โครง ร่าง งานวิจัย คณิตศาสตร์

โครงรา่ งงานวิจยั
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายวิชา คณิตศาสตร์พืน้ ฐาน
เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว โดยใชแ้ บบฝึกทักษะคณิตศาสตร์
สาหรบั นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา

นายอภิสทิ ธ์ิ เชอ้ื สะอาด

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา
สังกดั สานกั งานบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

กิตติกรรมประกาศ

งานวิจัย เร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน เรื่อง สมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัด
พะเยา ในคร้ังน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณ นายนวพล คมบาง หัวหน้ากลุ่มสาระวิชา
คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัด ที่ให้คาปรึกษาแนะนาและตรวจแกไข
ข้อบกพรอ่ งต่างๆ ตลอดมา ด้วยความเอาใจใสเ่ ป็นอยา่ งย่ิงจนงานวจิ ยั ฉบับน้ีเสรจ็ สมบรูณ์ลุล่วงได้ตาม
วตั ถุประสงค์ทีต่ ัง้ ไว้

ขอขอบคณุ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา คณะครู นักเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัด
พะเยา สงั กดั สานักงานบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ ทุกท่านที่ส่งเสริม ให้ความช่วยเหลือ ให้คาแนะนา
และอานวยความสะดวกเพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาค้นคว้าในคร้ังนี้เป็นอย่างดี คุณค่าและ
ประโยชน์ของการศึกษาค้นคว้าในครง้ั นี้

อนงึ่ ผวู้ จิ ัยหวงั ว่า งานวจิ ัยฉบบั น้จี ะมปี ระโยชน์อยไู่ ม่น้อย สาหรับข้อบกพร่องต่างๆ ที่อาจจะ
เกดิ ข้ึนนัน้ ผูว้ จิ ัยขอนอ้ มรบั ผิดเพียงผเู้ ดยี ว และยนิ ดที ่ีจะรับฟังคาแนะนาจากทุกท่านท่ีได้เข้ามาศึกษา
เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ในการพัฒนางานวจิ ยั ตอ่ ไป

อภิสิทธิ์ เชอ้ื สะอาด

ชื่อเรอ่ื ง ข

ผู้วจิ ัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐานเร่ือง สมการเชิงเส้น
สถานศกึ ษา ตัวแปรเดียว โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนช้ัน
ปกี ารศกึ ษา มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา
ท่ปี รกึ ษา อภสิ ทิ ธ์ิ เช้อื สะอาด
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา
2563
นายนวพล คมบาง

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อเปรียบเทียบและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี น กอ่ นและหลงั จากใชแ้ บบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เรือ่ งสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว สาหรับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เร่ืองสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

การวิจัยในคร้ังน้ีเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 1/2 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงาน
การศึกษาพิเศษ ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 40 คน ในการดาเนินการวิจัยได้มีการเก็บ
รวบรวมข้อมูล โดยวิเคราะห์หาค่าร้อยละความก้าวหน้าของการเรียน จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ืองสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา โดยผู้วิจัยใช้ร้อยละเพ่ือ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเร่ือง สมการเชิงเส้นตวั แปรเดยี ว

ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังจากใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราช
ประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา หลังเรยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่ีสงู กวา่ กอ่ นเรยี น 2) นักเรียน
สว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจมากที่สุดในการจัดการเรียนรู้ เรือ่ งสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว โดยใช้แบบฝึก
ทักษะคณิตศาสตร์ เร่ืองสมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว สาหรับนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

สารบญั

เรอื่ ง หน้า

กติ ติกรรมประกาศ ....................................................................................................... ก
บทคัดยอ่ ...................................................................................................................... ข
สารบัญ ....................................................................................................................... ค
สารบัญตาราง ............................................................................................................ จ

บทที่ 1 บทนา 1
ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา ............................................................. 2
วัตถุประสงค์ ....................................................................................................... 2
สมมตุ ฐิ านของการวจิ ยั ........................................................................................ 3
กรอบแนวคดิ การทาวจิ ยั ..................................................................................... 3
ขอบเขตของวิจยั ................................................................................................. 3
ตวั แปรท่ศี ึกษา ..................................................................................................... 4
นยิ ามศัพท์ ........................................................................................................... 5
ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ บั จากการวิจยั ...............................................................

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกย่ี วขอ้ ง 6
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) 7
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ......................................................................... 10
แบบฝึกทกั ษะ ...................................................................................................... 11
แผนการจดั การเรียนรู้ ......................................................................................... 11
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ ............................................................. 13
ความพงึ พอใจ .....................................................................................................
งานวิจัยที่เก่ียวข้อง .............................................................................................

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวจิ ยั 16
วิธีการวจิ ยั / แบบการวจิ ัย .................................................................................. 16
กลุ่มตัวอยา่ ง ..................................................................................................... 16
ระยะเวลาที่ทาการศกึ ษา .................................................................................... 16
เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ..................................................................................... 19
วิธกี ารดาเนินการรวบรวมข้อมลู .......................................................................... 19
การวเิ คราะห์และสถิติท่ใี ช้ ..................................................................................

