้ ยตนเอง รว่ มกบั ขอ้ มลู จากงานวจิ ัยของนกั วิทยาศาสตร์อืน่ ๆ ดังนี้

(1) หลักฐานซากดึกดาบรรพ์ จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ เช่น กลอส
โซพเทรีส (Glossopteris มีโซซอรัส (Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทรซอรัส
(Lystrosaurus) บนทวปี อเมริกาใต้ ทวปี แอพรกิ า ทวีปแอนตาร์กติกา ทวปี ออสเตรเลยี และประเทศ
อินเดีย ซึ่งในปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวอยู่ห่างกันมากและมีมหาสมุทรค่ันอยู่ ดังน้ันโอกาสที่พืชและสัตว์
ดังกล่าวจะข้ามถ่ินฐานระหว่างทวีปน้ันเป็นไปได้ยาก จึงเป็นหลักฐาน ที่อธิบายได้ว่าในอดีตทวีป
ดงั กลา่ วเคยอยู่ตดิ กันมากอ่ นดงั รปู 2.5

(2) หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา เม่ือพิจารณาหลักฐานทางด้านธรณีวิทยา
และธรณีกาล นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาชนิดหินและกลุ่มหินตามแนวเทือกเขาแอปพาเลเชียน
(Appalachian mountains) ในทวีปอเมริกาเหนือ และแนวเทือกเขาคาเลโดเนียน (Caledonian
mountains) ในประเทศนอร์เวย์ กรีนแลนด์ ไอร์แลนด์ และอังกฤษ ซึ่งอยู่บนสองฝั่งของมหาสมุทร
แอตแลนตกิ ดังรปู 2.6 (ก) พบวา่ แนวเทือกเขาทั้งสองมกี ลุ่มหินท่ีคล้ายคลึงกันและมีช่วงอายเดียวกัน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 1122

ประมาณ 200 ล้านปี และเมื่อนาขอบของลาดทวีปมาเชื่อมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขาท้ังสอง
วางตัวอยู่เป็นแนวเทือกเขาเดียวกัน ดังรูป 2.6 (ข) จึงเป็นอีกหลักฐานหนึ่งที่นามาใช้สนับสนุน
แนวความคิดท่วี า่ ในอดีตทวปี ดงั กลา่ วเคยอยตู่ ดิ กนั มาก่อน

รปู ท่ี 2.6 หลกั ฐานจากกลุ่มหินและแนวเทอื กเขา
ที่มา : หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ฯ วชิ าวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 120)

สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

นอกจากนี้นักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษากลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา ทวีป
ออสเตรเลียและประเทศอินเดีย พบว่าต่างก็มีกลุ่มหินท่ีมีช่วงอายุระหว่าง 359-146 ล้านปี และมี
สภาพแวดลอ้ มการเกดิ ของหินคลา้ ยคลึงกนั

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 1133

(3) หลักฐานจากการเคล่ือนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล จากการท่ีนักวิทยาศาสตร์ได้
ศึกษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาใต้ และประเทศ
อินเดียซ่งึ ในปัจจบุ ันอย่ใู นเขตร้อนข้ึนหรือเขตอบอุ่น พบว่าในบางบรเิ วณของทวีปเหล่าน้ันมหี ลักฐาน
รอยครูดถูแสดงการเคล่ือนท่ขี องธารน้าแขง็ บรรพกาลในช่วงอาย 280 ล้านปี ดังรูป 2.7 และเมื่อนา
ขอบทวปี มาตอ่ กัน พร้อมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนทข่ี องธารน้าแขง็ บรรพกาลจากรอยครดู ถูบน
หินฐานท่ีธารน้าแข็งเคลื่อนท่ีผ่าน พบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนท่ีกระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสู่บริเวณอื่น 1 ซึ่งคล้ายคลึงกับลกั ษณะการเคลื่อนท่ีของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา
ในปจั จุบนั จึงเป็นสมมตุ ฐิ านว่าทวปี ดงั กลา่ วเคยอยตู่ ดิ กนั ใกลบั รเิ วณขว้ั โลกใต้และมีพืดนา้ แข็งปกคลุม
ดังรปู 2.8

รูปที่ 2.7 ทิศทางการเคลอ่ื นทข่ี องธารน้าแข็งบรรพกาลและพน้ื ทีท่ ถ่ี ูกปกคลุมด้วยธารนา้ แข็ง
ทมี่ า : หนังสอื เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตรฯ์ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 121)

สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 1144

รปู ที่ 2.8 ทิศทางการเคล่อื นทขี่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
และทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันบริเวณข้วั โลกใต้

ทมี่ า : หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ฯ วิชาวิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ (หน้า 122)
สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

ทกุ ทวีปในโลกเคยเปน็ แผน่ ดนิ เดยี วกัน
นักธรณีวิทยาพบว่าเปลือกโลกมิได้รวมติดกันเป็นแผ่นเดียวโดยตลอด มีรอยแยกอยู่ทั่วไป

ซ่ึงรอยแยกเหล่านี้อยู่ลึกลงไปจากผิวโลก เปลือกโลกแบ่งเป็นแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่ 6 แผ่น
และแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กอีกหลายแผ่น

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 1155

รปู ท่ี 2.9 แผน่ เปลือกโลกแสดงรอยต่อระหวา่ งแผน่ เปลือกโลก
ทมี่ า http://www.baanjomyut.com

