วิจัย เอกสารประกอบการเรียน คณิต

42 และความพงึ พอใจของนักเรยี นทมี่ ีตอ่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาน้ีอยู่ใน ระดับมากท่ีสุด ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา โดยมีคะแนนการประเมินเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเทา่ กบั 4.58 และ 0.49 ตามลาดบั 2.6.4 ละมูล วันทา (2557) ได้ศึกษาการใช้เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง เลขยกกาลัง ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ความมุง่ หมายของการวจิ ยั ดงั นี้ (1) เพ่ือหาประสิทธิภาพของการใช้เอกสารประกอบ การเรียน เรื่องเลขยกกาลัง (2) เพ่ือประกอบการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้เกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 (3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผ้เู รยี นกอ่ นใช้เอกสารประกอบการเรยี นและหลังใช้เอกสารประกอบการเรียน และ (4) เพ่ือศึกษาดัชนีประสิทธิผลของเอกสารประกอบการเรียน และศึกษาความพึงพอใจในการใช้เอกสาร ประกอบการเรียน ประชากรการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้เป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2557 ของโรงเรียนบ้านบุพราหมณ์ สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2 จานวน 25 คน ผลการวิจัยพบว่า เอกสารประกอบการเรียนที่ผู้ศึกษาค้นคว้าสร้างข้ึนจานวน 7 เล่ม มีประสิทธิภาพ 86.29 /84 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ได้กาหนดเอาไว้ การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนและหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียน ผลปรากฏว่า ผู้เรยี นมคี ะแนนสูงขึ้นทุกเล่ม อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 การวัดดัชนีประสิทธิผลของเอกสาร ประกอบการเรียน ปรากฏว่า ผู้เรียนมีดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ .44 แสดงว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้า ทางการเรียนเพ่ิมขึ้นร้อยละ 44.00 และการเปรียบเทียบค่าความพึงพอใจในการใช้เอกสารประกอบ การเรียนของผู้เรียนในแต่ละเล่ม ปรากฏว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในการใช้เอกสารประกอบการเรียน อย่ใู นระดบั มาก 2.6.5 นสิ ากร อับดุลเลาะห์ (2558) ได้ศึกษาการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา คณติ ศาสตร์ ค32101 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ความมุ่งหมายของการวิจัย ดังนี้ (1) เพื่อสร้างและหา ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ ค32101 ระดับช้ันมัธยม ศึกษาปีท่ี 5 (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ค32101 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 (3) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ของนักเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา คณิตศาสตร์ ค32101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 และ (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ ค32101 ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โดยศกึ ษากบั กลุม่ ตัวอย่างนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 อิสลามวิทยาลัยแห่งประเทศไทย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพ มหานคร จานวนนกั เรยี นทงั้ หมด 51 คน ผลการวิจยั พบว่า ประสทิ ธภิ าพของเอกสารประกอบการเรียน การสอน หน่วยท่ี 1 เร่ือง ลาดับและอนุกรม จานวน 5 ชุด และหน่วยท่ี 2 เรื่อง ความน่าจะเป็น จานวน 2 ชุด มีประสิทธิภาพ 84.35/84.54 และ 84.93/84.62 ตามลาดับ ข้ันทดลองภาคสนามกับ นักเรียนจานวน 48 คน ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ท่ี 80/80 และเป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา ดัชนี ประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาดังกล่าว หน่วยท่ี 1 เรื่อง ลาดับและอนุกรม และ หน่วยที่ 2 เรื่อง ความน่าจะเป็น มีค่าเท่ากับ 0.8845 หรือร้อยละ 88.45 และ 0.8902 หรือร้อยละ 89.02 ตามลาดับ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา ที่กาหนดดัชนี

43 ประสิทธิผลไว้ท่ีร้อยละ 50 ผลการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉล่ียระหว่างก่อน และหลังการ จัดการเรยี นรู้ โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรยี นการสอน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติท่ีระดับ .01 ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาน้ีอยู่ในระดับ มากที่สุด ซึ่งอยู่ใน ระดับสูงกว่า สมมติฐานการศึกษา โดยมีคะแนนการประเมินเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 4.79 และ 0.51 ตามลาดับ จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า เอกสารประกอบ การสอนเป็นส่ือการเรียนการสอนอีกชนิดหน่ึง ที่ได้นาเอานวัตกรรมทางการศึกษามาใช้เพ่ือปรับปรุง แกไ้ ขให้การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ในเน้ือหาวิชาตา่ ง ๆ ใหผ้ เู้ รียนสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทาให้ เกิดการเรียนรู้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเอกสารประกอบ การสอนเป็นสื่อการสอนที่สาคัญต่อครูและผู้เรียน ช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุเปูาหมายตาม มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของหลักสูตรท่ีกาหนดไว้และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจที่จะ ค้นคว้าหาความรู้ต่อไป เอกสารประกอบการสอนท่ีดีจะต้องมีกระบวนการผลิตและพัฒนาอย่างเป็น ระบบ เป็นข้ันตอน เช่น การกาหนดเปูาหมายและจุดประสงค์ของการเขียนที่ชัดเจน การวาง โครงสรา้ งของตน้ ฉบับ การกาหนดวิธกี ารและรูปแบบการนาเสนอเน้ือหา จากน้ันก็นาเกณฑ์เหล่านี้ไป สร้างตน้ ฉบบั ตามท่กี าหนดไว้ และประเมนิ คุณภาพของต้นฉบับก่อนนาไปสู่ผู้เรียนต่อไป จากหลักการ และเหตุผลทก่ี ลา่ วมานี้ ผู้วิจัยจงึ มคี วามสนใจในการสร้างเอกสารประกอบการสอน เพ่ือเป็นเคร่ืองมือ ช่ ว ย ใ น กา ร จั ด กิจ ก ร ร ม กา ร เ รี ย น รู้ แ ล ะพั ฒ น า ผู้ เ รี ย น ใ ห้ มี ผ ล สั มฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น ให้ สู ง ข้ึ น ต า ม วัตถุประสงค์ท่ีตอ้ งการ

บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการศึกษา การพัฒนาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 คร้ังน้ี ผู้วิจัยได้กาหนดวิธีการ ดาเนินการศึกษา ซ่ึงจะกลา่ วรายละเอียดตามลาดับหัวข้อตอ่ ไปนี้ 3.1 การพัฒนาและหาประสทิ ธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ 3.2 การสร้าง ตรวจสอบเคร่ืองมอื และเก็บรวบรวมข้อมูล 3.3 การทดลองใช้เอกสารประกอบการสอน 3.1 การพัฒนาและหาประสิทธภิ าพของเอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง กลยทุ ธก์ ารคิด พิชติ การแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ ในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยทุ ธก์ ารคิด พิชติ การแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ ตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี 3.1.1 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พชิ ติ การแก้โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้ศึกษา หลักการ ทฤษฎี แนวคดิ วิธีการ และเอกสารท่เี กยี่ วข้อง มีขั้นตอนดังนี้ 3.1.1.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือ แบบเรียน และเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับมาตรฐานการ เรยี นรู้และตัวชวี้ ัดของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 3.1.1.2 ศึกษาวิธีการ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและเทคนิคการสร้างเอกสารประกอบ การสอน เพื่อนามาสร้างให้สอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและจุดประสงค์ การเรียนรู้ 3.1.1.3 สบื ค้นข้อมลู จากอนิ เตอร์เน็ต และแหลง่ วิทยาการตา่ ง ๆ 3.1.1.4 การสร้างเอกสารประกอบการสอน โดยออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เร่ือง กลยุทธก์ ารคิด พชิ ติ การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ เน้ือหาทใ่ี ชใ้ นเอกสารประกอบการสอน ประกอบดว้ ยกลยุทธ์การคดิ เป็น 8 กลยุทธ์ ดงั นี้ กลยทุ ธ์การคดิ ท่ี 1 การวาดภาพ กลยุทธ์การคิดที่ 2 การหาแบบรูป กลยุทธ์การคดิ ที่ 3 การคดิ แบบย้อนกลับ กลยทุ ธ์การคิดท่ี 4 การสรา้ งตาราง กลยุทธ์การคดิ ที่ 5 การเดาและตรวจสอบ กลยุทธ์การคิดที่ 6 การทาในรปู อย่างง่าย กลยุทธ์การคิดท่ี 7 การแจกแจงกรณีท่เี ป็นไปได้ท้ังหมด กลยุทธ์การคิดที่ 8 การเลือกกลยทุ ธ์

45 3.1.1.5 นาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ เสนอต่อผู้เชยี่ วชาญ เพอื่ หาประสิทธภิ าพ 3.1.1.6 นาแบบประเมินเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้ โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ท่ีผู้เชี่ยวชาญตรวจให้คะแนนมาหาค่าเฉล่ีย โดยยึดเกณฑ์ IOC เป็นการ ตัดสินว่าผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจ และเห็นว่าเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์ มีประสิทธภิ าพ 3.1.1.7 นาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ ที่ผา่ นการพจิ ารณาของผู้เช่ยี วชาญแล้วไปทดลองสอน เพ่ือนาไปปรับปรุงแก้ไขและนาไป ทดลองใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ทเี่ ป็นกลมุ่ ตัวอย่างตอ่ ไป 3.1.2 การสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังน้ี 3.1.2.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือ แบบเรียน และเอกสารท่ีเก่ียวข้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้และตวั ช้ีวัดของกล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 3.1.2.2 ศกึ ษาหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เกย่ี วกับ เร่ือง กลยทุ ธก์ ารคิด พชิ ิตการแกโ้ จทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 3.1.2.3 ศกึ ษาหลกั การ วธิ ีการ ทฤษฎแี ละเทคนคิ การสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ และ จากเอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง 3.1.2.4 วิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1.2.5 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามเน้ือหาที่กาหนดไว้ จานวน 16 คาบ ได้ แผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 8 แผน 3.1.2.6 นาแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ เสนอผู้เชี่ยวชาญเพ่ือหาประสิทธิภาพ โดยใช้แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ที่ ผู้เช่ียวชาญตรวจให้คะแนนมาหาค่าเฉล่ีย โดยยึดเกณฑ์ IOC เป็นการตัดสินว่าผู้เชี่ยวชาญมีความพึง พอใจ และเห็นว่าแผนการจดั การเรียนรู้ มีประสิทธิภาพ นาไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเปน็ กลุม่ ตวั อย่างต่อไป 3.2 การสร้าง ตรวจสอบเคร่ืองมือและเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งน้ีผู้วิจัยได้ทาการสร้างเครื่องมือ ตรวจสอบเคร่ืองมือ และเก็บรวบรวมข้อมูล ตามขน้ั ตอนตอ่ ไปนี้ 3.2.1 การสร้างแบบประเมินเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง กล ยุทธก์ ารคิด พชิ ิตการแก้โจทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซ่ึงมีข้นั ตอน ดังน้ี 3.2.1.1 กาหนดประเด็นและรายการท่ตี ้องการประเมนิ 3.2.1.2 ออกแบบประเมินมีลักษณะเปน็ มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดบั ตามวิธขี องลเิ คิรท์ (Likert) (สมนึก ภทั ทยิ ธนี. 2553 : 36-42) เป็นระดับการประเมิน ดังน้ี