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า

เรื่อง 21
21
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 22
สัญลกั ษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล .................................................
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ............................................................................................ 24
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ........................................................................................ 24
25
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 26
วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั .................................................................................... 27
วธิ ีดาเนินการวจิ ัย ..............................................................................................
สรปุ ผลการวจิ ยั ..................................................................................................
อภิปรายผลการวจิ ยั ...........................................................................................
ขอ้ เสนอแนะ ......................................................................................................

บรรณานุกรม ตัวอย่างแผนการจดั การเรียนรูเ้ รือ่ ง สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว
ภาคผนวก แบบฝึกทักษะ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวโดยใช้แบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุ
ภาคผนวก ก เคราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา
ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกอ่ นเรียนและหลังเรียนเรื่องสมการ
เชิงเส้นตวั แปรเดยี ว
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ เรื่อง สมการ
เชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้น
ภาคผนวก ง มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

1

บทที่ 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา
การศึกษาเป็นกระบวนการท่ีสาคัญในการพัฒนาคนให้มีคุณภาพ ซึ่งหากคนมีคุณภาพแล้ว

ย่อมส่งผลให้ประเทศชาติมีความเจริญก้าวหน้า ดังน้ันหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้าน
ร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุขมีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง
เจตคติท่ีดีต่อต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็น
สาคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ตามศักยภาพ
(กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 4)

คณิตศาสตร์มีความสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถ่ีถ้วน
รอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผนตัดสินใจแก้ปัญหาและนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
สารอ่ืนๆ คณิตศาสตร์จึงมีประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต ช่วยพัฒนาคุณภาพให้ดีข้ึน และสามารถอยู่
รว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้อยา่ งมีความสุข (กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2551ข : 1)

วิชาคณิตศาสตร์เปน็ วชิ าที่มีเน้อื หาเปน็ นามธรรมเป็นส่วนมาก จึงยากท่ีจะทาให้นักเรียนส่วน
ใหญ่เข้าใจได้ เน่ืองจากในการคิดคานวณและการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ต้องใช้ความรู้และ
ทักษะพ้ืนฐานหลายๆ ด้านประกอบเข้าด้วยกัน สมการเป็นเนื้อหาหน่ึงท่ีเนื้อหาส่วนส่วนใหญ่เป็น
นามธรรม ทาให้ผู้เรียนเกิดความสับสนและเข้าใจได้ยาก ซ่ึงผู้วิจัยจึงได้เล็งเห็นปัญหาของการเรียน
เร่ืองสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔
จังหวัดพะเยา สาเหตุมาจาก นักเรียนไม่มีความรู้พื้นฐานในการแก้ปัญหา ความสามารถในการ
แก้ปัญหาของนักเรียนยังไม่พัฒนาเท่าท่ีควร เนื่องจากไม่เข้าใจในความสัมพันธ์ของสมการ สมบัติ
ต่างๆ ไม่เข้าใจการกาหนดตวั แปรแทนขอ้ ความท่ีไม่ทราบค่า ทาให้ไม่สามารถแก้สมการ และแก้โจทย์
ปัญหาการประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ อาจเป็นสาเหตุทาให้ผู้เรียนเกิดความสับสนและ
สง่ ผลให้ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรเ์ รื่องสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวต่า

จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ผู้วิจัยได้เห็นว่าการประยุกต์สมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียวน้ัน เป็นการดาเนินการพ้ืนฐานในการเรียนเรื่องอ่ืนๆ อาทิเช่น การแก้โจทย์ปัญหาสมการ
ระบบสมการ และสมการกาลังสอง เป็นต้น เพ่ือสร้างความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการประยุกต์สมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว และช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะในการแก้สมการ ผู้วิจัยจึงได้สร้างแบบฝึกทักษะ

2

คณิตศาสตร์ เรอ่ื งสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี ว สาหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ โรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สามารถแก้สมการและเข้าใจในความสัมพันธ์ของโจทย์ปัญหาการแก้
สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี วได้ ซ่ึงรวมถงึ มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่
ดีขึ้น และยงั ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตรด์ ขี น้ึ อีกท้ังนักเรียนยังสามารถนาความรู้
และทักษะทางคณิตศาสตร์เร่ืองการประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ไปใช้ในเร่ืองไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเปรียบเทียบและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลังจากใช้แบบฝึกทักษะ

คณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จงั หวดั พะเยา

2. เพอ่ื ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ เร่ืองสมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา

สมมุติฐานของการศกึ ษา
1. ผลการเปรียบเทียบสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนและหลังจากใช้แบบฝึกทักษะ

คณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราช
ประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา สงู กว่าก่อนเรยี น

2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการการจัดการเรียนรู้ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา โดยรวมอยู่ในระดบั มากข้ึนไป

3

กรอบแนวคดิ การทาวจิ ัย

แบบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์
เรอ่ื ง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

- ผลการเปรียบเทยี บสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนักเรียน กอ่ นและหลังเรียนโดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ
คณิตศาสตร์ เร่ือง สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว สาหรบั นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา
- ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมีต่อการการจัดการเรยี นรู้ เร่ือง สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว โดย
ใช้แบบฝกึ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ เรอ่ื ง สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษา
ปที ี่ 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