จากรูปท่ี 2.9 แผ่นเปลือกโลก จะเห็นว่าเปลือกโลกประกอบด้วยแผ่นเปลือกโลกขนาดใหญ่
6 แผ่น ดังน้ี

1. แผน่ ยูเรเซยี เป็นแผน่ โลกทรี่ องรบั ทวปี เอเซยี และทวปี ยุโรป และพน้ื น้าบรเิ วณใกลเ้ คียง
2. แผ่นอเมริกา แผ่นเปลือกโลกทรี่ องรบั ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมรกิ าใตแ้ ละพื้นน้า
คร่งึ ซกี ตะวันตกของมหาสมุทรแอนแลนตกิ
3. แผน่ แปซฟิ ิก เปน็ แผ่นเปลือกโลกทีร่ องรบั มหาสมทุ รแปซฟิ ิก
4. แผน่ ออสเตรเลยี เป็นแผน่ เปลือกโลกทีร่ องรับทวปี ออสเตรเลีย ประเทศอินเดีย และพ้ืน
นา้ ระหว่างประเทศออสเตรเลียกับประเทศอินเดยี
5. แผน่ แอนตาร์กติกา เป็นแผน่ เปลือกโลกที่รองรับทวีปแอนตาร์กติกา และพื้นนา้ โดยรอบ
6. แผ่นแอฟริกา เป็นแผ่นเปลือกโลกท่รี องรบั ทวปี แอฟริกา และพืน้ นา้ รอบๆ ทวีป
นอกจากนี้ยังมีแผ่นเปลือกโลกขนาดเล็กอีกด้วย เช่น แผ่นฟิลิปปินส์ ซ่ึงรองรับประเทศ
ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เป็นตน้
ซึง่ มีทฤษฎีและหลกั ฐานต่างๆ มากมาย เพื่อพสิ ูจนว์ ่าโลกเคยเปน็ แผน่ ดินเดยี วกัน แล้วแยก
ออกจากกันจนเป็นรปู รา่ งทีเ่ ห็นในปจั จุบัน
ทฤษฎีการเล่ือนไหลของทวีป เป็นทฤษฎีท่ีเสนอโดย อัลเฟรด เวเกเนอร์ ชาวเยอรมัน
ซ่งึ มีใจความว่า เมอ่ื 180 ล้านปี ผิวโลกสว่ นที่เป็นแผน่ ดินซ่ึงโผลพ่ ้นผวิ น้าทตี่ ดิ กันเปน็ ทวีปเดยี ว เรยี ก
ทวีปใหญ่นี้ว่า แพงเจีย (pangea) ซึ่งแปลว่า all land หรือ แผ่นดินท้ังหมด เม่ือเลาผ่านไปแพงเจีย

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 1166

เร่ิมแยกเป็นหลายส่วน แต่ละส่วนขยับเขยื้อนเคลื่อนท่ีแยกจากกันไปเป็นทวีปต่างๆ ดังปรากฏใน
ปจั จบุ ัน

ภาพท่ี 2.10 ทวีปเดียวตามแนวคิดของ อัลเฟรด เวเกเนอร์
ที่มา http://www.baanjomyut.com

หลกั ฐานที่สนับสนุนทฤษฎกี ารเลือ่ นไหลของทวีปของอัลเฟรด เวเกเนอร์
1. หลักฐานสภาพรปู รา่ งของทวปี
สาหรับเวเกเนอร์หลักฐานแรกท่ีนามาใช้อธิบายแนวคิดเร่ือง“ ในอดีตทวีปทั้งหมดเคย

เป็นแผ่นดินเดียวกันมาก่อน” คือรูปร่างของขอบทวีปต่าง ๆ บนโลกบางทวีปมีขอบท่ีต่อกันได้เช่น
ทวีปอเมริกาแอฟริกาและยุโรปซึ่งคาดว่าทวีปเคยอยู่ติดกันท้ังน้ีจากกิจกรรมจะเห็นว่าการต่อรูปร่าง
ของทวีปโดยพิจารณาจากแนวชายฝ่ังในปัจจุบันอาจต่อกันได้ไม่สมบูรณ์เน่ืองจากการกร่อนและการ
สะสมตัวของตะกอนเป็นเวลาหลายร้อยล้านปี แต่หากต่อรูปร่างของทวีปโดยใช้ขอบของลาดทวีป
จะพบว่าทวปี ต่าง ๆ สามารถเชอื่ มต่อกนั ได้สมบรู ณม์ ากขน้ึ ดงั รูป 2.11

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 1177

รูปท่ี 2.11 การเช่ือมต่อขอบทวีปตา่ ง ๆ บนโลก โดยพิจารณาจากขอบของลาดทวีปเป็นเกณฑ์
ท่มี า : หนังสือเรียนรายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 37)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รูปร่างของทวีปต่างๆ สวมกันได้อย่างพอเหมาะโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทวีปแอฟริกากับทวีป
อเมรกิ าเหนือและอเมรกิ าใต้

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 1188

รปู ที่ 2.12 ทวีปเดียวตามแนวคดิ ของ อลั เฟรด เวเกเนอร์
ท่มี า http://www.baanjomyut.com