46 5 หมายถึง มีระดับความคดิ เหน็ อยู่ในระดบั มากที่สดุ 4 หมายถึง มีระดับความคดิ เหน็ อย่ใู นระดบั มาก 3 หมายถึง มรี ะดับความคดิ เห็นอย่ใู นระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มรี ะดบั ความคดิ เหน็ อย่ใู นระดบั น้อย 1 หมายถงึ มรี ะดบั ความคดิ เห็นอยใู่ นระดับ น้อยทส่ี ดุ 3.2.1.3 นาประเด็นและรายการประเมินต่าง ๆ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความ เหมาะสม ให้คาแนะนา ขอ้ เสนอแนะ และปรับปรุงแก้ไขแบบประเมิน 3.2.1.4 จดั ทาแบบประเมนิ ฉบับสมบูรณ์ สาหรบั นาไปใช้จริง 3.2.2 การประเมินเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ผ้เู ชย่ี วชาญ ซึ่งมขี ้นั ตอนดงั น้ี 3.2.2.1 นาเอกสารประกอบการเรียนการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ จานวน 3 ท่าน เพื่อประเมินเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ซึ่งแบบประเมินผู้วิจัยเสนอมีลักษณะเป็น มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) (สมนึก ภัททิยธนี. 2553 : 36-42) ซ่งึ มี 5 ระดับ คอื มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ุด กาหนดเกณฑ์แปลความหมายค่าเฉล่ียคะแนนการประเมิน ดงั นี้ 4.50 - 5.00 ระดับการประเมนิ มากทสี่ ดุ 3.50 - 4.49 ระดบั การประเมิน มาก 2.50 - 3.49 ระดับการประเมิน ปานกลาง 1.50 - 2.49 ระดับการประเมนิ น้อย 1.00 - 1.49 ระดบั การประเมิน นอ้ ยท่ีสดุ 3.2.2.2 นาแบบประเมินไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจให้คะแนน หาค่าเฉลี่ยโดยยึดเกณฑ์ การตัดสิน 3.2.3 ปรับปรุงเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชติ การแกโ้ จทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 3.2.3.1 นาเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีพัฒนา และปรับปรุง แก้ไขตามคาแนะนาของผู้เช่ียวชาญ นาเอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการ เรียนรู้ที่ผู้วิจัยพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขตามคาแนะนาแล้ว เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญอีกคร้ังหนึ่ง เพ่ือ ตรวจสอบความถกู ต้อง และชดั เจนยงิ่ ขึ้น ซ่ึงคณะผูเ้ ช่ยี วชาญประกอบด้วย 1. นายสมเกียรติ จันทรประภา ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรยี นเบตง \"วีระราษฏร์ประสาน\" อาเภอเบตง จังหวดั ยะลา 2. นางเพียงพิศ สุขประเสริฐ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนเบตง \"วีระราษฏร์ประสาน\" อาเภอเบตง จังหวัดยะลา

47 3. นายเสกสรร เพ่งพศิ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ โรงเรียน ยา่ นตาขาวรัฐชนปู ถัมภ์ อาเภอย่านตาขาว จังหวดั ตรงั 3.2.3.2 เมื่อผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพของเอกสารการสอนและแผนการจัดการ เรียนรู้ เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จึงนาไปใช้ทดลองกับนกั เรียนกลมุ่ ตวั อย่างตอ่ ไป 3.2.4 การทดลองใช้เอกสารประกอบการสอน นาเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ไปทดลองใช้กบั กล่มุ ตวั อย่าง ได้แกน่ ักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3/7 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัด ยะลา จานวน 32 คน 3.2.5 การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน และการหา ประสทิ ธิภาพของแบบทดสอบ ผู้วจิ ยั ได้ดาเนนิ การสรา้ งตามข้นั ตอนดงั นี้ 3.2.5.1 ศึกษาเอกสารตาราที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ และ วธิ ีการหาคา่ ความเทยี่ งตรง คา่ อานาจจาแนก ค่าความเช่อื ของแบบทดสอบ 3.2.5.2 วิเคราะห์หลักสูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ในสว่ นมาตรฐานการเรียนรู้ สูต่ ัวชีว้ ดั 3.2.5.3 ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับแบบทดสอบ การวัดผล และการประเมินผลการ เรยี นรู้ของบุญชม ศรสี ะอาด (2545 : 50 - 63 ) ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ (2543 : 65 - 67) เพอ่ื เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ 3.2.5.4 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ข้อสอบแบบปรนยั 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ขอ้ 3.2.5.5 นาแบบทดสอบท่ีสร้างขึ้นเสนอผู้เชี่ยวชาญชุดเดิม ตรวจพิจารณาประเมิน ความสอดคล้องระหว่างแบบทดสอบกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้ท่ตี ้ังไว้ โดยมเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี ใหค้ ะแนน +1 เมอื่ แนใ่ จว่าสอดคล้อง กบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้และเนื้อหา ใหค้ ะแนน 0 เม่อื ไมแ่ นใ่ จว่าสอดคล้อง กบั จดุ ประสงค์การเรยี นรแู้ ละเน้ือหา ใหค้ ะแนน -1 เม่อื แน่ใจวา่ ไม่สอดคล้อง กบั จุดประสงค์การเรียนรู้และเน้อื หา 3.2.5.6 วิเคราะห์ข้อสอบโดยผู้เช่ียวชาญชุดเดิม เพ่ือหาค่าความเที่ยงตรงโดยใช้สูตร IOC 3.2.5.7 นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กับนักเรียนโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัด ยะลา ทีไ่ มใ่ ช่กลุ่มตัวอยา่ ง 3.2.5.8 วิเคราะห์ข้อสอบรายข้อ คือ หาค่าความยากง่าย (P) เกณฑ์คะแนนระหว่าง 0.20 – 0.80 ความยากง่ายของข้อสอบมีค่าไม่เกิน 1 แต่ค่าท่ียอมรับได้จะอยู่ระหว่าง 0.2 ถึง 0.8 และค่าอานาจจาแนก (r) โดยให้คะแนนและเรียงอันดับและทาการจัดแยกเด็กเป็นกลุ่มสูง – กลุ่มต่า โดยใช้เทคนิค 25 % ของจุง เต ฟาน เกณฑ์การใหค้ ะแนนค่าอานาจจาแนกจะมีค่าอยู่ระหวา่ ง –1 ถงึ 1 ค่าอานาจจาแนกมีคา่ มากกวา่ 0.40 ถอื ว่าข้อคาถามขอ้ นั้นมอี านาจจาแนกดีมาก ถ้าอยูร่ ะหว่าง 0.30 – 0.39 ถอื ว่าขอ้ คาถามข้อนัน้ มอี านาจจาแนกดี

48 ถ้าอยู่ระหว่าง 0.20 – 0.29 ถอื ว่าขอ้ คาถามข้อนัน้ ควรปรบั ปรงุ ใหม่ และถา้ มคี า่ ต่ากว่า 0.20 ถอื วา่ ขอ้ คาถามขอ้ นัน้ มคี ่าอานาจจาแนกไมด่ ี จะตอ้ งตดั ข้อสอบข้อน้นั ทิ้งไป 3.2.5.9 การคัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากง่าย (P) ระหว่าง 0.20 – 0.80 และค่า อานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20 ขึ้นไป 3.2.5.10 วิเคราะห์ความเช่ือม่ันของแบบทดสอบท้ังฉบับ โดยใช้สูตร KR–20 ของ คูเดอร์ รชิ าร์ด 3.2.5.11 นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่ีผ่านการหาประสิทธิภาพแล้วไป ใชใ้ นการทดลองต่อไป 3.2.6 การสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่มี ตี ่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบ การสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ทีผ่ วู้ ิจัยสร้างขนึ้ ไดด้ าเนินการสรา้ งตามขั้นตอน ดังนี้ 3.2.6.1 ศึกษาวิธกี ารสรา้ งแบบสอบถามจากเอกสารตา่ ง ๆ และงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 3.2.6.2 ศึกษาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อกาเรียนด้วยเอกสาร ประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 3.2.6.3 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน มีลักษณะเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) ซ่ึงมี 5 ระดับ คือ มีความพึงพอใจในระดับ มากที่สุด มีความพึงพอใจในระดับมาก มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง มีความพึงพอใจในระดับ น้อย และมคี วามพงึ พอใจในระดบั น้อยทส่ี ุด จานวน 20 ข้อ 3.2.6.4 เกณฑ์การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยเอกสาร ประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนโดยกาหนดเกณฑ์การให้คะแนนความพึงพอใจของ นักเรยี น ตามวิธีของลเิ คิร์ท (Likert) ดังนี้ กาหนดเกณฑ์แปลความหมายค่าเฉล่ียคะแนนการประเมิน ดงั นี้ 4.50 - 5.00 ระดบั การประเมนิ มคี วามพึงพอใจในระดับมากทสี่ ุด 3.50 - 4.49 ระดบั การประเมนิ มีความพึงพอใจในระดับมาก 2.50 - 3.49 ระดบั การประเมนิ มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 ระดบั การประเมิน มีความพึงพอใจในระดบั น้อย 1.00 - 1.49 ระดบั การประเมนิ มีความพึงพอใจในระดบั น้อยทีส่ ดุ 3.2.6.5 นาแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นไปเสนอ ผเู้ ชี่ยวชาญชดุ เดิม ตรวจสอบเพอ่ื แก้ไขดา้ นเน้ือหาให้เหมาะสมก่อนท่ีจะนาไปใช้จรงิ 3.2.6.6 นาผลท่ีได้มาปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสมแล้ว จึงจัดพิมพ์เป็นแบบสอบถาม ความพึงพอใจของผเู้ รียนทีส่ มบูรณเ์ หมาะสาหรับใช้ในครัง้ ต่อไป

49 3.3 การทดลองใชเ้ อกสารประกอบการสอน ในการทดลองใช้เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ประกอบดว้ ยข้ันตอน ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.3.1 ประชาการและกลุ่มตัวอย่าง 3.3.1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เปน็ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียน คณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษายะลาเขต 15 กระทรวงศึกษาธิการ 3.3.1.2 กลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีเป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษายะลาเขต 15 กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 32 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง 3.3.2 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการศึกษา ประกอบด้วย 3.3.2.1 เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 3.3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ จานว น 1 ฉบับ ครอบคลุมเนื้อหาเรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เป็นขอ้ สอบปรนัยแบบเลอื ก 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ข้อ 3.3.2.3 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยเอกสาร ประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 3.3.3 การดาเนินการทดลอง ในการทดลองใช้เอกสารประกอบการสอนน้ันได้วางแผนไวใ้ นภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2559 และกาหนดในแผนการจัดการเรยี นรู้ซึ่งมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 3.3.3.1 การกาหนดแบบแผนการทดลอง การทดลองที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามรูปแบบการวิจัยเชิง ทดลองเบ้ืองตน้ แบบกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว โดยมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (One Group Pretest – Posttest Design) ดงั ภาพที่ 2 X1 Tr1 X2 (Pretest) (Treatment) (Posttest) ทดสอบก่อนทดลอง ใช้ตัวแปรทดลอง ทดสอบหลงั ทดลอง ภาพที่ 2 การออกแบบการทดลอง

50 สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการทดลอง X1 หมายถึง การทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี น X 2 หมายถึง การทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลังเรยี น Tr1 หมายถงึ การจัดกิจกรรมการเรยี นโดยใช้เอกสารประกอบการสอน 3.3.3.2 การดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล มีขน้ั ตอนดงั น้ี การศกึ ษาในคร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ได้ทาการทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน แล้วนาผล คะแนนทไ่ี ดม้ าเปรยี บเทียบเพือ่ ศกึ ษาหาความกา้ วหน้า 1. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัย ชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ โดยผู้วิจัยทดสอบผู้เรียนก่อนเรียนเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ได้ตรวจและบนั ทึกคะแนนไว้ 2. ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยทุ ธ์การคดิ พชิ ติ การแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ในแต่ละกลยุทธ์การคิดให้นักเรียนทาแบบฝึกทักษะตามท่ีกาหนดไว้ การจัดกิจกรรมเพื่อรวบรวม ข้อมูลไว้สาหรับตรวจสอบประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน โดยกาหนดคะแนนตามแบบฝึก ทักษะละ 20 คะแนน จานวน 8 แบบฝกึ รวม 160 คะแนน ไดต้ รวจและบนั ทึกคะแนนไว้ 3. ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อเอกสารประกอบการ สอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 20 ข้อ 4. ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัย ชนิด เลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ขอ้ โดยผวู้ ิจยั ทดสอบผู้เรียนหลังเรียนเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พชิ ติ การแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 3 ไดต้ รวจและนาคะแนนที่ไดเ้ ปรียบเทยี บกบั คะนนวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรยี น 3.3.3.3 การวิเคราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะหข์ ้อมลู ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังนี้ 1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่า ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนและคะแนนวัดความรู้พ้ืนฐานก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง กลยุทธ์การคดิ พิชติ การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ 2. สถิติตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวิจัย ได้แก่ การหาความตรง (Validity) เชิงเนื้อหา (IOC) การหาค่าความยากง่าย (Difficulty) ค่าอานาจจาแนก (Discrimination) และค่า ความเช่อื มน่ั (Reliability) 3. สถิติตรวจสอบสมมตฐิ าน ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของ E1/E2 การวเิ คราะห์ความแตกตา่ งระหว่างคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น โดยใช้ t-test (Dependent Samples)