ขอบเขตของวจิ ยั
ขอบเขตด้านประชากร
ประชากร ท่ีใช้ในการศึกษาในคร้ังน้ี ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ นักเรียนท่ีกาลัง

ศึกษาอยู่ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานัก
บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ จานวน 160 คน

ขอบเขตด้านเนอ้ื หา
เน้ือหาท่ีใช้ในการศึกษาและสร้างแบบฝึกทักษะครั้งนี้ เป็นเน้ือหากลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) เรอื่ ง สมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว
ตวั แปรท่ศี ึกษา
1. ตัวแปรอิสระ คอื แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชงิ เสน้ ตวั แปรเดียวสาหรบั
นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา

4

2. ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่
2.1 ผลการเปรยี บเทียบสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนกั เรยี น ก่อนและหลังเรียนโดยใช้

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1
โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา

2.2 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ตี ่อการการจัดการเรียนรู้ เร่ือง สมการเชิงเส้นตัว
แปรเดียว โดยใช้แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา

นิยามศพั ท์
1. แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ หมายถึง แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง สมการเชิง

เส้นตัวแปรเดียว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ สาหรับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 160
แบบฝึก แตล่ ะแบบฝกึ จะประกอบด้วย ตวั อยา่ ง และแบบฝกึ หดั

2. พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์ของ
นักเรียนในการเรียนรู้ ตามโจทย์หรือสถานการณ์ที่กาหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง แม่นยา โดยดูจาก
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรอื่ ง การแก้สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว ที่ผู้วิจัยสรา้ งขึ้น

3. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง แบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเพ่ือใช้วัด
ความสามารถในการเรียนรู้ก่อน-หลังเรียน สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ชนิดเลือกตอบ
4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ข้อ

4. การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้แบบฝึกทักษะ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดย
การสอนเน้ือหาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองนั้น ๆ ก่อน แล้วให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดใน
ชุดฝกึ เสริมทกั ษะทผ่ี ู้รายงานสรา้ งข้นึ

5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูส้ กึ ช่ืนชอบหรือพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
ด้วยแบบทักษะ เร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ได้แก่ ความพอใจ ความ
สนใจ ท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และประโยชน์ท่ีได้รับจากการเรียนโดยใช้ชุดฝึกเสริมทักษะ
คณติ ศาสตร์ ทผ่ี ู้รายงานสร้างข้นึ

6. สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว หมายถงึ สมการทีม่ ตี วั แปรหรอื ตวั ไมท่ ราบค่าและเลขชี้กาลัง
ของตัวแปรเป็น 1 ตัวแปรอาจปรากฏเพยี งข้างใดข้างหน่งึ ของเครื่องหมาย “=” หรอื ปรากฏทง้ั สอง
ข้างแตเ่ มอื่ จดั รูปให้อย่ใู นรูปผลสาเร็จโดยมี x เปน็ ตัวแปร a , b เป็นคา่ คงตวั และ a ไมเ่ ทา่ กบั 0 จะ
อยู่ในรูปแบบสมการเป็น ax + b = 0

5

ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการวิจัย
1. พัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐานของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
2. เป็นแนวทางสาหรบั ครูผ้สู อนได้ศึกษาการใช้ แบบฝึกทกั ษะ และนาไปใช้ในการพัฒนา การ

จดั การเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เร่ือง การประยกุ ต์สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว ในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาที่ 1
นอกจากนยี้ ังสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้และฝกึ ทกั ษะในสาระคณิตศาสตร์เรอื่ งอน่ื ๆ
ตอ่ ไป

3. สามารถพัฒนาผเู้ รียนและรูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ในการเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ทบทวน
บทเรยี นและแบบฝึกทักษะ

6

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง

ในการศึกษาเก่ยี วกับรูปแบบวิธกี ารเรยี นของนักเรียนครงั้ น้ี ผูว้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและ
งานวิจยั ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือเปน็ แนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้เรือ่ ง สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว ด้วย
แบบฝกึ ทักษะ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางซ่ึงผวู้ ิจัยจะนาเสนอเน้อื หาตามลาดบั หัวขอ้
ดังต่อไปน้ี

1. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551(ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560)
กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์
2. แบบฝึกทกั ษะ
3. แผนการจดั การเรียนรู้
4. การหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทกั ษะ
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์
5. ความพึงพอใจ
6. งานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง

1. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานพทุ ธศักราช 2551(ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้เน้น
การจดั การศึกษาทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ โดยไดก้ าหนดสาระทเ่ี ป็นองคค์ วามรูข้ องกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ ประกอบไปดว้ ย 3 สาระ ดงั นี้

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ วจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ
จานวน ผลทเี่ กิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังกช์ ัน ลาดับและอนุกรมและนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการและอสมการ อธิบายความสัมพนั ธ์หรอื ชว่ ยแก้ปัญหาทก่ี าหนดให้
สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเก่ยี วกบั การวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งท่ตี อ้ งการวดั และ
นาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรปู
เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้
สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติและใชค้ วามรู้ทางสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลกั การนบั เบอ้ื งต้น ความนา่ จะเป็นและนาไปใช้