ในปี พ.ศ. 2458 นักอุตุนิยมชาวเยอรมัน ช่ือ ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ได้ตั้งสมมติฐานว่า
แผ่นดินทั้งหมดบนโลกแต่เดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกันเรียกว่าพันเจียซ่ึงเปน็ ภาษากรีกแปลว่าแผ่นดิน
ทั้งหมด

พันเจียเป็นมหาทวีปท่ีคลุมพื้นท่ีจากขั้วโลกเหนือ-ขั้วโลกใต้ ล้อมรอบด้วยมหาสมุทรพัน
ทาลัสซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตร คือลอเรเซีย และส่วนใต้เส้นศูนย์สูตร
คอื กอนดว์ านา เวเกเนอร์และคณะได้อธบิ ายสมมตฐิ านโดยใช้หลักฐาน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 1199

รปู ที่ 2.13 แสดงขัน้ ตอนการเลือ่ นของแผ่นธรณีภาคจากอดีตถงึ ปจั จบุ นั
ที่มา http://khanaporn.exteen.com

1. หลักฐานจากรอยต่อของทวีป
2. หลกั ฐานจากความคลา้ ยคลึงกนั ของกลุ่มหินและแนวภเู ขา
3. หลกั ฐานจากหินทเี่ กดิ จากการสะสมตวั ของตะกอนจากธารนา้ แข็ง
4. หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์

และหลักฐานขอ้ มูลทางธรณวี ิทยาอ่ืนๆที่สนับสนนุ การเคล่อื นตวั ของทวีป

2. หลักฐานส่งิ มชี ีวติ ทง้ั พชื และสัตว์

มีการอ้างหลักฐานการพบซากดึกดาบรรพ์ของส่ิงมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์และชั้นของหิน
ชนิดเดียวกันในสองทวปี แถบที่อยดู่ ้านเดยี วกันหรอื ใกลเ้ คียง

เวเกเนอร์ได้เสนอแนะให้ลองพิจารณารูปร่างของทวีปต่างๆ บนแผนที่โลก เวเกเนอร์ยัง
ได้ศึกษาซากฟอสซิลของพืชและสัตว์ที่มีอยู่ตามแนวชายฝั่ง (Coastline) ทั้งทวีปอเมริกาใต้และ
ทวีปแอฟริกา ซึ่งพบว่าบริเวณท่ีแนวชายฝ่ังทวีปทั้งสองต่อตรงกันนั้น ซากฟอสซิลที่พบก็เหมือนกัน
ทุกอย่างด้วยซ่ึง หมายความว่าพืชและสัตว์ท่ีกลายเป็นฟอสซิลน้ันเป็นชนิดเดียวกัน หากทวีปท้ังสอง

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 2200

อยู่แยกกันมาอย่างในปัจจุบัน โดยมีมหาสมุทรคั่นระหว่างทวีปเช่นนี้ แล้วพวกพืชและสัตว์ในอดีต
เหล่านี้จะเดินทางจากทวีปหน่ึงข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกไปสู่อีกทวีปหนึ่งได้อย่างไร ข้อสังเกตน้ี
สนบั สนนุ สมมติฐานของเวเกเนอรท์ ว่ี า่ ทวีปอเมรกิ าใตแ้ ละทวปี แอฟริกาเดิมเปน็ ผนื ดินเดียวกัน

รปู ที่ 2.14 แสดงหลกั ฐานรอยต่อของทวปี และหลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์
ท่ีมา : http://khanaporn.exteen.com

ทฤษฎนี ้เี กดิ ในช่วงครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 จากการศึกษาแผนท่ีโลกของ ฟรานซสิ เบคอน
(Francis Bacon) โดยคาดเดาวา่ ทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกา หากดันเขา้ มาประกอบกนั
สามารถเชือ่ มตอ่ กันได้พอดี

ต่อมาในปี ค.ศ.1915 อัลเฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener) ได้นาเสนอเกี่ยวกับทฤษฎี
ทวีปเล่ือนว่า เม่ือประมาณ 200 - 300 ล้านปีท่ีผ่านมา แผ่นดินท้ังหมดในโลกรวมเป็นผืนเดียวกัน
เรียกว่า “แพงเจีย” (Pangea : แปลว่า ผืนแผ่นดินท้ังหมด) ซ่ึงประกอบด้วยทวีปอเมริกาเหนือ
อเมริกาใต้ แอฟริกา ออสเตรเลีย อินเดีย และหมู่เกาะมาดากัสการ์ มากล่าวไว้ โดยกล่าวว่า ในยุค
ไตรแอสสิก ทวีปท่ีเดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเร่ิมค่อย ๆ มีการแยกตัวออกจากกัน โดยทวีปอเมริกา

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 2211

เหนือและอเมริกาใต้จะค่อย ๆ แยกจากทวีปแอฟริกา และทวีป ยุโรป จึงทาให้ขนาดของมหาสมุทร
แอตแลนตกิ กว้างยิง่ ขน้ึ เราเรียกการเคล่อื นไหวดงั กลา่ วว่า “ทวปี เลอ่ื น” (Continental Drift)