51 3.3.3.4 สถติ ิท่ใี ช้ในการวิจยั 1. สถิติพน้ื ฐานท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ครั้งนี้ ไดแ้ ก่ 1.1 ค่ารอ้ ยละ (Percentage) คานวณจากสูตร ดงั นี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 112) P  f 100 N เมอ่ื P แทน ร้อยละ f แทน ความถท่ี ต่ี อ้ งการแปลงใหเ้ ปน็ ร้อยละ N แทน จานวนความถี่ท้ังหมด 1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) คานวณจากสูตร ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 102) N  Xi X  i1 N เมอ่ื X แทน ค่าเฉลย่ี ของคะแนน N แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมดในกลุม่  Xi i 1 N แทน จานวนนักเรียนทีเ่ ป็นกลุ่มตัวอย่าง 1.3 ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คานวณจากสูตร ดังนี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 103) nn  N X 2  ( Xi )2 i S.D.  i1 i1 N (N 1) เม่ือ S.D. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จานวนนกั เรยี นที่เปน็ กลุม่ ตวั อยา่ ง 2. สถติ ติ รวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือวิจยั ไดแ้ ก่ 2.1 การหาคา่ ความตรง (Validity) เชงิ เนื้อหาของแบบทดสอบวัดผล สมั ฤทธิท์ างการเรยี นโดยใช้สตู รดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ดังน้ี (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 : 105) IOC =  R N เมื่อ IOC แทน ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างจดุ ประสงคก์ ับเนื้อหา หรอื ระหวา่ งขอ้ สอบกับจุดประสงค์  R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญทงั้ หมด N แทน จานวนผู้เชีย่ วชาญทัง้ หมด

52 พิจารณาคัดเลือกจุดประสงค์หรือข้อสอบที่มีคะแนนเฉล่ียตั้งแต่ .05 ถึง 1.00 ซึ่ง แสดงว่าจุดประสงค์น้ันวัดได้ครอบคลุมกับเน้ือหาตามน้ัน หรือข้อสอบข้อน้ันวัดได้ตรงตาม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (ถ้าคะแนนเฉล่ียน้อยกว่า .05 แสดงว่ามีความสอดคล้องต่า ต้องปรับปรุง แก้ไขอย่างใดอย่างหน่งึ หรือตดั ออกไม่นามาใช้) 2.2 การหาค่าความยากง่าย (Difficulty) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นโดยใช้สูตรดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) ดังนี้ (บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2545 : 81) P  R N เมอ่ื P แทน ค่าความยากง่าย R แทน จานวนผตู้ อบถูกทงั้ หมด N แทน จานวนคนในกลุ่มสูงและกลุ่มต่า คา่ P ท่ีเหมาะสมมีค่าอยูร่ ะหวา่ ง 0.20 – 0.80 2.3 การหาค่าอานาจจาแนก (Discrimination) ของแบบทดสอบวัดผล สมั ฤทธท์ิ างการเรียน โดยใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 81) r  RU  RL f เม่อื r แทน ค่าความยากงา่ ย RU แทน จานวนคนกลมุ่ สงู ทต่ี อบถูก RL แทน จานวนคนกลุ่มตา่ ทตี่ อบถกู f แทน จานวนคนในกลุ่มสงู หรอื กลุ่มต่าซึ่งเทา่ กัน 2.4 การหาค่าความเช่ือม่ัน (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นโดใช้วิธีของคเู ดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder – Richardson 20) สตู ร KR-20 ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103) rtt  pq   n 1  n 1  S2  เมอื่ rtt แทน ความเชอื่ มน่ั ของแบบทดสอบท้ังฉบับ n แทน จานวนข้อของแบบทดสอบท้ังฉบับ p แทน อตั ราส่วนของผูต้ อบถกู ในข้อนน้ั q แทน อัตราส่วนของผู้ตอบผิดในขอ้ น้ัน S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนท้ังฉบับ 3. สถติ ิตรวจสอบสมมตฐิ าน ไดแ้ ก่ 3.1 การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้สูตรชองชัยยงค์ พรหมวงศ์ (ชัยยงค์ พรหมวงศ.์ 2523 : 136) คานวณจากสูตร E1/E2

53 N  Xi E1  i 1 100 NA เมอ่ื E1 แทน ประสทิ ธภิ าพกระบวนการ N แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบยอ่ ย  Xi i 1 A แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบย่อย N แทน จานวนนักเรียน N E2  Fi 100 i 1 NB เมอ่ื E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ N แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบ  Fi i 1 B แทน คะแนนเตม็ ของแบบทดสอบ N แทน จานวนนกั เรยี น 3.2 กาวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ โดยใช้ t-test (Dependent Samples) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 112) เมือ่ t N D  Di N t  i1 nn  N Di2  ( Di )2 i1 i1 N 1 แทน ค่าสถติ ิทใี่ ชเ้ ปรียบเทียบกบั ค่าวกิ ฤต เพื่อทราบความมนี ยั สาคัญ แทน ค่าผลตา่ งระหวา่ งคูค่ ะแนน แทน จานวนกลุ่มตัวอย่างหรอื จานวนคคู่ ะแนน

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล การพัฒนาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ครั้งนี้ ผู้วิจัยขอนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ซ่ึงจะกลา่ วรายละเอียดตามลาดับหัวข้อตอ่ ไปน้ี 4.1 สัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 4.2 ลาดับขั้นตอนในการเสนอผลวเิ คราะห์ข้อมลู 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 4.1 สัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ ข้อมลู กับกลมุ่ ตวั อย่าง เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกนั ผูว้ ิจัยได้กาหนดสัญลักษณใ์ นการนาเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ N แทน จานวนนกั เรยี นท่ีเปน็ กลมุ่ ตัวอย่าง  X แทน ผลรวมของคะแนน X แทน คะแนนค่าเฉลี่ย X % แทน คะแนนร้อยละ S.D. แทน คา่ ความเบ่ียงเบนมาตรฐาน D แทน ค่าผลตา่ งระหวา่ งคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรียน t แทน ค่าทใี่ ชพ้ จิ ารณา (t – test dependent) rtt แทน คา่ ความเชอื่ มั่นของแบบทดสอบ 4.2 ลาดบั ขัน้ ตอนในการเสนอผลวเิ คราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ครงั้ นีผ้ ู้วิจยั ได้ดาเนินการวเิ คราะหข์ ้อมูล ตามลาดับข้นั ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะห์ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โดย ผู้เชีย่ วชาญ ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหห์ าประสิทธภิ าพของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มี ประสทิ ธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผู้เรยี นระหวา่ งกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นทเ่ี รยี นดว้ ยเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3

55 ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบ การสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 4.3 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหค์ วามเหมาะสมของเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง กลยุทธ์ การคดิ พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 โดยผเู้ ชย่ี วชาญ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ความเหมาะสมของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากแบบ ประเมินเอกสารประกอบการสอน ซ่งึ ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.1 และตารางที่ 4.2 ตารางที่ 4.1 ค่าเฉล่ยี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดับความเหมาะสมของเอกสารประกอบ การสอน เรื่อง กลยทุ ธ์การคิด พชิ ิตการแก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 รายการประเมิน ระดับ X S.D. ความเหมาะสม 1. ด้านเนื้อหา 1.1 เนอ้ื หาชัดเจน มีความสมบรูณ์ ทันสมยั เชอื่ มโยงความรู้ 4.50 0.92 มาก เดมิ กบั ความรใู้ หม่ 1.2 มีความถกู ต้องตามหลกั วิชาการ 4.72 0.46 มากท่ีสุด 1.3 สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทต่ี ้องการนาเสนอ 4.47 0.67 มาก 1.4 สอดคล้องกบั การประยุกตใ์ ชใ้ นการเรยี นการสอน 4.41 0.71 มาก มีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง 1.5 ความยากงา่ ยเหมาะสมกับผ้เู รียน 4.53 0.62 มากท่สี ดุ คา่ เฉลย่ี 4.53 0.68 มากที่สุด 2. ด้านการใช้ภาษา 4.53 0.67 มากที่สุด 2.1 ใชภ้ าษาถูกต้อง 4.16 0.50 มาก 2.2 เหมาะสมกบั วัยของผเู้ รียน 4.59 0.61 2.3 ส่ือความหมายชัดเจนเหมาะสมกบั ผูเ้ รียน มากที่สุด คา่ เฉลย่ี 4.56 0.60 มากทส่ี ดุ

56 ตารางที่ 4.1 (ต่อ) รายการประเมิน ระดับ X S.D. ความเหมาะสม 3. ด้านการพมิ พ์และการจัดรูปแบบเลม่ 3.1 ถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ 4.44 0.76 มาก 3.2 ขนาดตวั อกั ษรชัดเจน 4.16 0.62 มาก 3.3 พมิ พถ์ ูกต้อง 4.22 0.63 มาก 3.4 ความคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรคแ์ ปลกใหม่ 4.03 0.55 มาก ค่าเฉลีย่ 4.23 0.62 มาก 4. ดา้ นประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ 4.50 0.62 มาก 4.1 ชว่ ยให้ผูเ้ รยี นสามารถพัฒนาดา้ นความรู้ 4.28 0.73 มาก 4.2 ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนาดา้ นทักษะ 4.31 0.69 มาก 4.3 ชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาด้านคุณธรรม จริยธรรม 4.53 0.51 มากทสี่ ดุ คา่ นิยมท่ีดี 4.19 0.74 มาก 4.4 ใช้เปน็ แบบอย่างต่อผู้อื่นได้ 4.5 ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 4.36 0.66 มาก ค่าเฉลย่ี 4.06 0.67 มาก 5. ดา้ นการวดั ผลและประเมินผล 4.25 0.62 มาก 4.06 0.80 มาก 5.1 สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชีว้ ดั 4.13 0.70 มาก 5.2 สอดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรียนการสอน 5.3 มีการวัดและประเมินผลท่ีหลากหลาย 4.37 0.66 มาก คา่ เฉล่ยี ค่าเฉล่ยี โดยรวม จากตารางท่ี 4.1 โดยรวม พบว่า เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้ โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดับมาก โดยมีคา่ เฉล่ียเท่ากับ 4.37 และเม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นโดยเรียงค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการใช้ภาษา ด้านเนื้อหา ด้านประโยชน์ท่ีได้รับ ด้านการพิมพ์และการจัดรูปแบบเล่ม ด้าน การวดั ผลและประเมนิ ผล โดยมคี า่ เฉลยี่ 4.56, 4.53, 4.36, 4.23, 4.13 ตามลาดับ

57 ตารางท่ี 4.2 ค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความเหมาะสมของแผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง กลยุทธก์ ารคิด พชิ ิตการแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 รายการประเมนิ ระดบั X S.D. ความเหมาะสม 1. สาระสาคัญ 1.1 สอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ดั 4.59 0.50 มากที่สดุ 1.2 สอดคล้องกับเน้ือหา 4.34 0.60 มาก 1.3 มีความชดั เจนเขา้ ใจง่าย 4.28 0.68 มาก คา่ เฉลย่ี 4.41 0.59 มาก 2. ตวั ชวี้ ดั 2.1 สอดคล้องกับเนอ้ื หา 4.31 0.69 มาก 2.2 มีความชดั เจนเขา้ ใจง่าย 4.50 0.57 มาก 2.3 ระบุพฤติกรรมท่ีต้องการวัดได้อยา่ งชัดเจน 4.63 0.49 มากท่ีสุด คา่ เฉลย่ี 4.48 0.58 มาก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 มคี วามยากงา่ ยเหมาะสมกับชว่ งวัย 4.59 0.50 มากทีส่ ุด 3.2 ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นใช้ทกั ษะกระบวนการคดิ 4.34 0.65 มาก 3.3 น่าสนใจและเปน็ ประโยชน์ต่อผเู้ รียน 4.47 0.62 มาก 3.4 มคี วามถกู ต้องและทนั สมยั ทันต่อเหตุการณ์ 4.41 0.56 มาก คา่ เฉลย่ี 4.45 0.58 มาก 4. การนาเสนอกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.1 สอดคลอ้ งกับตัวชวี้ ัด 4.50 0.57 มาก 4.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับเน้ือหา 4.56 0.50 มากท่ีสุด 4.3 เร้าความสนใจของผเู้ รียน 4.38 0.66 4.4 กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ ไปตามลาดับขนั้ ตอน 4.44 0.67 มาก 4.5 ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมเหมาะสม 4.44 0.56 มาก 4.6 กิจกรรมการเรยี นการสอนยึดผู้เรยี นเป็นสาคัญ 4.50 0.57 มาก 4.7 กิจกรรมการฝกึ ปฏิบัติจรงิ 4.59 0.56 มาก คา่ เฉล่ยี มากที่สดุ 4.49 0.58 มาก