7

2. แบบฝกึ ทกั ษะ
แบบฝึกทักษะ ถือเป็นส่ือหรือนวัตกรรมที่จาเป็นอย่างหนึ่งท่ีจะทาให้การเรียนการสอน

บรรลผุ ล อีกทั้งยังสามารถช่วยในการฝึกทักษะผู้เรียนได้ดี นักการศึกษาได้ให้ความหมาย ความสาคัญ
การสรา้ งแบบฝกึ ทกั ษะและประเด็นตา่ งๆทีสาคญั ไว้หลายประการดังต่อไปน้ี

ความหมายของแบบฝกึ ทักษะ
วราภรณ์ ระบาเลศิ (2552 : 34) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึงงานหรือกิจกรรมที ครูจัด
ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการปฏิบัติบ่อย ๆ จนเกิดความชานาญมีความรู้ความเข้าใจใน เนื้อหาวิชาที
เรยี น และสามารถนาความรนู้ ั้นไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้
สลาย ปลังกลาง (2552 : 31-32) กล่าวว่า แบบฝึกหัดหรือแบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการ
เรยี นการสอน ทใ่ี ช้สาหรับให้ผู้เรียนฝึกความชานาญในทักษะต่างๆ จนเกิดความคิดรวบยอดในเร่ืองที
ฝกึ และสามารถ
นาทกั ษะไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาได้
จารุวรรณ เขียวอ่อน (2551 : 52) กล่าวว่า แบบฝึกทักษะ หมายถึง สื่อการสอนที่สร้างข้ึน
สาหรบั ให้นกั เรียนฝกึ ปฏิบตั ิเพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และความชานาญในเร่ืองน้ันๆ มากขนึ้
ทิตตยิ า ฤทธโิ์ ต (2553 : 13) กล่าววา่ แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนสาหรับให้นักเรียนได้ทบทวน
ฝึกฝนทักษะจนเกิดความชานาญหลังจากที่ได้เรียนในบทเรียนไปแล้วโดยใช้ฝึกควบคู่ไปกับการเรียน
โดยยกตัวอย่างปัญหาท่ีครอบคลุมเน้ือหาความรู้ต่างๆ ท่ีเรียนแล้วและผู้เรียนสามารถนาไปใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้
บุญนา เกษี (2558 : 14) แบบฝึกเป็นสื่อการเรียนการสอนท่ีสร้างขึ้นเพ่ือให้ นักเรียนได้ฝึก
ปฏิบัติด้วยตนเองจนเกิดความรู้ ความเข้าใจเพ่ิมข้ึน โดยท่ีกิจกรรมที่ได้ปฏิบัติใน แบบฝึกน้ันจะ
ครอบคลุมเน้ือหาท่ีเรียนไปแล้วทาให้นักเรียนมีความรู้และทักษะมากขึ้นและทาให้ผู้เรียนมองเห็น
ความก้าวหน้าจากผลการเรยี นรูข้ องตนเองได้
จากการท่ีกลา่ วมาแล้ว สรปุ ได้ว่า แบบฝกึ หัดหรือแบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ือการสอนที่สร้าง
ขึ้นสาหรับนักเรียนปฏิบัติเพ่ือให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ฝึกฝนทักษะจนเกิดความชานาญ หลังจากท่ี
ไดเ้ รยี นในบทเรียนไปแล้ว และผู้เรยี นสามารถนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้

ความสาคญั และประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะ
คณิตศาสตร์เป็นวิชาทักษะทีต้องอาศัย การฝึกฝนอย่างสม่าเสมอ เพราะการฝึกฝน จะทาให้
เกิดความชานาญ ความแม่นยา มีพัฒนาการทางการคิด แบบฝึกทักษะจึงเป็นสื่อการเรียนท่ีอานวย
ประโยชน์ ต่อการเรียนรู้ จึงมีผู้เสนอความสาคญั และประโยชนข์ องแบบฝกึ ทกั ษะไว้ ดังต่อไปน้ี

8

อุบลวรรณ ปรุงวนิชพงษ์ (2551 : 86) แบบฝึกทักษะช่วยในการฝึกฝนทักษะทักษะ การใช้
ภาษา และลดปัญหาด้านความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีทักษะทางภาษาทีคงทน ช่วยให้ ครู
ประหยัดเวลาในการที่ต้องเตรียมแบบฝึกหัดตลอดเวลาและทราบถึงปัญหาต่างๆ ของนักเรียนได้
ชัดเจนข้ึน นอกจากนี้แบบฝึกยังช่วยให้นักเรียนสามารถทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้วได้ด้วยตนเอง และ
ทราบถงึ ความก้าวหนา้ ในการเรยี นของตน และพัฒนาทกั ษะทางการเรียนของตนอีกด้วย

สมพร ตอยยีบี (2554 : 37) ได้กล่าวว่า แบบฝึกมีความสาคัญต่อการเรียน การสอนใน
รายวิชาต่าง ๆ เพราะจะช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาบทเรียน และยังสามารถทบทวนเน้ือหาได้ด้วย
ตนเอง