ทฤษฎีเลื่อนน้ีเป็นท่ียอมรับกันท่ัวไปในปี ค.ศ.1960 จากทฤษฎีดังกล่าว กล่าวถึงการท่ีทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้รวมเป็นแผ่นเดียวกันเรียกว่า “แผ่นอเมริกา” และมักพบว่าส่วน
บรเิ วณทเี่ ปน็ ขอบของแผ่นทวีป เชน่ แผน่ ทวีปแปซฟิ ิก จะพบแนวการเกิดภูเขาไฟและแผ่นดินไหวอยู่
เสมอ เนื่องจากการเคลื่อนท่ีของ แผ่นทวีป (plate) อยู่ตลอดเวลา สันนิษฐานวา่ การเคล่ือนทีข่ องหิน
หลอมละลายและกระบวนการพาความร้อนภายในโลก เน่ืองมาจากความแตกต่างของอุณหภูมิและ
ความหนาแน่นทาให้เกดิ การหมุนเวียน

โดยเม่ือ 200 ล้านปีก่อน ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาใต้ แอฟริกา อินเดีย ออสเตรเลีย
เคยอยู่ชิดติดกับทวีปแอนตาร์กติกในบริเวณขั้วใต้ ซ่ึงเป็นเขตหนาวเย็น โดยมีหลักฐานเป็นร่องรอย
ของธารน้าแขง็ ในอดตี

ในขณะท่ีตอนใต้ของทวีปอเมรกิ าเหนอื ยุโรป และเอเชยี มีหลักฐานบ่งช้ีว่า เคยเป็นเขตร้อน
แถบศูนย์สูตรมาก่อน เนื่องจากอุดมสมบูรณ์ด้วยถ่านหินและน้ามัน ซ่ึงเกิดจากการทับถมของพืช
ในอดีต ประกอบกับหลักฐานทางฟอสซิล แสดงให้เห็นว่า เม่ือคร้ังก่อนแผ่นดินเหล่าน้ีเคยอยู่ชิด
ตดิ กัน พชื และสัตวบ์ างชนิดจงึ แพร่ขยายพันธ์ุบนดนิ แดนเหล่านใ้ี นอดีต

แผ่นเทคโทนิกยูเรเชีย และแผ่นเทคโทนิกออสเตรเลยี มีรอยเชื่อมกันอยู่ท่ีบริเวณอินโดนีเซีย
ไปจนถึงทะเลอันดามัน (เส้นสีเทา ) ซึ่งเกิดการเลื่อนเบียดกัน ณ บริเวณเส้นวงกลม ใต้ท้องทะเล
จึงเกดิ เหตคุ ล่ืนยักษ์

แผ่นดินไหวเริ่มท่ีเกาะสุมาตรา เน่ืองแผ่นเทคโทนิก 2 แผ่น คือ แผ่นออสเตรเลีย
และยูเรเซยี เคลือ่ นทีจ่ นทาให้เกิดการเบียดกันและมุดเข้าหากับอีกแผ่นที่บริเวณตะวนั ตกเฉียงใต้ของ
เกาะสมุ าตรา ทาให้เกดิ คลืน่ ใตน้ ้าขนาดใหญ่เขา้ สชู่ ายฝง่ั

แนวความคิดท่ีสนับสนุนทฤษฎีทวีปเล่ือน ได้แก่ ทฤษฎีการขยายตัวของพ้ืนทะเล (Sea
Floor Spreading Theory) และยังมีหลักฐานสนับสนุนอื่นๆ อีก เช่น หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
ท่ีพบบริเวณสองฝ่ังมหาสมุทรแอตแลนติก ได้แก่ ฝ่ังทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอฟริกาใต้ มีลักษณะ
คล้ายกัน

นอกจากหลักฐานเรอ่ื งขอบทวีปแล้วเวเกเนอรไ์ ด้พยายามหาคาอธิบายแนวคิดโดยการศึกษา
และหาหลกั ฐานด้วยตนเองรว่ มกบั ขอ้ มลู จากงานวิจยั ของนกั วิทยาศาสตรอ์ ื่น ๆ ดังน้ี

(1) หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์จากการพบซากดึกดาบรรพ์ของพืชและสัตว์ เช่น
กลอสโซพเทรีส (Glossopteris) มีโซซอรัส (Mesosaurus) ไซโนเนทัส (Cynognathus) ลีสโทร
ซอรัส (Lystrosaurus) บนทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีปแอนตาร์กติกาทวีปออสเตรเลียและ
ประเทศอนิ เดียซ่ึงในปจั จบุ ันพื้นทต่ี ่าง ๆ ดังกล่าวอยู่หา่ งกนั มากและมมี หาสมทุ รค่นั อย่ดู งั น้ันโอกาสท่ี

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 2222

พืชและสัตว์ดังกล่าวข้ามถิ่นฐานระหว่างทวีปนั้นเป็นไปได้ยากนักวิทยาศาสตร์จึงนามาใช้เป็น
หลกั ฐานประกอบว่าในอดตี ทวปี ดังกลา่ วเคยอยูต่ ิดกนั มาก่อนดังรูป 3.9

รปู ที่ 2.15 การกระจายตัวของซากดึกดาบรรพพ์ ืชและสัตว์ชนิดต่าง ๆ
ท่ีคน้ พบในแต่ละทวีป แสดงถึงการเชอื่ มต่อของแผน่ ดินในอดีต

ท่มี า : หนังสือเรยี นรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หน้า 38)
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

