โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย

Search Result of "การบำบัดน้ำเสีย"

About 784 results

โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

การประเมินโลหะหนัก (As,Cd,Cr,Hg,Ni,Pb) สะสมในดินตะกอนบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลที่รองรับน้ำทิ้งจากระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนเทศบาลเมืองเพชรบุรี: โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.เพชรบุรี (2015)

ผู้แต่ง:

โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
เสถียรพงษ์ ขาวหิต,
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
Dr.wasin Inkapatanakul, Associate Professor
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
,
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
Dr.Onanong Phewnil, Assistant Professor
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
,
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
Dr.Anukorn Boutson, Assistant Professor
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
,
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
Dr.Kasem Chankao, Emeritus Professor
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
,

วารสาร:

โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
โครง งานวิจัย การบำบัดน้ำเสีย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ...

  • หน้าหลัก
  • โครงการวิจัย
  • [ข้อมูลทั่วไป] 2555 : การบำบัดน้ำเสียชุมชนด้วยถ่า...

รายละเอียดข้อมูลโครงการวิจัย

รหัสโครงการวิจัย
ปีงบประมาณ

2555

ประเภทโครงการ

โครงการวิจัยเดี่ยว

ประเภททุน

ทั่วไป

ชื่อโครงการวิจัย

การบำบัดน้ำเสียชุมชนด้วยถ่านกัมมันต์จากเม็ดมะขาม

ชื่อโครงการวิจัย (EN)

Domestic Wastewater Treatment by Activated Carbon from Tamarind Seed

นักวิจัย

1. อาจารย์ ดร. ฤทัยรัตน์ น้อยคนดี (หัวหน้าโครงการ, ร้อยละการทำวิจัย 100 )

สาขาวิชา/กลุ่มงาน

สาขาวิชา วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม

หลักสูตร

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.)

คณะ/หน่วยงาน

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทคัดย่อ

งานวิจัย เรื่อง การบําบัดน้ำเสียชุมชนด้วยถ่านกัมมันต์จากเมล็ดมะขาม ทําการศึกษาประสิทธิภาพการบําบัดน้ำเสียชุมชน โดยใช้น้ำเสียตัวอย่าง จากคลองสาธารณะ ข้างกําแพงวัดมหาธาตุ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ เลือกวิเคราะห์ ดัชนีชี้วัดคุณภาพน้ํา ทั้งหมด 6 ชนิด ได้แก่ สี (Color) กลิ่น ค่าความขุ่น (turbidity) ค่าการนําไฟฟ้า(electrical Conductivity) ค่าความเป็นกรดเป็นเบส (pH) และค่าความต้องการปริมาณก๊าซออกซิเจนทางชีวภาพ (BOD)

  จากการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการบําบัดน้ำเสียชุมชนด้วยถ่านกัมมันต์จากเมล็ดมะขาม พบว่า ถ่านกัมมันต์ จากเมล็ดมะขาม มีประสิทธิภาพเหมาะสมในการบําบัดน้ำเสีย โดยเฉพาะ เรื่อง ค่าความขุ่น ค่าการนําไฟฟ้า ค่าความ เป็นกรดเป็นเบส (pH) และค่าความต้องการปริมาณก๊าซออกซิเจนทางชีวภาพในแหล่งน้ํา (BOD) ผลจากการวิเคราะห์ ค่าความแปรปรวนและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยด้วย Least Significant Difference (LSD) ด้วยโปรแกรมทางสถิติ IRRISTAT 4.3 ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% พบว่า ค่าเฉลี่ยของดัชนีชี้ชี้วัดคุณภาพน้ำทั้ง 4 ตัวนี้มีความแตกต่างกันทาง สถิติอย่างมีนัยสําคัญยิ่ง

  ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ถ่านกัมมันต์จากเมล็ดมะขาม สามารถดูดซับสารอินทรีย์ รวมทั้งสิ่งแปลกปลอมในน้ำได้ เป็นอย่างดี โดยพิจารณาจากความสามารถในการบําบัดคุณภาพน้ำในเรื่อง ค่าความขุ่น ค่าการนําไฟฟ้า ค่าความเป็น กรดเป็นเบส (pH) และค่าความต้องการปริมาณก๊าซออกซิเจนทางชีวภาพในแหล่งน้ำ (BOD)

  คําสําคัญ : น้ำเสียชุมชน, การบําบัดน้ำเสีย, การดูดซับ, ถ่านกัมมันต์, เมล็ดมะขาม

The research of domestic wastewater treatment by activated carbon from tamarind seed study efficiency to treat domestic wastewater in the canal lateral Mahatat Temple wall, analyze six indicators of water that colour, smell, turbidity, electrical conductivity, pH and biological oxygen demand (BOD).

Furthermore, the study of efficiency of waste water treatment using activated carbon from tamarind seed shows that is able to treat turbidity, electrical conductivity, pH and biological oxygen demand (BOD). Considering the Least Significant Difference (LSD) by using IRRISTAT 4.3 statistically program at probability 95% indicate that the average of 4 indexes has variance at very high significant

In conclusion, the activated carbon from tamarind seed can be perfectly applied to absorb organics waste in wastewater that show in colour, smell, turbidity, electrical conductivity, pH and biological oxygen demand (BOD).

Keywords : domestic wastewater, wastewater treatment, absorption, activated carbon, tamarind seed

คำสำคัญ

น้ำเสียชุมชน,การบําบัดน้ำเสีย,การดูดซับ,ถ่านกัมมันต์,เมล็ดมะขาม,domestic wastewater,wastewater treatment,absorption,activated carbon,tamarind seed

สถานะโครงการ

ดำเนินการเสร็จสิ้น

บทคัดย่อ

PDF ดาวน์โหลด เปิด : 798 ครั้ง

เล่มรายงาน

PDF ดาวน์โหลด เปิด : 1,711 ครั้ง / ดาวน์โหลด : 68 ครั้ง
(จำกัดจำนวน 8 หน้า เข้าสู่ระบบสำหรับเอกสารฉบับเต็ม)

เปิดดู

2,384 ครั้ง