อนุรักษ์ เร่งรัด(2557 : 38) แบบฝึกทักษะมีความสาคัญและมีประโยชน์ต่อท้ังครูผู้สอนและ
นักเรียน ในด้านของครูผู้สอนนั้นทาให้ทราบข้อบกพร่องของนักเรียนลดความแตกต่างระหว่าง
นักเรียนทราบความก้าวหน้าจะช่วยพัฒนาการเรียนรู้แก่นักเรียนนอกจากน้ียังช่วยลดภาระค่าใช้จ่าย
และประหยัดเวลาด้านนักเรียนแบบฝึกทักษะช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนมากขึ้นสามารถฝึกฝน
ทบทวนบทเรยี นด้วยตนเองก่อใหเ้ กดิ ความเข้าใจทคี งทน เกดิ ความ สนุกสนานในขณะเดียวกันก็ทราบ
ความกา้ วหน้าของตนเอง

บุญนา เกษี (2558 : 17) แบบฝึกมีความสาคัญ ทาให้เกิดทักษะความชานาญ หากแต่
ต้องการได้รับการฝึกหลาย ๆ ครั้ง หลายรูปแบบ เม่ือผู้เรียนได้รับการฝึกแล้วอย่างน้อย ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตนเองได้แน่นอน แบบฝึกมีประโยชน์ต่อครูผู้สอนในการแก้ปัญหาของ นักเรียนที่มี
ปัญหามากไดด้ ี

จากการท่ีกลา่ วมาแลว้ สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะมีความสาคญั และมปี ระโยชนต์ ่อท้ัง ครูผู้สอน
และนักเรียน ในด้านของครูผู้สอนน้ัน ทาให้ทราบข้อบกพร่องของนักเรียนลดความแตกต่างระหว่าง
นกั เรยี น ทราบความก้าวหน้าจะช่วยพฒั นา การเรยี นรู้แกน่ ักเรียน นอกจากนี้ยัง ช่วยลดภาระค่า ใช้
จ่ายและประหยัดเวลา ด้านนักเรียนแบบฝึกทักษะช่วยให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนมากขึ้น สามารถ
ฝึกฝนทบทวนบทเรียนด้วยตนเองเกิดความ สนุกสนานในขณะเดียวกันก็ทราบความก้าวหน้าของ
ตนเอง

ลักษณะของแบบฝึกทักษะ
ทิตติยา ฤทธิ์โต (2553 : 17) แบบฝึกควรเหมาะสมกับระดับวัยและความสามารถของ
ผู้เรียนและควรเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับบทเรียนท่ีเรียนมาแล้ว และมีคาแนะนาที่ชัดเจนแบบฝึกควร
ฝกึ จากง่ายไปหายาก มีรปู แบบท่หี ลากหลาย น่าสนใจท้าทายความสามารถ และสามารถนาไปใช้ใน
ชวี ติ ประจาวันได้

9

ประภาพร ถ่ินอ่อง (2553 : 33) ได้กล่าววา่ ลกั ษณะของแบบฝึกท่ีดีต้องมี จุดหมายท่ีแน่นอน
จะทาการฝึกทักษะด้านใด ควรใช้ภาษาง่าย ๆ และมีความน่าสนใจ เรียงลาดับจากง่ายไปหายากให้
เหมาะสมกับวยั และความสามารถของผู้เรียน มีเนื้อหาตรง จัดกิจกรรมให้หลากหลายเพ่ือดึงดูดความ
สนใจและเกดิ ประสทิ ธิภาพในการเรียน

ปราณี จิณฤทธ์ิ (2552 : 32) ได้กล่าวว่า ลักษณะของแบบฝึกที่ดีต้องสร้างให้ เก่ียวข้องกับ
บทเรียนเป็นแบบฝึกสาหรับเด็กเก่งและใช้ซ่อมเสริมเด็กอ่อนได้มีความหลากหลาย ในแบบฝึกชุด
หนึ่งๆ มีคาสั่งที่ชัดเจน เปิดโอกาสให้ผู้ฝึกได้คิดท้าทายความสามารถมีความ เหมาะสมกับวัย ใช้เวลา
ฝึกไม่นาน ผู้ฝึกสามารถนาประโยชน์จากการทาแบบฝึกไปประยุกต์ ปรับเปล่ียนนามาใช้ใน
ชวี ิตประจาวนั ได้

จากการที่กลา่ วมาแลว้ สรุปได้ว่า ลักษณะของแบบฝึกท่ีดีควรสร้างเพ่ือฝึกทักษะเฉพาะอย่าง
คานึงถึงความเหมาะสมกับวัย ความสามารถ และพัฒนาการของผู้เรียน โดยใช้ภาษาท่ีง่ายชัดเจน มี
กจิ กรรมหลายรปู แบบ เพ่ือเรา้ ความสนใจของผ้เู รียน มีภาพประกอบ ฝึกตามลาดับขั้นเรียงจากง่ายไป
หายาก ใช้เวลาฝึกพอสมควร และมีการประเมินผลการใช้แบบฝึก เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมิน
ความสามารถของตนเอง