(2) หลักฐานจากกลุ่มหินและแนวเทือกเขา เม่อื พจิ ารณาหลักฐานทางด้านธรณวี ิทยาและ
ธ ร ณี กา ล นั กวิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ได้ ศึ กษ า ช นิ ด หิ น แ ล ะ กลุ่ ม หิ น ต า ม แ น ว เ ทื อ ก เ ข า แ อป พ า เ ล เ ชี ย น
( Appalachian mountains) ในท วีปอ เมริ กาเ หนือแ ละ แ น ว เ ทื อ ก เ ข า ค า เ ล โ ด เ นี ย น
(Caledonian mountains) ในประเทศนอร์เวย์กรีนแลนด์ไอร์แลนด์และอังกฤษซึ่งอยู่บนสองฝั่ง
ของมหาสมุทรแอตแลนติกดังรูป 2.10 (ก) พบว่าแนวเทือกเขาทั้งสองมีกลุ่มหินเดียวกันและมีช่วง
อายุเดียวกันประมาณ 200 ล้านปีและเมื่อนขอบของลาดทวีปมาเช่ือมต่อกันพบว่าในอดีตเทือกเขา
ทั้งสองวางตัวอยู่เป็นแนวเทือกเขาเดียวกันดังรูป 2.10 (ข) จึงเป็นอีกหลักฐานหนึ่งท่ีนามาใช้
สนับสนุนแนวความคิดท่วี ่าในอดีตทวปี ดังกลา่ วเคยอยูต่ ดิ กนั มาก่อน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 2233

รปู ที่ 2.16 หลักฐานจากกลุม่ หนิ และแนวเทือกเขา
(ก) แนวเทือกเขาในทวีปอเมริกาเหนอื และทวปี ยุโรป ในปจั จุบนั
(ข) แนวเทอื กเขาในทวีปอเมรกิ าเหนอื และทวปี ยุโรป ที่เคยเชอ่ื มต่อกันในอดตี
ที่มา : หนังสอื เรียนรายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 39)
สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 2244

นอกจากน้ีนักวิทยาศาสตร์ยังได้ศึกษากลุ่มหินบริเวณทวีปอเมริกาใต้ทวีปแอฟริกาทวีป
ออสเตรเลียทวีปแอนตาร์กติกาและประเทศอินเดียพบว่าต่างก็มีกลุ่มหินท่ีมีช่วงอายุระหว่าง 359-
146 ล้านปี และมีสภาพแวดลอ้ มการเกิดของหนิ คลา้ ยคลึงกัน

(3) หลักฐานจากการเคลื่อนท่ีของธารน้าแข็งบรรพกาล จากการที่นักวิทยาศาสตร์ได้
ศึกษาสภาพภูมิอากาศบรรพกาลในทวปี ออสเตรเลียทวีปแอฟริกาทวีปอเมริกาใต้และประเทศอินเดีย
ซึ่งในปัจจุบันอยู่ในเขตร้อนชื้นหรือเขตอบอุ่นพบว่าในบางบริเวณของทวีปเหล่านั้นมีหลักฐานรอย
ครดู แสดงการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลในช่วงอายุ 280 ลา้ นปี ดังรูป 2.17 (ก) และเมื่อน้า
ขอบทวีปมาต่อกันพร้อมกับพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาลจากรอยครูดถูบน
หินฐานที่ธารน้าแข็งเคลื่อนท่ีผ่านพบว่าธารน้าแข็งบรรพกาลมีการเคลื่อนที่กระจายออกจากทวีป
แอฟริกาไปสู่บริเวณอื่นซ่ึงคล้ายคลึงกับลักษณะการเคล่ือนท่ีของธารน้าแข็งในทวีปแอนตาร์กติกา
ในปัจจุบันจึงเป็นสมมตุ ฐิ านว่าทวีปดังกลา่ วเคยอยตู่ ดิ กนั ใกล้บรเิ วณขว้ั โลกใต้และมีพืดน้าแข็งปกคลุม
ดังรูป 2.17 (ข)

รูปท่ี 2.17 หลักฐานจากการเคลื่อนที่ของธารนา้ แข็งบรรพกาล
(ก) บริเวณท่พี บหลกั ฐานจากการเคล่ือนทขี่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
ที่มา : หนังสอื เรียนรายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1 (หน้า 40)
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 2255

รปู ที่ 2.17 หลักฐานจากการเคล่อื นทีข่ องธารน้าแข็งบรรพกาล
(ข) ทวีปต่าง ๆ เคยต่อกันบริเวณข้ัวโลกใต้

ท่มี า : หนงั สือเรยี นรายวชิ าเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1 (หนา้ 41)
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 2266

บัตรกจิ กรรมที่ 2.1
เรอ่ื ง การสารวจหลกั ฐานสนับสนุนว่าทฤษฎเี คยอยู่ติดกันมากอ่ น

จดุ ประสงคก์ ิจกรรม
อธบิ ายและสร้างแบบจาลองหลกั ฐานทสี่ นบั สนุนแนวคดิ วา่ ทวปี เคยอยู่ตดิ กันมาก่อน

วสั ดุ-อปุ กรณ์
1. หลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ (รูป 1)
2. หลกั ฐานจากกลุ่มหินและแนวเทอื กเขา (รูป 2)
3. หลักฐานจากการเคล่ือนที่ของธารน้าแข็งบรรพกาล (รูป 3)
4. โครงรา่ งแผนทโี่ ลกปจั จบุ ัน (ภาคผนวก ก)
5. รปู แผน่ ทวปี ต่าง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อนั
7. ปากกาสี/ดินสอสี 1 ชดุ