58 ตารางท่ี 4.2 (ตอ่ ) รายการประเมิน ระดับ X S.D. ความเหมาะสม 5. สอื่ การเรียนร้/ู แหล่งเรยี นรู้ 5.1 สอดคลอ้ งกบั เน้อื หาทันสมัยและมีคณุ ภาพ 4.50 0.57 มาก 5.2 สอ่ื ความหมายได้ชดั เจน 4.44 0.62 มาก 5.3 ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนพฒั นาความคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 4.47 0.57 มาก คา่ เฉล่ีย 4.47 0.58 มาก 6. การวัดและประเมนิ ผล 6.1 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ัด 4.44 0.62 มาก 6.2 วดั ผลไดค้ รอบคลมุ เนื้อหา 4.44 0.56 มาก 6.3 วัดผลได้ครอบคลมุ ด้านความรู้ ทักษะ และเจตคติ 4.41 0.61 มาก 6.4 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนมีความเหมาะสม 4.47 0.51 มาก 6.5 มีการวดั และประเมินผลท่ีหลากหลาย 4.47 0.57 มาก ค่าเฉลีย่ คา่ เฉลีย่ โดยรวม 4.44 0.59 มาก 4.46 0.59 มาก จากตารางที่ 4.2 โดยรวม พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้ โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.46 และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านกิจกรรมการนาเสนอการเรียนการสอน ด้านตัวชี้วัด ด้านส่ือการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ ด้าน การวัดและประเมินผล ด้านสาระการเรียนรู้และด้านสาระสาคัญ โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.49, 4.48, 4.47, 4.44, 4.45 และ 4.41 ตามลาดับ ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหห์ าประสิทธภิ าพของเอกสารประกอบการสอน เรือ่ ง กลยทุ ธ์ การคิด พิชติ การแก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 80/80 ผวู้ จิ ยั ได้วเิ คราะหห์ าประสิทธภิ าพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการ แก้โจทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 จากคะแนนแบบฝึก ทักษะแต่ละกลยุทธ์ระหว่างเรียนในแต่ละแผนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งปรากฏผลดังตารางที่ 4.3 ถึง ตารางที่ 4.5

59 ตารางที่ 4.3 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพกระบวนการ (E1) ของเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง กลยทุ ธก์ ารคดิ พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี N คะแนนเต็ม X ร้อยละ 1 32 20 15.56 77.81 2 32 20 16.13 80.63 3 32 20 16.16 80.78 4 32 20 16.19 80.94 5 32 20 15.91 79.53 6 32 20 16.31 81.56 7 32 20 16.25 81.25 8 32 20 16.50 82.50 32 รวม 160 129.00 80.63 จากตารางที่ 4.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสาร ประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ผู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจ โดยมีคะแนนรวมท้ังหมด 160 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉลยี่ เท่ากบั 129.00 คิดเป็นรอ้ ยละ 80.63 ซง่ึ นั่นคือ ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ E1 ตารางที่ 4.4 ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพผลลัพธ์ (E2) ของเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง กลยทุ ธก์ ารคิด พิชิตการแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 N คะแนนเตม็ X S.D. รอ้ ยละ 32 20 16.16 1.27 80.78 จากตารางท่ี 4.4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสาร ประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ โดยมีคะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนน เฉลีย่ เท่ากบั 16.16 คิดเป็นร้อยละ 80.78 ซง่ึ นนั่ คือ ประสทิ ธภิ าพของผลลพั ธ์ E2 ตารางที่ 4.5 ผลการวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พชิ ิตการแก้โจทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ 80/80 คะแนน คะแนนเตม็ X S.D. รอ้ ยละ ประสทิ ธิภาพของกระบวนการ (E1) 160 129.00 1.59 80.63 ประสิทธภิ าพของผลลพั ธ์ (E2) 20 16.16 1.27 80.78

60 จากตารางที่ 4.5 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการ ทาแบบฝึกทักษะท้ัง 8 แผน คะแนนเต็ม 160 คะแนน ผู้เรียนได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 129.00 คิดเป็น ร้อยละ 80.63 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.59 และผู้เรียนได้คะแนนค่าเฉล่ียจากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเท่ากับ 16.16 คิดเป็นร้อยละ 80.78 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากบั 1.27 ดังน้ันแสดงวา่ เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80.63/80.78 นั่นคือ ประสทิ ธภิ าพของ E1/E2 ตอนท่ี 3 ผลการวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บคะแนนแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของ ผู้เรยี นระหว่างกอ่ นเรียนและหลังเรยี นท่ีเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง กลยทุ ธ์การคดิ พชิ ติ การแก้โจทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์เปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการ แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งปรากฏผลดัง ตารางท่ี 4.6 ตารางที่ 4.6 ผลการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บคะแนนแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผเู้ รียนระหวา่ งก่อนเรยี นและหลังเรยี นทเี่ รียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง กลยทุ ธ์การคดิ พชิ ติ การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 การทดสอบ N คะแนนเต็ม รอ้ ยละ X S.D. t - test 80.63 กอ่ นเรยี น 32 20 80.78 10.03 1.31 25.01** 1.27 หลงั เรยี น 32 20 16.16 ** มรี ะดบั นัยสาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .01 จากตารางท่ี 4.6 พบวา่ หลงั เรยี นโดยใชเ้ อกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ย 16.16 จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน ในขณะที่ก่อนเรียนมีค่าเฉล่ีย 10.03 และ ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน พบว่า ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลงั เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .01

61 ตอนท่ี 4 ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของผูเ้ รยี นที่มตี ่อการเรยี นด้วยเอกสารประกอบ การสอน เร่ือง กลยทุ ธก์ ารคดิ พชิ ติ การแก้โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 จากแบบสอบถามความพงึ พอใจ ซึง่ ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 4.7 ถึงตารางท่ี 4.10 ตารางท่ี 4.7 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดบั ความพงึ พอใจของผู้เรยี นที่มีต่อการเรยี น ด้วยเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยทุ ธ์การคดิ พิชติ การแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ด้านการออกแบบส่อื การสอน รายการ X S.D. ระดบั ความพึงพอใจ 1. รปู แบบสือ่ การสอนน่าสนใจ 4.59 0.56 มากที่สุด 2. รปู แบบใบความรแู้ ละกจิ กรรมเขา้ ใจงา่ ย นา่ สนใจ 4.44 0.62 มาก 3. ขอ้ ความชดั เจนเขา้ ใจง่าย 4.47 0.47 มาก 4. ภาษาที่ใช้เหมาะสม 4.53 0.62 มากท่ีสดุ 5. ผู้เรียนสามารถใชส้ ื่อได้ด้วยตนเอง 4.47 0.62 มาก รวม 4.50 0.62 มากทีส่ ดุ จากตารางท่ี 4.7 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ด้านการออกแบบส่อื การสอน คิดเปน็ คะแนนเฉล่ยี 4.50 และมีระดับความพึงพอใจ ในระดับ มากท่สี ุด โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ รูปแบบส่ือการสอนน่าสนใจ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.59 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.56 ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด ภาษาท่ีใช้เหมาะสม ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.53 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.62 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ข้อความชัดเจนเข้าใจง่าย ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.47 ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47 ระดบั ความพงึ พอใจ มาก ผู้เรยี นสามารถใช้สื่อได้ด้วยตนเอง ค่าเฉล่ีย เท่ากับ 4.47 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.62 ระดับความพึงพอใจ มาก และรูปแบบใบความรู้ และกิจกรรมเข้าใจง่าย น่าสนใจ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 ระดับ ความพงึ พอใจ มาก ตามลาดับ ตารางท่ี 4.8 ค่าเฉล่ีย สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจของผเู้ รยี นท่ีมีตอ่ การเรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง กลยทุ ธก์ ารคดิ พิชิตการแก้โจทย์ ปญั หาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ดา้ นการออกแบบเนื้อหา

62 รายการ X S.D. ระดบั ความพึงพอใจ 1. คาอธิบายเน้อื หาชดั เจน 4.41 0.67 มาก 2. ความนา่ สนใจของเนอื้ หา 3. เนอ้ื หาสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.47 0.62 มาก 4. ความยากงา่ ยของเนื้อหาเหมาะสม 5. การจดั ลาดับเนอ้ื หาในแตล่ ะกลยทุ ธ์เหมาะสม 4.53 0.57 มากท่ีสุด รวม 4.44 0.76 มาก 4.44 0.76 มาก 4.46 0.70 มาก จากตารางท่ี 4.8 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้านการออกแบบเนื้อหา คิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 4.46 และมีระดับความพึงพอใจใน ระดบั มาก โดยมีรายละเอียดดังนี้ เนื้อหาสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.57 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ความน่าสนใจของเน้ือหา ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.47 ส่วน เบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.62 ระดับความพงึ พอใจ มาก ความยากงา่ ยของเนื้อหาเหมาะสมและการ จดั ลาดับเนื้อหาในแต่ละกลยุทธ์เหมาะสม ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.44 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.76 ระดบั ความพึงพอใจ มาก และคาอธิบายเน้ือหาชัดเจน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.67 ระดบั ความพึงพอใจ มาก ตามลาดบั ตารางท่ี 4.9 คา่ เฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานและระดบั ความพงึ พอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อ การเรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง กลยทุ ธก์ ารคดิ พชิ ติ การแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ด้านความรแู้ ละประโยชน์ทไี่ ดร้ บั จากการเรยี น รายการ X S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. ได้รับความรู้และประโยชนใ์ นการจัดการเรียนการสอน 4.56 0.80 มากทส่ี ุด 2. ความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอน 4.53 0.72 มากทส่ี ุด 3. ช่วยให้ผูเ้ รยี นรูเ้ ทคนคิ ในการคิด ฝึกทักษะและ 4.50 0.57 มากท่ีสุด กระบวนการเรียนรู้ 4. ผูเ้ รยี นมีความร้แู ละเข้าใจเน้ือหามากย่งิ ขน้ึ 4.53 0.67 มากทสี่ ุด 5. การเรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง 4.56 0.67 มากทสี่ ดุ กลยุทธ์การคิด พชิ ติ การแก้โจทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ ทาใหเ้ ข้าใจและรู้ขั้นตอนการแกโ้ จทย์ปัญหา รวม 4.54 0.69 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 4.9 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น

63 มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ด้านความรู้และประโยชน์ท่ีได้รับจากการเรียน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 4.54 และมี ระดับความพงึ พอใจในระดับ มากทสี่ ุด โดยมรี ายละเอียดดังนี้ การเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ ทาใหเ้ ขา้ ใจและร้ขู นั้ ตอนการแก้โจทยป์ ัญหา ค่าเฉลยี่ เทา่ กบั 4.56 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.67 ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด ได้รับความรู้และประโยชน์ในการจัดการเรียนการสอน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.80 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ผู้เรียนมี ความรู้และเข้าใจเน้ือหามากย่ิงข้ึน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.53 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67 ระดับ ความพึงพอใจ มากที่สุด ความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอน ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.53 ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.72 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด และช่วยให้ผู้เรียนรู้เทคนิคในการคิด ฝึกทักษะและกระบวนการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 ระดับ ความพงึ พอใจ มากทสี่ ดุ ตามลาดับ ตารางท่ี 4.10 คา่ เฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานและระดบั ความพึงพอใจของผ้เู รียนที่มีตอ่ การเรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธก์ ารคิด พิชิตการแกโ้ จทย์ ปัญหาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ดา้ นความพงึ พอใจในการเรียนดว้ ยเอกสารประกอบการสอน รายการ X S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. ผเู้ รียนได้เรยี นรู้อยา่ งมีความสุขและสนกุ 4.84 0.51 มากท่สี ดุ 2. ผู้เรียนมีความพงึ พอใจในการเรียนดว้ ยเอกสาร 4.44 0.72 มาก ประกอบการสอน เรอื่ ง กลยทุ ธ์การคิด พชิ ติ การแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ 4.47 0.72 มาก 3. ผูเ้ รียนมคี วามพึงพอใจเทคนคิ และกลยุทธ์ต่าง ๆ ในการแก้โจทย์ปัญหา 4.47 0.57 มาก 4. ผูเ้ รียนมคี วามพอใจกับคะแนนทีไ่ ดร้ ับ 4.69 0.59 มากท่สี ดุ 5. ผู้เรียนมคี วามต้องการเรียนดว้ ยเอกสาร ประกอบการสอน เร่ือง กลยทุ ธ์การคดิ พิชติ 4.58 0.62 มากท่ีสดุ การแกโ้ จทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์ รวม จากตารางที่ 4.10 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้านความพึงพอใจในการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน คิดเป็นคะแนนเฉล่ีย 4.58 และมีระดบั ความพงึ พอใจในระดบั มากที่สดุ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ผเู้ รยี นได้เรียนรู้อย่างมีความสุขและสนุก ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.84 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.51 ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ผู้เรียนมีความต้องการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชติ การแก้โจทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.69 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ

64 0.59 ระดับความพึงพอใจ มากท่ีสุด ผู้เรียนมีความพอใจกับคะแนนที่ได้รับ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.47 ส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 ระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เรียนมีความพึงพอใจเทคนิคและกลยุทธ์ ต่าง ๆ คา่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.72 ระดับความพึงพอใจ มาก และผู้เรียน มคี วามพึงพอใจในการเรยี นดว้ ยเอกสารประกอบการสอน เรอื่ ง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.44 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.72 ระดับความพึงพอใจ มาก ตามลาดับ พบวา่ โดยรวม ผเู้ รยี นมคี วามพงึ พอใจตอ่ การเรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคดิ พิชติ การแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อยู่ ในระดบั มากท่ีสดุ โดยมีคา่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.52 สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.66

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การพัฒนาเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ครั้งน้ี ผู้วิจัยขอสรุปผลการทดลอง ตามลาดับ ดังต่อไปนี้ 5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา ในการวิจัยในครงั้ นีผ้ วู้ จิ ยั ได้กาหนดความมุ่งหมายของการวิจยั ไว้ดังนี้ 1. เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ตามเกณฑ์ มาตรฐาน 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยเอกสาร ประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยทุ ธก์ ารคดิ พิชติ การแก้โจทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 5.2 ขอบเขตของการศกึ ษา การวจิ ยั ครั้งน้ี ผวู้ ิจยั ไดก้ าหนดขอบเขตของการวิจัย ดงั น้ี 1. ขอบเขตของประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 1.1 ประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังนเี้ ป็นนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียน คณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา สังกดั สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษายะลาเขต 15 กระทรวงศึกษาธิการ 1.2 กลมุ่ ตวั อย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ีเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 โรงเรียน คณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษายะลาเขต 15 กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จานวน 32 คน ซ่ึงได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง 2. ตัวแปรท่ใี ช้ในการวิจัย 2.1 ตวั แปรต้น ได้แก่ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พชิ ิตการแกโ้ จทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน

66 3) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผูเ้ รียนทีม่ ตี ่อเอกสารประกอบการสอน 2.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ 1) ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้ โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผ้เู รียน 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อเอกสารประกอบการสอนเรื่อง กลยุทธ์ การคิด พชิ ติ การแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ 3. ขอบเขตของเนอื้ หา เน้ือหาท่ีใช้ในเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กลยุทธก์ ารคิด พิชติ การแกโ้ จทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ มเี นอื้ หายอ่ ยตามหัวข้อต่อไปน้ี 1) กลยุทธ์การคดิ ที่ 1 การวาดภาพ 2) กลยทุ ธก์ ารคดิ ท่ี 2 การหาแบบรูป 3) กลยทุ ธ์การคิดที่ 3 การคิดแบบยอ้ นกลับ 4) กลยุทธก์ ารคดิ ที่ 4 การสร้างตาราง 5) กลยุทธก์ ารคดิ ที่ 5 การเดาและตรวจสอบ 6) กลยุทธก์ ารคิดท่ี 6 การทาใหอ้ ยู่ในรูปอยา่ งง่าย 7) กลยทุ ธ์การคิดท่ี 7 การแจกแจงกรณที เ่ี ปน็ ไปไดท้ ้ังหมด 8) กลยุทธ์การคดิ ที่ 8 การเลือกกลยุทธ์ 4. ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิต การแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน คณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษายะลาเขต 15 กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 รวม 16 ชั่วโมง (ไม่รวมเวลาท่ีใช้ทดสอบวัด ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น) 5.3 เครอื่ งมือที่ใช้ในการศึกษา ในการวิจยั ครง้ั นี้ ผวู้ ิจยั ไดใ้ ช้เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย ดังน้ี 1. เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 จานวน 1 เล่ม 2. แผนการจดั การเรยี นร้ทู ใ่ี ชป้ ระกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 8 แผน

67 3. เคร่ืองมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ประกอบด้วย 3.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ จานวน 1 ฉบับ ครอบคลุม เนอ้ื หาเร่ือง กลยทุ ธก์ ารคิด พชิ ติ การแก้โจทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็นขอ้ สอบปรนัยแบบเลอื ก 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ข้อ รวม 20 คะแนน 3.2 แบบฝึกทักษะในเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 แบบฝึกละ 20 คะแนน จานวน 8 แบบฝึก รวม 160 คะแนน 3.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 20 ขอ้ 5.4 การดาเนินการศกึ ษา การศึกษาในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แล้วนาผลคะแนนท่ีได้มา เปรยี บเทียบเพอ่ื ศกึ ษาหาความกา้ วหนา้ 1. ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียน ซ่ึงเป็นข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ โดยผู้วิจัยทดสอบผู้เรียนก่อนเรียนเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้ตรวจและบันทกึ คะแนนไว้ 2. ในระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชเ้ อกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พชิ ิตการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ในแต่ละ กลยทุ ธก์ ารคิดใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกทักษะตามท่กี าหนดไว้ การจดั กิจกรรมเพื่อรวบรวมข้อมูลไว้สาหรับ ตรวจสอบประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน โดยกาหนดคะแนนตามแบบฝึกทักษะละ 20 คะแนน จานวน 8 แบบฝึก รวม 160 คะแนน ได้ตรวจและบันทึกคะแนนไว้ 3. ใชแ้ บบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 20 ข้อ 4. ทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียน ซึ่งเป็นข้อสอบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 20 ข้อ โดยผู้วิจัยทดสอบผู้เรียนหลังเรียนเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้ตรวจและนาคะแนนท่ไี ด้เปรยี บเทียบกับคะนนวัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนก่อนเรียน

68 5.5 สรุปผลการศึกษา ในการศึกษาครง้ั น้ี ผู้วิจัยได้สรุปผลการศึกษา ไว้ดังน้ี 1. เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80.63/80.78 ซึ่ง สงู กวา่ เกณฑ์ 80/80 ท่ตี ัง้ ไว้ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สงู กวา่ กอ่ นเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตตทิ ี่ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อย่ใู นระดบั มากท่ีสดุ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 5.6 อภปิ รายผล จากผลการศกึ ษาการพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์ การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผู้วจิ ัยของนาเสนอในประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีประสิทธิภาพ 80.63/80.78 ซ่ึง สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ท่ีตั้งไว้ หมายความว่า นักเรียนได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละจากปฏิบัติกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 เฉลี่ยร้อยละ 80.63 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ 80 ตัวแรก และเม่อื ทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยแบบทดสอบปรนัย จานวน 20 ข้อ ท่ีผ่านการ วเิ คราะห์ หาคา่ ความยากง่าย อานาจจาแนก และความเชื่อม่ัน แล้วได้ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80.78 ซ่ึงสูงกว่า เกณฑ์ 80 ตัวหลงั อาจเปน็ เพราะ 1.1 เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ท่ีผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึน ผ่านกระบวนการข้ันตอนการสร้างท่ีมีระบบ และเหมาะสม คือ ศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด จุดประสงค์การเรียนรู้ ศึกษาหลักการ ทฤษฎี และเทคนิควิธีการ การเขียนเอกสารประกอบการสอน 1.2 เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ทีผ่ ู้วิจัยพัฒนาขึน้ ได้ผ่านการปรับปรุง แก้ไขจากผู้เช่ียวชาญ และนาไปทดลองใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพ ก่อนนาไปใชจ้ รงิ กบั กลมุ่ ตวั อย่าง ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของอ้อย นริทธิกุล (2551) ที่ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานการ พัฒนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง อสมการ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 พบว่า เอกสารประกอบการสอนท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 82.97/84.43 สอดคล้องกับผลการวิจัยของมนฤดี ทรพั ยะเกตริน (2554) ทไ่ี ด้ศึกษาวิจยั เร่ือง รายงานผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค21101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เร่ือง จานวนเต็ม พบว่า ผลการประเมินคุณภาพของเอกสารประกอบ

69 การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค21101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เร่ือง จานวนเต็ม จานวน 6 เล่ม มีระดับ คุณภาพเหมาะสมมากที่สุด เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านของการประเมิน พบว่า อยู่ในระดับเหมาะสม มากที่สุดทุกด้านของการประเมิน และผลการศึกษาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนวิชา คณติ ศาสตร์ ค21101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 เร่อื ง จานวนเต็ม ท้ัง 6 เล่ม มีประสิทธิภาพโดยรวมเท่ากับ 90.65/86.84 สอดคล้องกับผลการวิจัยของพิมพกานต์ รัชทูล (2557) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานการ ใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 รหัสวิชา ค31201 เร่ือง ตรรกศาสตร์ เบื้องต้น สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโยธินบารุง พบว่า ประสิทธิภาพของเอกสาร ประกอบการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์เพ่ิมเติม 1 รหัสวิชา ค31201 เร่ือง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขั้นทดลองภาคสนาม กับนักเรียนจานวน 36 คน มีประสิทธิภาพ 81.02/80.65 สอดคล้องกับผลการวิจัยของละมูล วันทา (2557) ที่ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผลการใช้ เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง เลขยกกาลงั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 พบว่า เอกสารประกอบการเรียนท่ีผู้ ศกึ ษาคน้ คว้าสร้างข้ึนจานวน 7 เล่ม มีประสิทธิภาพ 86.29 /84 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของนิสา กร อับดุลเลาะห์ (2558) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผลการวิจัยการใช้เอกสารประกอบการเรียนการ สอน รายวิชาคณิตศาสตร์ ค32101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า ประสิทธิภาพของเอกสาร ประกอบการเรียนการสอน หน่วยที่ 1 เรื่อง ลาดับและอนุกรม จานวน 5 ชุด และหน่วยที่ 2 เร่ือง ความน่าจะเป็น จานวน 2 ชุด มีประสิทธิภาพ 84.35/84.54 และ 84.93/84.62 ตามลาดับ ซึ่งสูงกว่า เกณฑท์ ีต่ ัง้ ไว้ที่ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรยี น จากการวจิ ัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน หลงั เรยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่ม สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยได้ทาการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เก่ียวข้อง หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ตลอดจนวิธีการในการสร้างส่ือนวัตกรรม หลักการวัดและประเมินผล ปรึกษาขอคาแนะนาจากผู้เช่ียวชาญ ตลอดจนทาการทดลองใช้จนได้ประสิทธิภาพ ทาให้การจัดการ เรยี นการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ จนส่งผลใหน้ ักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของอ้อย นริทธิกุล (2551) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเรื่อง รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนาบอน ปีการศึกษา 2551 ท่ีเรียนโดยใช้เอกสารประกอบการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง อสมการ หลังเรยี นสงู กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .05 สอดคล้องกับผลการวิจัยของ มนฤดี ทรัพยะเกตริน (2554) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเรื่อง รายงานผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ค21101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เร่ือง จานวนเต็ม พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับผลการวิจัยของ พิมพกานต์ รัชทูล (2557) ที่ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา คณติ ศาสตร์เพ่ิมเติม 1 รหัสวิชา ค31201 เร่ือง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรยี นโยธนิ บารงุ พบว่า ผลการทดสอบความแตกตา่ งของคะแนนเฉล่ียระหว่างก่อนและหลังการ จัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนดังกล่าวหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง

70 สถติ ิท่ีระดบั .01 สอดคลอ้ งกบั ผลการวิจัยของละมูล วันทา (2557) ที่ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผลการ ใชเ้ อกสารประกอบการเรียน เร่อื ง เลขยกกาลัง ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่าการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ก่อนใช้เอกสารประกอบการเรียนและหลังการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนมีคะแนนสูงข้ึน ทุกเล่ม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และสอดคล้องกับผลการวิจัยของนิสากร อับดุลเลาะห์ (2558) ที่ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผลการวิจัยการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา คณติ ศาสตร์ ค32101 ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 พบว่า ผลการทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉล่ีย ระหว่างก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิที่ระดับ .01 ซงึ่ เป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา 3. ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีตอ่ เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการ แก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียน ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด โดยมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.52 เนื่องจากเอกสารประกอบ การสอนที่เน้นให้นักเรียนได้ฝึกกลยุทธ์การคิดแก้ปัญหา และเข้าใจขั้นตอนการแก้โจทย์ปัญหาใน รูปแบบของใบความรู้ ในแต่ละกลยุทธ์ ทาให้นักเรียนได้รับความรู้จนมีความรู้ความเข้าใจ ซึ่งสอดคล้อง กับผลการวิจัยของอ้อย นริทธิกุล (2551) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบ การสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อสมการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ เอกสารประกอบการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองอสมการ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับผลการวิจัยของมนฤดี ทรัพยะเกตริน (2554) ที่ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผลการใช้ เอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค21101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เร่ือง จานวนเต็ม พบว่า ผล การประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการเรียนด้วยเอกสารประกอบ การเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ค21101 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 เร่ือง จานวนเต็ม โดยภาพรวมนักเรียนมี ความพึงพอใจอย่ใู นระดับมากทีส่ ดุ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 เมื่อพิจารณาแต่ละรายการประเมิน พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุดทุกรายการ และเม่ือพิจารณาค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน พบว่า โดยรวมมีค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.52 และแต่ละรายข้อมีค่าน้อยกว่า 1.00 บ่งชี้ว่า นักเรียนมีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน สอดคล้องกับผลการวิจัยของพิมพกานต์ รัชทูล (2557) ที่ได้ ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 รหัสวิชา ค31201 เรื่อง ตรรกศาสตร์เบื้องต้น สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนโยธินบารุง พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา น้ีอยู่ใน ระดับมากที่สุด ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานการศึกษา โดยมีคะแนนการประเมินเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐานเท่ากับ 4.58 และ 0.49 ตามลาดับ สอดคล้องกับผลการวิจัยของละมูล วันทา (2557) ท่ีได้ ศึกษาวิจัยเร่ือง รายงานผล การใช้เอกสารประกอบการเรียน เร่ือง เลขยกกาลัง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พบว่า การเปรียบเทียบค่าความพึงพอใจในการใช้เอกสารประกอบการเรียนของผู้เรียนในแต่ละเล่ม ปรากฏวา่ ผูเ้ รียนมคี วามพึงพอใจในการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับ ผลการวิจัยของนิสากร อับดุลเลาะห์ (2558) ท่ีได้ศึกษาวิจัยเรื่อง รายงานผลการวิจัยการใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอน รายวิชาคณิตศาสตร์ ค32101 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 พบว่า ความพึง พอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชา นี้อยู่ใน

71 ระดับมากท่ีสุด ซึ่งอยู่ในระดับสูงกว่าสมมติฐานการศึกษา โดยมีคะแนนการประเมินเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 4.79 และ 0.51 ตามลาดับ 5.7 ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาวิจยั น้ี เพ่ือให้การพัฒนาและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ทพ่ี ฒั นาขึ้นมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่งิ ขนึ้ ผู้วจิ ยั มขี อ้ เสนอแนะ ดังนี้ 1. ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้ 1.1 ก่อนนาเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ไปใช้ครูผู้สอนศึกษาคาช้ีแจงใน เอกสารประกอบการสอนและแผนการจัดการเรยี นรโู้ ดยละเอียด และจะต้องปฏิบัติตามข้ันตอนที่ระบุ ไวใ้ นแผนการจดั การเรยี นรนู้ นั้ 1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูผู้สอนควรตรวจดูแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการใช้ เอกสารประกอบการสอนว่าได้ระบุสื่อ แหล่งเรียนรู้ อะไรบ้าง ควรจัดเตรียม ตรวจสอบล่วงหน้า เพ่ือ ความสะดวกและเกิดความเรียบร้อยในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ จะทาให้กระบวนการเรียนการ สอนมีประสิทธิภาพ 1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้นครูผู้สอน จะต้องจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเอง ไดล้ องฝึกทกั ษะโดยมีครผู สู้ อนคอยชี้แนะหากผเู้ รยี นต้องการความช่วยเหลือ ปฏิบัติกิจกรรมอย่างเป็น ขน้ั ตอน เปน็ ระบบ และสามารถประยุกตค์ วามรูน้ าไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ 1.4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือให้บรรลุผลตามจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ ของหลกั สูตรน้ัน ครูผู้สอนควรใช้ส่ือ นวัตกรรม ที่หลากหลายเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่เข้าใจง่าย ช่วยกระต้นุ และเร้าความสนใจให้กบั ผู้เรยี นมากข้ึน 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยคร้งั ต่อไป 2.1 เอกสารประกอบการสอน ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนท่ีดีมีความเหมาะสมในการ นาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพราะนอกจากใช้เป็นแหล่งข้อมูลให้ความรู้ ยังเป็นส่ือส่งเสริม นสิ ัยรักการอ่านของผู้เรียนด้วย ดังน้ันควรมีการสร้างและพัฒนาเนื้อหาอ่ืน ๆ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดว้ ย 2.2 ควรหาเกณฑ์ประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการสอน โดยศึกษาจากตัวแปรอ่ืน เช่น ความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อเอกสารประกอบการสอน การส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง คณติ ศาสตร์ ทักษะกระบวนการกลุ่ม เปน็ ต้น 2.3 เนอ้ื หาท่ผี วู้ จิ ยั นามาจัดทาเปน็ เอกสารประกอบการสอน ยังสามารถจดั ทาเป็นชุดแบบ ฝึกกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ฝึกการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม แต่ต้อง ได้รับกากับดูแลจากครูผู้สอนอย่างใกล้ชิด ในระยะแรกครูต้องใช้เวลาในการฝึกและการปรับตัวของ ผู้เรียนพอสมควร บางครั้งผู้เรียนอาจจะยังไม่เข้าใจในกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนั้น ครผู สู้ อนจงึ ต้องคอยเป็นพี่เล้ียงคอยแนะนาอย่างใกล้ชิดและอาจต้องใช้เวลาในการเรียนการสอนมาก

72 ข้ึน และด้านตัวครูเองก็ต้องเตรียมความพร้อมในบทบาทของตนเอง ศึกษาเนื้อหา จัดเตรียมส่ือ อุปกรณ์ คอยเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และแนะนาบทบาทหน้าที่ของผู้เรียนแต่ละคนในกลุ่ม อยา่ งชดั เจน 2.4 ครูผู้สอนควรให้ความรู้พื้นฐานเก่ียวกับ หลักการ ขั้นตอนและวิธีในกาเรียนรู้ให้เกิด ข้ึนกับผู้เรียนก่อน แล้วจัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง โดยครูผู้สอน คอยแนะนาและอานวยความสะดวกในการเรียนรขู้ องผเู้ รียน 2.5 ควรจะมกี ารศกึ ษาถงึ ความผิดพลาดของนักเรียนในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ว่า การแก้ปัญหาของเขาเหล่านั้นมีข้อผิดพลาด มีข้อบกพร่องหรือไม่ อย่างไร ข้อผิดพลาดและ ข้อบกพร่องท่ีพบน้ัน เป็นความผิดพลาดจากการไม่รู้จักใช้กลยุทธ์ ผิดพลาดเพราะสะเพร่า ผิดพลาด เพราะขาดความรู้ ผิดพลาดเพราะทาผิดวิธี หลงทาง คานวณผิด หรือผิดพลาดเพราะเหตุอื่น เช่น เขา้ ใจโจทย์ผิด ขาดความเชอื่ ม่นั ในตนเอง ไม่สนใจจะทาอย่างจรงิ จงั ขาดความกระตือรอื รน้ เปน็ ต้น 2.6 ควรมีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรวิชาคณิตศาสตร์ ท่ีเน้นเร่ืองการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ให้เด็กได้เกิดความสนุก เกิดความเพลิดเพลิน และอย่างน้อยอาจจะ ก่อให้เกิดความรักในวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น เช่น การเปิดชุมนุมรักการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ มี ห้องนิทรรศการทางคณิตศาสตร์ ให้นักเรียนได้จัดกิจกรรม จัดห้องเรียนคณิตศาสตร์ที่มีบรรยากาศ ของการเรียนที่น่าสนใจ เช่น มีภาพและประวัติของนักคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงพร้อมผลงานของท่าน มีหนังสือคณิตศาสตร์ให้อ่านประกอบมากมาย มีเกมให้เล่น จัดตั้งศูนย์แก้ปัญหาคณิตศาสตร์ ติด ปัญหาให้นักเรียนนาไปคิดเป็นการบ้าน ปัญหาที่แปลกแตกต่างจากปัญหาในบทเรียน ปัญหาท่ี น่าสนใจประเภท ปัญหาในชีวติ ประจาวัน ให้นักเรียนที่สนใจนาไปคิดและนามาส่งท่ีศูนย์ ถ้าตอบถูกก็ มรี างวลั ให้ ถ้าทาผดิ กม็ ีนกั เรียนประจาศนู ย์ โดยความดูแลของผู้สอน คอยให้คาอธิบายวิธีแก้ท่ีถูกต้อง และกิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจคือ การแข่งขันตอบปัญหาทางคณิตศาสตร์เป็นครั้งคราว นาข่าว ความกา้ วหน้าทางคณิตศาสตร์มาปดิ ประกาศ หรอื เผยแพร่ใหท้ ราบ เป็นต้น

บรรณานกุ รม

74 บรรณานกุ รม กรมวชิ าการ. (2544). คูม่ อื การจดั สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์องค์การรับส่งสินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จากดั . โครงการ PISA ประเทศไทย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2557). ผลการ ประเมนิ PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ นกั เรียนรู้อะไร และทาอะไร ไดบ้ า้ ง. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด อรณุ การพิมพ์. โครงการ TIMSS 2011 THAILAND สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2556). สรุปผลการวจิ ัยโครงการ TIMSS 2011 ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัทแอดวานซ์ พรนิ้ ติ้ง เซอรว์ ิส จากัด. _______. (2556). สรปุ ผลการวจิ ัยโครงการ TIMSS 2011 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2. กรงุ เทพฯ: บริษัท แอดวานซ์ พรน้ิ ติง้ เซอรว์ ิส จากดั . จีรนันท์ โสภณพินจิ . (2541). การใช้ยุทธวธิ กี ารแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนโพธิสัมพนั ธ์ พิทยาคาร อาเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ปรญิ ญานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). ชลบรุ ี: มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบคน้ เม่ือ 21 ตุลาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th ฉวีวรรณ เศวตมาลย์. (2544). ศลิ ปะการสอนคณติ ศาสตร์. กรุงเทพฯ: สวุ ีริยาสาส์น. เฉลิมศักดิ์ นามเชียงใต.้ (2544). กลยุทธ์การทาผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพฯ: อุบลกิจออฟเซฟ. ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2523). เอกสารการสอนชดุ วิชาเทคโนโลยแี ละสอ่ื การศกึ ษา หน่วยที่ 1 – 5. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช. _______. (2545). เอกสารการสอนชดุ วิชาสอื่ การสอนระดบั ประถมศกึ ษา หนว่ ยที่ 8 – 15. พมิ พ์ครั้งที่ 20. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช. ถวลั ย์ มาศจรสั . (2548). ค่มู อื ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการจัดทานวตั กรรมการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ: ธารอักษร. ทิศนา แขมมณี. (2551). ศาสตรก์ ารสอน : องคค์ วามรเู้ พื่อการจัดกระบวนการเรยี นรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพ์คร้งั ท่ี 8. กรุงเทพฯ: สานักพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