ทฤษฎีทางจติ วทิ ยาท่ีเกีย่ วกับการฝึกทักษะ
ในการจัดการเรียนการสอนผู้สอนควรให้เทคนิคการสอนต่างๆ เพื่อจูงใจให้ผู้เรียนอยากรู้
อยากเรียน และพยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จตามความสามารถของแต่ละบุคคลจาก
การทดลองของธอร์นไดค์ (Thorndike) สรปุ เปน็ กฎการเรียนรไู้ ดด้ ังน้ี
1) กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) หมายถึง สภาพความพร้อมหรือความมีวุฒิ
ภาวะทง้ั ทางร่างกาย และอวยั วะต่าง ๆ ในการเรียนรู้และจิตใจฐานประสบการณ์เดิมความสนใจ และ
ความเข้าใจตอ่ สงิ่ ทจี่ ะเรยี น
2) กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) หมายถึง การท่ีผู้เรียนได้ฝึกหัดหรือกระทาซ้าๆ
บ่อยๆ ย่อมทาให้เกิดความสมบูรณถ์ กู ตอ้ ง แบง่ ออกเป็น

2.1) กฎแห่งการใช้ (Law of Use) หมายถึง การฝึกฝน การตอบสนองอย่างใดอย่าง
หนึ่งอยู่เสมอ ย่อมทาให้เกิดพันธะที่แน่นแฟ้น ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง หรืออาจกล่าวว่า เม่ือ
ได้เริ่มเรียนรสู้ ่ิงใดแลว้ นาไปใช้อยเู่ ป็นประจา กจ็ ะทาใหค้ วามรูค้ งทนถาวร และไม่ลมื

2.2) กฎแห่งการไม่ใช้ (Law of Disuse) หมายถึง การไม่ได้ฝึกฝนหรือไม่ได้ใช้ไม่ได้
ทาบ่อย ๆ ย่อมทาให้ความมั่นคงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองอ่อนกาลังลง หรืออาจทาให้ความรู้
นั้นลมื ไปได้

10

3) กฎแห่งความพอใจ (Law of Effect) หมายถึง พันธะหรือส่ิงเช่ือมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ
การตอบสนองท่ที าให้เกดิ ผลแห่งความพงึ พอใจ หากผลแหง่ การกระทากิจกรรมน้ันเป็นท่ีน่าพอใจก็จะ
ทาให้เกดิ ความอยากรู้ อยากเรียนเพมิ่ มากข้ึน หากผลการกระทากิจกรรมน้ันตรงกันข้าม คือ ไม่เป็นท่ี
น่าพอใจ จะทาให้เกิดความเบื่อหน่ายต่อการเรียนการนากฎการฝึกหัดมาใช้ ผู้สอนควรเน้นให้ผู้เรียน
ได้ลงมือปฏิบัติ ในขณะที่เรียนและทาส่ิงท่ีเรียนรู้แล้วนั้น ไปใช้ทากิจกรรมต่าง ๆ จะมีผลทาให้ผู้เรียน
เกิดความเข้าใจ

3. แผนการจดั การเรยี นรู้
ความหมายแผนการจัดการเรยี นรู้
วิการดา จักรอศราพงษ์ (2553 : 21) ได้ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้ไว้ดังนี้ แผนการ

จัดการเรียนรู้คือการนาวิชาหรือกลุ่มประสบการณ์ที่จะต้องทาการสอบ ตลอดภาคเรียนมาสร้างเป็น
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนการใช้ส่ืออุปกรณ์การสอนและการวัดผลประเมินผลโดยจัด
เนื้อหาสาระและจดุ ประสงค์การเรียนย่อย ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือจุดเน้นของหลักสูตรสภาพ
ผู้เรยี นความพร้อมของโรงเรียนในด้านวัสดุอปุ กรณ์และตรงกับชวี ติ จริงในห้องเรยี น

เกรียงไกร บุญเบ้า (2557 : 20) การจัดการเรียนรู้หมายถึง การวางแผนจัดเตรียม
รายละเอยี ดของการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้าเพ่ือ
เป็นแนวทางในการดาเนินการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในแต่ละคร้ังและเป็นเคร่ืองมือใน
การพัฒนาการเรยี นการสอนใหบ้ รรลุเปา้ หมายของหลักสูตรและมีประสิทธภิ าพ

บุญนา เกษี (2558 : 23) แผนการจัดการเรียนรู้ คือ การเตรียมการจัดการเรียนรู้โดยจัดทา
เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรและอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื ใหผ้ ู้สอนสามารถนาไปจัด กิจกรรมการเรียนการสอนแก่
ผ้เู รียนในรายวชิ าใดวิชาหน่ึง เป็นรายคาบหรือรายช่ัวโมง รวมท้ัง เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ผู้สอนพัฒนา
กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนเพ่ือนาผู้เรียนไปสู่จุดประสงค์การเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียนให้
บรรลผุ ลตามจดุ มุง่ หมายไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

จากการที่กล่าวมาแล้ว สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การวางแผนจัดเตรียม
รายละเอียดของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นลายลักษณ์อักษรไว้ล่วงหน้า ให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ เพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

ความสาคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
เกรียงไกร บุญเบ้า (2557 : 21) แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเตรียมความพร้อมของการ
จัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้า ช่วยให้ผู้สอนเลือกเทคนิควิธีการสอนที่ดี มีการวัดประเมินผลตรงตาม