รปู 1 หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 2277

รูป 2 หลกั ฐานจากกลุ่มหนิ และแนวเทอื กเขา

รปู 3 หลักฐานจากการเคลื่อนท่ขี องธารนา้ แขง็ บรรพกาล
โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 2288

สถานการณ์
"ถา้ นักเรียนต้องการนาเสนอแนวคดิ เรื่อง "ในอดตี ทวปี ทงั้ หมดเคยเปน็ แผ่นดนิ เดยี วกนั มา

กอ่ น" โดยใช้หลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ กลุ่มหนิ และแนวเทอื กเขา และการเคล่ือนท่ีของธารน้า
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปต่าง ๆ ทวั่ โลก" นักเรยี นจะมวี ธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมูลและ นาเสนอให้
คนทัว่ ไปยอมรบั แนวคดิ ดงั กล่าวไดอ้ ย่างไร

วธิ กี ารทากิจกรรม
1. นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะห์ เกี่ยวกบั สถานการณแ์ ละหลักฐานทีก่ าหนดใหด้ ังต่อไปนี้
- หลักฐานจากซากดึกดาบรรพ์
- หลกั ฐานความคล้ายกนั ของกล่มุ หินและแนวเทือกเขา
- หลกั ฐานจากการเคลอื่ นทข่ี องธารน้าแขง็ บรรพกาล
2. สืบค้น และรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ นาผลท่ีได้มาบันทึกลงในตารางที่

กาหนดให้
3. วิเคราะห์ข้อมลู จากตารางมาจดั ทาแผนที่แสดงการเชื่อมต่อกันของแผน่ ทวีป โดยใช้ โครง

ร่างแผนทที่ ก่ี าหนดให้
4. นาเสนอแผนทท่ี ่แี สดงการเชื่อมต่อกันของแผน่ ทวีป
5. รวบรวมความคิดเห็นท่ีได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้

สมบรู ณย์ ิ่งข้นึ

ตารางบนั ทกึ ข้อมลู ทวปี ประเทศ
หลักฐานท่ีใช้สนับสนุน
ุยโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเม ิรกาใต้
ออสเตรเลีย
แอฟ ิรกา
แอนตา ์รก ิตกา

ซากดึกดาบรรพ์ มีโซซอรัส
แนวเทอื กเขา ไซโนเนทสั
ลสิ โทซอรสั
กลอสโซพเทริส
แอปพาเลเชียน
คาเลโดเนียน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 2299
หลกั ฐานท่ใี ช้สนบั สนนุ
ทวปี ประเทศ

ยุโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเมริกาใ ้ต
ออสเตรเ ีลย
แอฟริกา
แอนตาร์ก ิตกา

ธารน้าแขง็ พบ/ไมพ่ บ
บรรพกาล

สรปุ ผลการทากิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

คาถามทา้ ยกิจกรรม
1. จากกิจกรรมมีทวปี ใดบา้ งท่ีเคยอยู่ติดกันมาก่อน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. มีหลกั ฐานใดบ้างท่ีนามาใช้สนับสนนุ ว่าทวีปเคยอยู่ติดกันมาก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3300

3. หลักฐานใดบ้างที่สามารถนามาใช้ระบุช่วงเวลาที่ทวีปต่าง ๆ เคยอยู่ติดกันมาก่อน
และหลักฐานดังกล่าวนามาใช้อธิบายได้ว่าอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3311

บัตรกิจกรรมท่ี 2.2
แผนผังมโนทัศน์ เรอ่ื ง แนวคดิ ของทฤษฎีทวปี เลอื่ นและหลักฐานสนับสนนุ

คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นสรุปความรู้ทเ่ี กีย่ วกบั “แนวคดิ ของทฤษฎที วีปเล่ือนและหลกั ฐานสนบั สนุน”
เปน็ แผนผงั มโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่แี จกใหแ้ ล้วนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 3322

บัตรกิจกรรมท่ี 2.3
ถอดบทเรียน เรือ่ ง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ

คาช้ีแจง ให้นักเรียนถอดบทเรียนท่ีเกี่ยวกับ “แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐาน
สนับสนุน” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น ในกระดาษชาร์ตที่กาหนดให้แล้วนาเสนอ
ผลงาน โดยนาไปติดปา้ ยนิเทศหนา้ ชั้นเรยี น

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3333

แบบฝึกหัด
เรือ่ ง แนวคิดของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนนุ

1. เพราะเหตุใด อัลเฟรด เวเกเนอร์ จงึ เชื่อวา่ ทวีปต่าง ๆ ในปัจจุบนั เคยตดิ กนั เป็นแผ่นเดยี วกันมา
ก่อน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ลกั ษณะของทวปี ในปจั จุบันเหมือนหรอื แตกต่างกบั ทวปี เมอ่ื ประมาณ 200 ล้านปีกอ่ นอยา่ งไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. ลักษณะของทวปี ในปัจจุบันเหมือนหรือแตกต่างกบั ทวีปเม่อื ประมาณ 200 ลา้ นปีก่อนอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3344

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง แนวคิดของทฤษฎที วีปเลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนุน

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหสั วิชา ว30104 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6

คาชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที
2. จงเลอื กคาตอบที่ถูกต้องท่สี ดุ แล้วเขียนเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ

1. บุคคลใดที่เปน็ ผู้เสนอทฤษฎี ทวีปเล่ือน
ก. กาลิเล โอ
ข. รอเบิร์ต ฮุก
ค. ฟรานซิส เบคอน
ง. อัลเฟรด เวเกเนอร์

2. โครงสรา้ งของโลกตามลักษณะมวลสารแบ่งเป็น 3 ชั้นใหญ่ๆประกอบไปด้วยช้ันใดบ้าง
ตามลาดับ

ก. ช้ันเปลือกโลก, ชั้นผิวโลก, ชั้นเน้ือโลก
ข. ชั้นเปลือกโลก, ชั้นเนื้อโลก, ชั้นแก่นโลก
ค. ช้ันเปลือกโลก, แก่นโลกช้ันใน, ชั้นแก่นโลก
ง. ช้ันเปลือกโลก, แก่นโลกช้ันนอก, แก่นโลกชั้นใน

3. กระบวนการที่ทาให้เกิดการเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณเี กดิ จากอะไร
ก. การถ่ายโอนความร้อนภายในโลก
ข. การนาความร้อนของแผ่นธรณี
ค. ความหนาแน่นของแผ่นธรณี
ง. การหลอมระลายของชิ้นหิน

4. ธรณีภาคแผ่นอินเดียเคลื่อนเข้ามุดชนกับแผ่นธรณีภาคแผน่ ยูเรเซียทาให้เกิดส่ิงใด
ก. แผ่นดินไหว
ข. เทือกเขาแอลป์
ค. เทือกเขาหิมาลัย
ง. การนาความร้อนของแผ่นธรณี

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3355

5. ธรณีภาค เกิดจากอะไร
ก. การหลอมละลายของช้ันหิน
ข. เปลือกโลกส่วนที่เป็นแผ่นดิน
ค. เน้ือโลกส่วนบนกับช้ันเปลือกโลกรวมกัน
ง. การรวมตัวของโลหะเหล็กและนิเกิลด้วยความร้อนสูง

6. ในการศึกษาเรื่องใด ๆ อาจมแี นวคดิ หรือทฤษฎีในเรอ่ื งนน้ั ๆไดม้ ากกวา่ หนง่ึ ทงั้ น้ขี ึ้นอยกู่ บั
อะไร

ก. เวลาท่คี น้ พบ
ข. ผูท้ าการค้นควา้
ค. ขอ้ มลู ท่ีถูกค้นพบ
ง. เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการศึกษา

7. อุณหภูมิและความดันของแมกมาลดลงเป็นผลทาให้เกิดสิ่งใด
ก. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนและมุดลงใต้แผ่นธรณีภาคพื้นทวีปทาให้เกิดเหวลึก
ข. ธรณีภาคแผ่นหนึ่งมุดซ้อนลงใต้อีกแผ่นหน่ึงทาให้เกิดเทือกเขาสาคัญ
ค. เปลือกโลกตอนบนทรุดตัวทาให้เกิดหุบเขาทรุด
ง. ไม่มีผลกระทบต่อส่ิงใด

8. ข้อใดถูกต้องท่ีสุดเก่ียวกับทวีปเล่ือน
ก. เกิดจากทวีป 2 ทวีปเลื่อนตัวเข้าหากัน
ข. ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกาเลื่อนเข้าหากันกลายเป็นทวีปขนาดใหญ่
ค. แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทาให้ทวีปที่อยู่ติดกันเลื่อนออกจากกัน
ง. ทวีปที่เดิมเป็นผืนแผ่นเดียวกันจะเริ่มค่อยๆ มีการแยกตัวออกจากกัน

9. แผ่นธรณีภาค 2 ชนิดได้แก่แผ่นทวีปและแผน่ มหาสมุทรข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. เป็นแผ่นธรณีภาคที่เคลื่อนที่ตลอดเวลา
ข. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่มีการเปล่ียนแปลง
ค. เป็นแผ่นธรณีภาคที่ไม่สามารถเคล่ือนที่ได้
ง. เป็นแผ่นธรณีภาคที่อยู่ใต้มหาสมุทรเท่านั้น

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3366

10. แผ่นธรณีภาคแผ่นใดแผน่ หน่ึงจะมุดลงใต้อีกแผ่นหนึ่งเกิดล่องลึกก้นสมุทรและแนวภูเขา
ไฟใต้ทะเลเกดิ จากอะไร

ก. ขอบแผ่นธรณีภาคเคล่ือนที่ผ่านกัน
ข. แผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีปชนกับแผ่นธรณีภาคพื้นทวีป
ค. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรชนกับแผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทร
ง. แผ่นธรณีภาคใต้มหาสมุทรเคลื่อนท่ีมุดชนกับแผ่นธรณีภาคภาคพื้นทวีป

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลักฐานสนบั สนนุ 3377

กระดาษคาตอบ
แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎีทวีปเลื่อนและหลักฐานสนับสนนุ

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง
ข้อ ก ข ค ข้อ ก ข ค
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน
ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3388

บรรณานุกรม

กรมทรัพยากรธรณี. (2544), ธรณีวิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว
เนอื่ งในวโรกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม
2542. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : กองธรณีวิทยากรมทรัพยากรธรณี.