75 นคร พันธุณ์ รงค์. (2538). คมู่ อื การทาผลงานทางวชิ าการเพ่อื ขอกาหนดตาแหน่งอาจารย์ 3. เชียงใหม่: ส.ศุภลกั ษณ์การพิมพ์. มนฤดี ทรัพยะเกตรนิ . (2554). รายงานผลการใชเ้ อกสารประกอบการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ ค 21101 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เร่ือง จานวนเต็ม. สบื ค้นเมอื่ 11 เมษายน 2559, จาก http://www.vcharkarn.com/vcafe/204924 นสิ ากร อบั ดลุ เลาะห์. (2558). รายงานผลการวิจัยการใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวชิ าคณิตศาสตร์ ค32101 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5. สืบค้นเมอ่ื 11 เมษายน 2559, จาก http://www.islamiccollege.ac.th/islamiccollege/index.php/mn_innovation บุญชม ศรสี ะอาด. (2545). การวิจยั เบ้ืองต้น. พิมพ์คร้ังท่ี 7. กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน์ . _______. (2546). วิธกี ารทางสถติ ิสาหรับการวิจัย เล่ม 1. พิมพ์คร้ังที่ 7. กรงุ เทพฯ: สุวีรยิ าสาสน์ . ปรชี า เนาวเ์ ย็นผล. (2544). หน่วยที่ 12 การแก้ปญั หาคณติ ศาสตร์ ในประมวลสาระชุดวิชา สารตั ถะและวทิ ยวิธที างวิชาคณิตศาสตร์ หนว่ ยท่ี 12 – 15. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช. ปรยี าภรณ์ เกลาเกลีย้ ง. (2556). การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ของนกั เรียน ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ทีเ่ รียนดว้ ยชุดการสอนเรื่องความน่าจะเปน็ ทีเ่ น้นยุทธวิธกี าร แก้ปญั หาตามรปู แบบการแกโ้ จทย์ปัญหาของโพลยา. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม. (หลกั สูตร และการสอน). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. สืบค้นเมอ่ื 21 ตุลาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th พิมพกานต์ รชั ทลู . (2557). รายงานการใช้เอกสารประกอบการเรยี นรายวิชาคณิตศาสตร์เพม่ิ เติม1 รหสั วิชา ค31201 เรื่อง ตรรกศาสตรเ์ บ้อื งต้น สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรียนโยธินบารุง จังหวดั นครศรีธรรมราช. สืบค้นเม่อื 11 เมษายน 2559, จาก http://www.kroobannok.com/blog/70403 มาลนิ ี สขุ หา. (2557). การสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ เรือ่ งสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียวท่ีเน้นการ ใชย้ ทุ ธวิธกี ารแกป้ ัญหาทห่ี ลากหลายสาหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1. ปรญิ ญานิพนธ์ ศศ.ม. (คณติ ศาสตรศ์ กึ ษา). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบคน้ เมอ่ื 21 ตุลาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th ยุทธวธิ ใี นการแกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์. (2555). สืบค้นเมอื่ 20 ตลุ าคม 2558, จาก http://mathsfree4u.blogspot.com/2012/05/1.html ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2546). พจนานกุ รม ฉบับราชบณั ฑิตสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: นานมบี ุ๊ค พับลิเคชนั ส์. ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ. (2543). เทคนคิ การวิจัยทางการศกึ ษา. พมิ พ์คร้งั ที่ 2. กรงุ เทพฯ: สุวีรยิ าสาส์น. _______. (2543). เทคนคิ การวดั ผลการเรียนรู้ศึกษา. พิมพ์คร้ังท่ี 2.กรุงเทพฯ: สวุ ีรยิ าสาส์น.

76 ละมลู วันทา (2557). (2557). รายงานผลการใช้เอกสารประกอบการเรยี น เรื่อง เลขยกกาลัง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1. สบื คน้ เม่ือ 11 เมษายน 2559, จาก www.vcharkarn.com/uploads/journal/11/vcharkarn-journal-11864_1.doc วเิ ชยี ร เกษประทุม. (2539). การเขยี นผลงานทางวิชาการเพ่ือขอกาหนดตาแหนง่ อาจารย์ 3. กรงุ เทพฯ: มิตรสัมพนั ธก์ ราฟฟคิ อารต์ . วเิ ชียร ประยรู ชาต.ิ (2549). เอกสารประกอบการอบรมทาผลงานทางวชิ าการ. อา่ งทอง: วิทยาลัยเทคนคิ อ่างทอง. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). ทักษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: หจก. ส เจรญิ การพิมพ์. _______. (2555). ครูคณติ ศาสตร์มืออาชีพ เส้นทางสคู่ วามสาเร็จ. กรุงเทพฯ: 3-ควิ มีเดีย. _______. (2556). ยุทธวิธใี นการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์ (Mathematics problem solving strategies). กรุงเทพฯ: บริษัท เอดู พาร์ค จากัด. สมเดช บุญประจักษ์. (2543). การแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ: คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สถาบัน ราชภัฎพระนคร. สมนกึ ภทั ทิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งท่ี 7. กาฬสนิ ธุ์: ประสานการพมิ พ์. สมวงษ์ แปลงประสพโชค. (2558). ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์. สบื คน้ เม่ือ 21 ตุลาคม 2558, จาก http://mathprocess2558.blogspot.com/ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ (2546). พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พทุ ธศักราช 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์ ร.ส.พ. สาเรงิ บุญเรืองรัตน์. (2542). การวดั จิตพิสัยของมนุษย์. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ ประสานมติ ร. สิรพิ ร ทิพยค์ ง. (2555). การแก้ปญั หาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค ลาดพรา้ ว. สชุ าติ ศริ สิ ขุ ไพบูลย์. (2550). เอกสารประกอบการฝกึ อบรมการเลื่อนวทิ ยฐานะ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. สุนนั ทา สนุ ทรประเสริฐ. (2544). การผลติ เอกสารประกอบการเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์โอเดียน. สรุ างค์ โคว้ ตระกลู . (2556). จิตวิทยาการศกึ ษา. พิมพค์ ร้งั ที่ 11. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . สุราษฎร์ พรหมจันทร์. (2545). การออกแบบบทเรียน Instructional Design. กรุงเทพฯ: สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.

77 สวุ ิทย์ มูลคา และสนุ นั ทา สุนทรประเสริฐ. (2550). ผลงานทาวชิ าการสู่การเลอื่ นวิทยฐนะ. กรุงเทพฯ: หา้ งหนุ้ ส่วนจากัด ภาพพมิ พ์. หทยั รัตน์ ภูงามจิตร. (2558). การเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์และความพงึ พอใจตอ่ การเรียนรกู้ ลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เร่อื งความรู้ เบอ้ื งต้นเกย่ี วกับจานวนจริงของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 ทีเ่ รียนด้วยการจดั กจิ กรรม การเรียนรตู้ ามแนวคิดทฤษฎีพหุปัญญาและการจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ตู ามแนวคดิ ทฤษฎี คอนสตรัคตวิ ซิ มึ . ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (หลักสตู รและการสอน). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. สบื ค้นเม่ือ 20 พฤศจิกายน 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th องคล์ ออ อา่ งทอง. (2552). การศึกษาความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ โดย การใชย้ ทุ ธวธิ ีการแกป้ ัญหาเรื่อง ความน่าจะเป็น ของนักเรียนเตรยี มทหาร ช้นั ปที ี่ 2 โรงเรยี นเตรยี มทหาร. ปรญิ ญานิพนธ์ วท.ม. (คณติ ศาสตร์ศกึ ษา). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สืบคน้ เมื่อ 21 ตุลาคม 2558, จาก http://tdc.thailis.or.th ออ้ ย นริทธกิ ลุ . (2551). รายงานการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน รายวิชาคณติ ศาสตร์ เร่ือง อสมการ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2559, จาก http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=29032&bcat_id=16

ภาคผนวก

79 ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการวิจยั

80 รายนามผ้เู ช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย 1. นายสมเกยี รติ จนั ทรประภา ปรญิ ญาการศึกษา กศ.ม. บริหารการศกึ ษา ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรียนเบตง \"วีระราษฏรป์ ระสาน\" อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา 2. นางเพยี งพิศ สขุ ประเสริฐ ปริญญาการศึกษา ค.บ. คณิตศาสตร์ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โรงเรียนเบตง \"วรี ะราษฏร์ประสาน\" อาเภอเบตง จังหวัดยะลา 3. นายเสกสรร เพ่งพศิ ปริญญาการศึกษา วท.ม. คณิตศาสตร์ ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ โรงเรยี นยา่ นตาขาวรัฐชนูปถมั ภ์ อาเภอยา่ นตาขาว จังหวดั ตรัง

81 ภาคผนวก ข หนงั สือขอความอนเุ คราะห์

82 ท่ี ศธ ๐๔๒๔๕.๓๕/ว๗๑๐ โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวัดยะลา ๑๒๕ ถนนพิพธิ ภักดี อาเภอเมือง จังหวัดยะลา ๙๕๐๐๐๐ ๖ ตลุ าคม ๒๕๕๘ เรอื่ ง ขอความอนุเคราะห์เป็นผู้เชยี่ วชาญตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการทาวจิ ยั เรียน คุณครสู มเกยี รติ จันทรประภา สิง่ ทส่ี ่งมาดว้ ย ๑. เอกสารประกอบการสอนและแบบประเมนิ คุณภาพ จานวน 1 ชุด ๒. แผนการจดั การเรยี นรู้และแบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 1 ชดุ ๓. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอ่ นเรียนและหลังเรียน จานวน 1 ชุด และแบบประเมนิ ความสอดคล้อง จานวน 1 ชุด ๔. แบบสอบถามความพงึ พอใจและแบบประเมนิ ความสอดคล้อง ด้วย นายครรชิต แซ่โฮ่ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ ปฏิบัติการสอนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา กาลังศึกษาค้นคว้าพัฒนานวัตกรรม เอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตามระเบียบวิธีการวิจัย จึงใคร่ ขอความอนุเคราะห์จากท่านเป็นผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใช้ในการทาวิจัยที่ผู้วิจัยจัดทาข้ึน ดา้ นความเท่ียงตรงเชิงเนอ้ื หา และความเหมาะสมของภาษาทีใ่ ช้ เพ่อื เป็นแนวทางในการปรับปรุงและ พฒั นานวัตกรรมใหม้ ีประสทิ ธภิ าพตอ่ การเรยี นรู้ของผู้เรียนต่อไป ในการนี้ โรงเรียนพิจารณาเห็นแล้วว่าท่านเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ ในเร่อื งดังกล่าวเปน็ อย่างดี จงึ ใคร่ขอความอนเุ คราะห์จากทา่ นเป็นผู้เช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือท่ีใช้ ในการทาวิจัยครงั้ น้ี จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา โรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ด้วยดี และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนับถือ (นายสุทธานนท์ ทองนุ่น) รองผู้อานวยการโรงเรยี น รกั ษาราชการแทน ผูอ้ านวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวัดยะลา กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ โทร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑ โทรสาร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑

83 ท่ี ศธ ๐๔๒๔๕.๓๕/ว๗๑๐ โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา ๑๒๕ ถนนพพิ ิธภักดี อาเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา ๙๕๐๐๐๐ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ เรือ่ ง ขอความอนเุ คราะห์เป็นผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบเครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการทาวิจัย เรยี น คุณครเู พียงพิศ สุขประเสริฐ ส่งิ ท่สี ่งมาด้วย ๑. เอกสารประกอบการสอนและแบบประเมนิ คณุ ภาพ จานวน 1 ชุด ๒. แผนการจัดการเรยี นรแู้ ละแบบประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ จานวน 1 ชดุ ๓. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นก่อนเรียนและหลงั เรยี น จานวน 1 ชุด และแบบประเมินความสอดคล้อง จานวน 1 ชดุ ๔. แบบสอบถามความพึงพอใจและแบบประเมนิ ความสอดคลอ้ ง ด้วย นายครรชิต แซ่โฮ่ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ ปฏิบัติการสอนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา กาลังศึกษาค้นคว้าพัฒนานวัตกรรม เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตามระเบียบวิธีการวิจัย จึงใคร่ ขอความอนุเคราะห์จากท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใช้ในการทาวิจัยที่ผู้วิจัยจัดทาข้ึน ดา้ นความเทยี่ งตรงเชิงเน้อื หา และความเหมาะสมของภาษาทีใ่ ช้ เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและ พฒั นานวตั กรรมให้มปี ระสิทธภิ าพตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรยี นต่อไป ในการน้ี โรงเรียนพิจารณาเห็นแล้วว่าท่านเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ ในเร่อื งดงั กล่าวเป็นอยา่ งดี จึงใครข่ อความอนุเคราะหจ์ ากทา่ นเป็นผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ ในการทาวจิ ัยคร้ังน้ี จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณา โรงเรียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคงได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ดว้ ยดี และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ ขอแสดงความนบั ถือ (นายสทุ ธานนท์ ทองน่นุ ) รองผู้อานวยการโรงเรียน รักษาราชการแทน ผู้อานวยการโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวดั ยะลา กลุ่มบรหิ ารวิชาการ โทร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑ โทรสาร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑

84 ที่ ศธ ๐๔๒๔๕.๓๕/ว๗๑๐ โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา ๑๒๕ ถนนพิพิธภักดี อาเภอเมือง จงั หวดั ยะลา ๙๕๐๐๐๐ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๘ เรื่อง ขอความอนุเคราะห์เป็นผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการทาวจิ ัย เรียน คณุ ครเู สกสรร เพ่งพิศ สงิ่ ท่สี ง่ มาดว้ ย ๑. เอกสารประกอบการสอนและแบบประเมนิ คุณภาพ จานวน 1 ชุด ๒. แผนการจัดการเรียนรู้และแบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 1 ชดุ ๓. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรยี นและหลงั เรียน จานวน 1 ชุด และแบบประเมนิ ความสอดคล้อง จานวน 1 ชุด ๔. แบบสอบถามความพึงพอใจและแบบประเมนิ ความสอดคล้อง ด้วย นายครรชิต แซ่โฮ่ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ ปฏิบัติการสอนในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา กาลังศึกษาค้นคว้าพัฒนานวัตกรรม เอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการ เรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เพ่ือให้การดาเนินการเป็นไปตามระเบียบวิธีการวิจัย จึงใคร่ ขอความอนุเคราะห์จากท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือที่ใช้ในการทาวิจัยท่ีผู้วิจัยจัดทาขึ้น ดา้ นความเทยี่ งตรงเชิงเนื้อหา และความเหมาะสมของภาษาทใ่ี ช้ เพือ่ เปน็ แนวทางในการปรับปรุงและ พัฒนานวัตกรรมให้มปี ระสิทธิภาพต่อการเรยี นรู้ของผู้เรยี นต่อไป ในการนี้ โรงเรียนพิจารณาเห็นแล้วว่าท่านเป็นผู้มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ ในเร่ืองดงั กลา่ วเปน็ อย่างดี จึงใคร่ขอความอนเุ คราะห์จากทา่ นเป็นผ้เู ช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมือท่ีใช้ ในการทาวจิ ยั ครัง้ นี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา โรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ด้วยดี และขอขอบคณุ มา ณ โอกาสน้ี ขอแสดงความนับถือ (นายสทุ ธานนท์ ทองนุน่ ) รองผูอ้ านวยการโรงเรยี น รักษาราชการแทน ผอู้ านวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา กล่มุ บรหิ ารวิชาการ โทร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑ โทรสาร. ๐๗๒-๒๒๒๘๐๑

85 ภาคผนวก ค การหาคณุ ภาพเครอื่ งมอื

86 ตารางท่ี ค.1 ผลการประเมนิ คุณภาพเอกสารประกอบการสอน เรื่อง กลยทุ ธก์ ารคดิ พิชติ การแกโ้ จทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 คะแนนความเหน็ ของ รายการประเมนิ ผู้เช่ียวชาญ (คนท่ี) รวม IOC แปลผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1. ด้านเนอ้ื หา 1.1 เนอื้ หาชัดเจน มคี วามสมบรูณ์ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ ทนั สมยั เชอ่ื มโยงความรู้เดมิ กับ ความร้ใู หม่ 1.2 มีความถกู ต้องตามหลักวชิ าการ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 1.3 สอดคล้องกบั วัตถุประสงคท์ ่ี 0 +1 +1 2 0.66 นาไปใช้ได้ ตอ้ งการนาเสนอ 1.4 สอดคล้องกับการประยกุ ต์ใชใ้ น +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ การเรียนการสอนมีความสมั พันธ์ ตอ่ เนอ่ื ง 1.5 ความยากง่ายเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 2. ดา้ นการใชภ้ าษา 2.1 ใช้ภาษาถกู ตอ้ ง +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 2.2 เหมาะสมกับวัยของผูเ้ รียน +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 2.3 ส่ือความหมายชดั เจนเหมาะสม +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ กบั ผเู้ รยี น 3. ดา้ นการพิมพ์และการจดั รูปแบบเล่ม 3.1 ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการ +1 +1 0 2 0.66 นาไปใชไ้ ด้ 3.2 ขนาดตัวอกั ษรชดั เจน +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 3.3 พิมพ์ถกู ตอ้ ง +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 3.4 ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ +1 0 +1 2 0.66 นาไปใช้ได้ แปลกใหม่

87 ตารางที่ ค.1 (ตอ่ ) คะแนนความเห็นของ รายการประเมิน ผ้เู ช่ยี วชาญ (คนท่ี) รวม IOC แปลผล คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 4. ดา้ นประโยชน์ท่ไี ด้รบั 4.1 ช่วยให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนา +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ ดา้ นความรู้ 4.2 ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนสามารถพัฒนา +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ ดา้ นทกั ษะ 4.3 ชว่ ยให้ผเู้ รยี นสามารถพฒั นา 0 +1 +1 2 0.66 นาไปใชไ้ ด้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม ท่ดี ี 4.4 ใชเ้ ปน็ แบบอย่างต่อผู้อื่นได้ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 4.5 ผเู้ รียนสามารถนาไปใช้ใน +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ ชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. ดา้ นการวดั ผลและประเมินผล 5.1 สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ และตัวชว้ี ัด 5.2 สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียน +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ การสอน 5.3 มกี ารวัดและประเมนิ ผล +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ ทห่ี ลากหลาย หมายเหตุ +1 หมายถึง แนใ่ จว่า เอกสารประกอบการสอนน้ันสอดคล้องกับรายการประเมนิ 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจวา่ เอกสารประกอบการสอนนัน้ สอดคล้องกับรายการประเมนิ -1 หมายถงึ แน่ใจว่า เอกสารประกอบการสอนนนั้ ไมส่ อดคล้องกับรายการประเมิน

88 ตารางท่ี ค.2 ผลการประเมนิ ความสอดคล้องของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ท่ีเรียนด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคิด พิชิตการแก้โจทย์ปัญหา คณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ข้อสอบ คะแนนความเห็นของผเู้ ช่ียวชาญ (คนท่ี) รวม IOC แปลผล คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 นาไปใช้ได้ 1 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ คัดออก 2 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ นาไปใช้ได้ 3 0 +1 0 1 0.33 นาไปใช้ได้ คัดออก 4 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ คัดออก 5 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ นาไปใชไ้ ด้ 6 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ นาไปใช้ได้ 7 +1 +1 -1 1 0.33 นาไปใชไ้ ด้ นาไปใช้ได้ 8 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ คดั ออก 9 0 0 +1 1 0.33 นาไปใช้ได้ นาไปใช้ได้ 10 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ นาไปใชไ้ ด้ 11 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ คัดออก 12 +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ นาไปใช้ได้ 13 +1 +1 +1 3 1.00 14 +1 +1 +1 3 1.00 15 +1 +1 +1 3 1.00 16 +1 +1 +1 3 1.00 17 +1 0 0 1 0.33 18 +1 +1 +1 3 1.00 19 +1 +1 +1 3 1.00 20 +1 +1 0 2 0.66 21 +1 +1 +1 3 1.00 22 +1 +1 +1 3 1.00 23 -1 +1 +1 1 0.33 24 +1 0 +1 2 0.66 25 +1 +1 +1 3 1.00 หมายเหตุ +1 หมายถึง แนใ่ จว่า แบบทดสอบนั้นสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 0 หมายถงึ ไมแ่ น่ใจว่า แบบทดสอบน้ันสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ -1 หมายถงึ แนใ่ จว่า แบบทดสอบนนั้ ไมส่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์การเรียนรู้

89 ตารางท่ี ค.3 ผลการวเิ คราะหค์ ่าอานาจจาแนก คา่ ความยากง่าย และค่าความเช่อื ม่นั ของ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนทเ่ี รยี นด้วยเอกสารประกอบการสอน เร่ือง กลยุทธ์การคดิ พิชติ การแกโ้ จทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ข้อที่ P r ความยากง่าย ความหมาย แปลผล 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ คดั เลือกไว้ 1 0.50 0.27 ยากง่ายพอเหมาะ อานาจจาแนก คัดเลอื กไว้ 2 0.59 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลอื กไว้ 3 0.68 0.36 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลอื กไว้ 4 0.64 0.36 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลือกไว้ 5 0.73 0.27 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลอื กไว้ 6 0.68 0.36 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลือกไว้ 7 0.73 0.55 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลือกไว้ 8 0.55 0.27 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลือกไว้ 9 0.77 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดมี าก คัดเลือกไว้ 10 0.41 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลอื กไว้ 11 0.77 0.36 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลือกไว้ 12 0.64 0.27 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลือกไว้ 13 0.68 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลือกไว้ 14 0.77 0.36 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลอื กไว้ 15 0.64 0.45 ยากง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลอื กไว้ 16 0.68 0.27 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดี คัดเลอื กไว้ 17 0.41 0.36 ยากงา่ ยพอเหมาะ จาแนกได้ดมี าก คดั เลอื กไว้ 18 0.64 0.27 ยากง่ายพอเหมาะยาก จาแนกได้ดี คดั เลอื กไว้ 19 0.59 0.57 ง่ายพอเหมาะ จาแนกได้ดี คดั เลือกไว้ 20 0.59 จาแนกได้ดี จาแนกได้ดี 1. คา่ ความยากงา่ ย (P) อย่รู ะหว่าง 0.20 – 0.80 2. ค่าอานาจจาแนก (r) ตัง้ แต่ 0.20 ขน้ึ ไป 3. ค่าความเช่ือมนั่ (rtt) เทา่ กับ 0.133

90 ตารางที่ ค.4 ผลการประเมนิ แผนการจดั การเรียนร้ปู ระกอบการใชเ้ อกสารประกอบการสอน เรอ่ื ง กลยุทธ์การคิด พชิ ิตการแก้โจทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 คะแนนความเหน็ ของ รายการประเมนิ ผเู้ ช่ยี วชาญ (คนท่ี) รวม IOC แปลผล คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 1. สาระสาคญั 2 0.66 นาไปใชไ้ ด้ 1.1 สอดคล้องกับตัวชีว้ ัด +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 3 1.00 นาไปใช้ได้ 1.2 สอดคล้องกับเนอ้ื หา +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 1.3 มคี วามชัดเจนเขา้ ใจง่าย 0 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 2. ตัวช้ีวดั 2 0.66 นาไปใชไ้ ด้ 2.1 สอดคลอ้ งกับเนื้อหา +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 2.2 มคี วามชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 2.3 ระบุพฤติกรรมที่ต้องการวัดได้ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 2 0.66 นาไปใช้ได้ อย่างชดั เจน 3 1.00 นาไปใช้ได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 3.1 มคี วามยากง่ายเหมาะสมกับชว่ งวยั +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 3.2 ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ทกั ษะ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ กระบวนการคดิ 3.3 นา่ สนใจและเป็นประโยชน์ต่อ 0 +1 +1 ผูเ้ รียน 3.4 มีความถกู ต้องและทันสมยั ทันต่อ +1 +1 +1 เหตกุ ารณ์ 4. การนาเสนอกจิ กรรมการเรียนการสอน 4.1 สอดคลอ้ งกบั ตัวช้วี ัด +1 +1 +1 4.2 สอดคล้องและเหมาะสมกับเน้ือหา +1 +1 +1 4.3 เร้าความสนใจของผเู้ รียน +1 +1 0 4.4 กิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ ไป +1 +1 +1 ตามลาดับขน้ั ตอน 4.5 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม +1 +1 +1 เหมาะสม 4.6 กจิ กรรมการเรียนการสอนยึด +1 +1 +1 ผเู้ รียนเป็นสาคัญ 4.7 กิจกรรมการฝึกปฏิบตั ิจริง +1 +1 +1

91 ตารางที่ ค.4 (ตอ่ ) คะแนนความเห็นของ รายการประเมนิ ผเู้ ชย่ี วชาญ (คนที่) รวม IOC แปลผล คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 5. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ 5.1 สอดคล้องกับเน้ือหาทันสมัยและ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ มคี ุณภาพ 5.2 สื่อความหมายได้ชัดเจน +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ 5.3 ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นาความคิด +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ อยา่ งสรา้ งสรรค์ 6. การวัดและประเมนิ ผล 6.1 สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ และตวั ชว้ี ดั 6.2 วัดผลไดค้ รอบคลมุ เนื้อหา +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ 6.3 วัดผลไดค้ รอบคลมุ ด้านความรู้ +1 0 +1 2 0.66 นาไปใช้ได้ ทักษะ และเจตคติ 6.4 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใช้ได้ ทางการเรียนมคี วามเหมาะสม 6.5 มกี ารวดั และประเมินผลที่ +1 +1 +1 3 1.00 นาไปใชไ้ ด้ หลากหลาย หมายเหตุ +1 หมายถงึ แนใ่ จว่า แผนการจัดการเรียนรู้นั้นสอดคล้องกบั รายการประเมิน 0 หมายถึง ไมแ่ นใ่ จว่า แผนการจัดการเรยี นรู้นัน้ สอดคล้องกับรายการประเมนิ -1 หมายถึง แน่ใจว่า แผนการจดั การเรียนรู้นัน้ ไมส่ อดคล้องกับรายการประเมิน