11

จุดประสงค์ท่ีตั้งไว้ ทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีความสะดวกสบายและดาเนินการไปได้อย่างมี
คุณภาพ นอกจากน้ียังเป็นเอกสารหลักฐานสาคัญในการแสดงความชานาญการหรือความเช่ียวชาญ
ของครผู ูส้ อน

ฤดี เชยเดช (2557 : 22) แผนการจัดการเรียนรู้ ช่วยให้ผู้สอนเกิดความม่ันใจในการจัดการ
เรยี น การสอนเป็นการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนสภาพแวดล้อมและทรัพยากรที่มี
อยู่โดยมีมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรเป็นตัวกาหนดแผนจัดการเรียนรู้ ใช้เป็นคู่มือสาหรับผู้สอน
และครูผู้สอนแทนได้เป็นอย่างดีและแผนการจัดการเรียนรู้ยังเป็นหลักฐานแสดงข้อมูลได้ถูกต้อง
สามารถที่จะนาไปเป็นผลงานทางวิชาการและเผยแพร่เปน็ ประโยชน์สาหรับผสู้ นใจ

จากการที่กล่าวมาแล้ว สรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเตรียมความพร้อมของการ
จัดการเรียนรู้ไว้ล่วงหน้าช่วยให้ผู้สอนเกิดความม่ันใจในการจัดการเรียนการสอนและเป็นเอกสาร
หลกั ฐานของครผู สู้ อน

4. ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์
ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์
จิรภา นุชทองม่วง (2558 : 16) ผลที่แสดงถึงความรู้ ความ เข้าใจหลักการทางคณิตศาสตร์

การมีทักษะในการคานวณ และมีความสามารถในการแก้โจทย์ ปัญหาด้านต่างๆ ของนักเรียน เช่น
ความรูค้ วามจา ความเขา้ ใจ การนาไปใช้ และการวเิ คราะห์ ซ่ึงวัด ไดจ้ ากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

ลียานา ประทีปวัฒนพันธ์ (2558 : 40 ) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถใน
การปฏิบัติท่ีแสดงให้เห็นถึงความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาหรือข้อมูลความรู้ท่ีกาหนดไว้และบ่งบอกถึง
สมรรถภาพทางสติปญั ญาทีส่ ามารถตรวจสอบได้โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
5. ความพึงพอใจ

ความหมายของความพึงพอใจ
Morse (1955 : 27) ไดใ้ หค้ วามหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทุกสิ่ง
ทุกอย่างที่สามารถถอดความเครียดของผู้ท่ีทางานให้ลดน้อยลง ถ้าเกิดความเครียดมากจะทาให้เกิด
ความไม่พอใจในการทางาน และความเครียดท่ีมีผลมาจากความต้องการของมนุษย์ เมื่อมนุษย์มีความ
ต้องการมากจะเกิดปฏิกิริยาเรียกร้องหาวิธีตอบสนอง ความเครียดก็จะลดน้อยลงหรือหมดไป ความ
พงึ พอใจกจ็ ะมากขนึ้
Strauss and Sayles(1960 : 5-6) ให้ความเห็นว่า ความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกพอใจใน
งานที่ทา เต็มใจที่จะปฏิบัตงิ านนั้นให้สาเรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงค์

12

จริ าพร กาจดั ทกุ ข์ (2552: 23) ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกที่เป็นการยอมรับความรู้สึก
ท่ยี นิ ดคี วามรู้สึกชอบในการไดร้ บั บริการหรอื ไดร้ ับการตอบสนองตามความคาดหวังหรือความต้องการ
ท่ีบุคคลน้นั ได้ตงั้ ไว้

ชะเอิ้น พิศาลวัชรินทร์(2553 : 7) ความรู้สึกชอบพอใจและประทับใจจากการได้รับการ
ตอบสนองความต้องการและมีความสุขเมื่อได้รับผลสาเร็จหรือประทับใจของบุคคล ต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึงที่
ได้รบั โดยส่งิ น้ันสามารถตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจผู้คนทุกคนมีความต้องการ
หลายส่ิงหลายอยา่ งและมีความตอ้ งการหลายระดับซึ่งหากได้รับการตอบสนองก็จะก่อให้เกิดความพึง
พอใจการจดั การเรยี นรูใ้ ดๆที่จะทาใหผ้ ู้เรียนเกิดความพึงพอใจการเรียนน้ันจะต้องสนองความต้องการ
ของผเู้ รยี นซึง่ แสดงออกมาทางพฤติกรรมโดยสังเกตจากสายตาคาพูดและการแสดงออกทางพฤตกิ รรม

จารุวรรณ เทวกุล (2555 :18) ความพึงพอใจเป็นเรื่องเก่ียวข้องกับอารมณ์ ความรู้สึกและ
ทัศนคติของบุคคลที่ได้รับการสนองตรงความต้องการของตนเอง จึงทาให้เกิดความรู้สึกท่ีดี แสดง
ออกมาทางพฤติกรรมทีท่ าใหป้ ฏบิ ตั ิงานหรือกระทาสง่ิ ต่างๆไดป้ ระสบความสาเร็จ
ภาณุเดช เพียรความสุข (2558 : 8) ความรู้สึกที่เป็น การยอมรับ ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับ
การปฏิบัตงิ าน ทัง้ การใหบ้ ริการและการรบั บรกิ ารใน ทุกสถานการณ์ ทกุ สถานท่ี