กรมทรพั ยากรธรณี. (2550), ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พมิ พ์คร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ดอกเบีย้ .
ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2558) พจนานกุ รมศัพทธ์ รณีวิทยา A-M. (พิมพค์ รง้ั ที่ 2). กรุงเทพฯ :

สานักพมิ พค์ ณะรัฐมนตรแี ละราชกจิ จานุเบกษา.
ราชบัณฑติ ยสถาน. (2558), พจนานุกรมศพั ทธ์ รณวี ิทยา N-Z. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 2). กรุงเทพฯ :

สานักพมิ พ์คณะรฐั มนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐาน

วทิ ยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2551). หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ ร้ังท่ี 8). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). หนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่ิมเตมิ

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ ร้ังที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค.
สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2561). หนงั สือเรยี นรายวิชาเพิม่ เติม

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 1. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์
แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563). หนงั สือเรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พิมพ์คร้ังท่ี 1).
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2563). คมู่ ือครูรายวชิ าพนื้ ฐาน
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ. (พมิ พค์ รั้งที่ 1).
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.
http://508 star.blogspot.com
http://www.baanjomyut.com
http://khanaporn.exteen.com
https://sites.google.com/site/worldandchange56/

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคดิ ของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 3399

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 4400

เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 2.1
เรือ่ ง การสารวจหลักฐานสนับสนุนว่าทฤษฎีเคยอยู่ติดกันมากอ่ น

จดุ ประสงคก์ ิจกรรม
อธบิ ายและสรา้ งแบบจาลองหลักฐานทีส่ นบั สนนุ แนวคิดวา่ ทวปี เคยอย่ตู ดิ กันมาก่อน

วัสดุ-อุปกรณ์
1. หลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ (รูป 1)
2. หลักฐานจากกลมุ่ หนิ และแนวเทือกเขา (รูป 2)
3. หลกั ฐานจากการเคลือ่ นที่ของธารนา้ แข็งบรรพกาล (รูป 3)
4. โครงร่างแผนทโี่ ลกปจั จบุ ัน (ภาคผนวก ก)
5. รปู แผ่นทวปี ต่าง ๆ (ภาคผนวก ข)
6. กรรไกร 1 อัน
7. ปากกาสี/ดนิ สอสี 1 ชุด

รูป 1 หลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์
โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ที่ 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอื่ นและหลักฐานสนบั สนนุ 4411

รูป 2 หลกั ฐานจากกลุ่มหนิ และแนวเทอื กเขา

รปู 3 หลักฐานจากการเคลื่อนท่ขี องธารนา้ แขง็ บรรพกาล
โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแก้งเหนอื พทิ ยาคม

ชดุ ท่ี 2 แนวคิดของทฤษฎเี ลอ่ื นและหลกั ฐานสนบั สนนุ 4422

สถานการณ์
"ถ้านักเรยี นต้องการนาเสนอแนวคิดเรือ่ ง "ในอดีตทวปี ท้ังหมดเคยเปน็ แผ่นดินเดยี วกนั มา

ก่อน" โดยใช้หลกั ฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์ กลมุ่ หินและแนวเทือกเขา และการเคลือ่ นท่ีของธารน้า
แข็งบรรพกาล ที่พบจากในทวีปตา่ ง ๆ ทั่วโลก" นักเรยี นจะมวี ิธีการวิเคราะห์ข้อมลู และ นาเสนอให้
คนทวั่ ไปยอมรับแนวคดิ ดังกล่าวไดอ้ ย่างไร

วธิ กี ารทากิจกรรม
1. นักเรยี นรว่ มกันวเิ คราะห์ เกี่ยวกบั สถานการณ์และหลักฐานทก่ี าหนดใหด้ งั ต่อไปน้ี
- หลักฐานจากซากดกึ ดาบรรพ์
- หลักฐานความคลา้ ยกนั ของกล่มุ หินและแนวเทอื กเขา
- หลกั ฐานจากการเคลอื่ นทขี่ องธารนา้ แข็งบรรพกาล
2. สืบค้น และรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ นาผลท่ีได้มาบันทึกลงในตารางท่ี

กาหนดให้
3. วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากตารางมาจัดทาแผนที่แสดงการเช่อื มต่อกันของแผน่ ทวีป โดยใช้ โครง

รา่ งแผนท่ที กี่ าหนดให้
4. นาเสนอแผนทท่ี ่แี สดงการเชอ่ื มตอ่ กันของแผน่ ทวปี
5. รวบรวมความคิดเห็นท่ีได้จากการนาเสนอและอภิปรายร่วมกันมาปรับปรุงผลงานให้

สมบรู ณย์ ่งิ ขน้ึ

ตารางบันทึกขอ้ มลู ทวีปประเทศ
หลักฐานท่ใี ช้สนบั สนนุ
ุยโรป
เอเ ีชย
ิอนเดีย
อเมริกาเหนือ
อเม ิรกาใต้
ออสเตรเลีย
แอฟ ิรกา
แอนตา ์รก ิตกา

ซากดกึ ดาบรรพ์ มีโซซอรัส 
แนวเทอื กเขา ไซโนเนทสั 
ลสิ โทซอรสั
กลอสโซพเทริส 
แอปพาเลเชียน  
คาเลโดเนียน

โดย : นางมงคล จนั ทราภรณ์ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นแกง้ เหนอื พทิ ยาคม