จากการทกี่ ล่าวมาแลว้ สรุปได้วา่ ความพึ่งพอใจหมายถึง ความรู้สึกชอบพอใจ จากการได้รับ
การตอบสนองตรงกับความต้องการของตนเอง จึงก่อให้เกิดความพึงพอใจ เกิดความรู้สึกท่ีดี และจะ
แสดงออกมามาทาพฤติกรรม

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกบั ความพงึ พอใจ
ในการปฏบิ ัติงานใดๆก็ตาม การท่ีผู้ปฏิบตั งิ านจะเกิดความพงึ พอใจต่อการทางานน้ันมากหรือ
น้อยข้ึนอยู่กับสิ่งจูงใจในงานท่ีมีอยู่การสร้างสิ่งจูงใจ หรือแรงกระตุ้นให้เกิดกับการปฏิบัติงานจึงเป็น
ส่ิงจาเป็นเพ่ือให้การปฏิบัติงานนั้นๆเป็นไปตามวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้มีนักกา รศึกษาในสาขาต่างๆ
ทาการศึกษาคน้ คว้าและตัง้ ทฤษฎีเกยี่ วกับแรงจูงใจในการทางานไวด้ ังต่อไปนี้
Scott (Scott. 1970 : 124 อ้างใน ณรัตน์ ลาภมูล.2546 : 23) ได้เสนอแนวคิดในเร่ือง
การจูงใจให้เกดิ ความพงึ พอใจตอ่ การทางานทีจ่ ะใหผ้ ลเชงิ ปฏิบัติมีลกั ษณะดงั น้ี
1) งานควรมสี ่วนสัมพนั ธก์ บั ความปรารถนาสว่ นตัวงานน้ันจะมคี วามหมายสาหรับผูท้ า
2) งานนนั้ ตอ้ งมีการวางแผนและวดั ความสาเร็จไดโ้ ดยใชร้ ะบบการทางานและการควบคุมท่ีมี
ประสิทธิภาพ
3) เพ่ือให้ไดผ้ ลในการสร้างสงิ่ จูงใจภายในเป้าหมายของงานจะต้องมีลักษณะดังนี้

3.1) คนทางานมีสว่ นในการต้ังเปา้ หมาย
3.2) ผ้ปู ฏบิ ตั ไิ ด้รบั ทราบผลสาเร็จในการทางานโดยตรง

13

3.3) งานนนั้ สามารถทาให้สาเร็จได้
เมอื่ นาแนวคิดนม้ี าประยกุ ต์ใช้กับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนมีส่วนในการเลือก
เรียนตามความสนใจและมีโอกาสร่วมกันต้ังจุดประสงค์หรือความมุ่งหมายในการทากิจกรรมได้เลือก
วธิ แี สวงหาความร้ดู ้วยวิธีท่ีผู้เรยี นถนดั และสามารถคน้ หาคาตอบได้
Maslow (1970 : 69 – 80 อ้างใน ชะเอิ้น พศิ าลวัชรนิ ทร์.2553 : 8 ) ได้เสนอทฤษฎีลาดับ
ขั้นความต้อง (Hierarchy of Needs) นับว่าเป็นทฤษฎีหนึ่งที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ซึ่ง
ต้ังอยู่บนสมมุติฐานที่ว่า“มนุษย์เรามีความต้องการอยู่เสมอไม่มีที่ส้ินสุดเม่ือความต้องการได้รับการ
ตอบสนองหรือพึงพอใจอย่างใดอย่างหน่ึงแล้วความต้องการส่ิงอื่นๆ ก็จะเกิดข้ึนมาอีกความต้องการ
ของคนเราอาจจะซ้าซ้อนกันความต้องการอย่างหน่ึงอาจยังไม่ทันหมดไปความต้องการอีกอย่างหน่ึง
อาจเกดิ ขึน้ ได”้ ความตอ้ งการของมนุษย์มีลาดบั ขน้ั ดงั นี้
1) ความต้องการดา้ นร่างกาย (Physiological Needs) เปน็ ความต้องการพ้ืนฐานของมนุษย์
เน้นสิ่งจาเป็นในการดารงชีวิตได้แก่อาหารอากาศ ที่อยู่อาศัยเครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรคความต้องการ
พกั ผ่อนความตอ้ งการทางเพศ
2) ความตอ้ งการความปลอดภัย (Safety Needs) ความมัน่ คงในชีวิตทั้งทเี่ ปน็ อยู่ปัจจุบันและ
อนาคตความเจรญิ ก้าวหน้าอบอุ่นใจ
3) ความต้องการทางสังคม (Social Needs) เป็นส่ิงจูงใจท่ีสาคัญต่อการเกิดพฤติกรรม
ตอ้ งการใหส้ ังคมยอมรับตนเองเข้าเป็นสมาชกิ ต้องการความเป็นมติ รความรักจากเพ่ือนร่วมงาน
4) ความต้องการมีฐานะ (Esteem Needs) มีความอยากเด่นในสังคมมีช่ือเสียงอยากให้
บคุ คลยกยอ่ งสรรเสริญตนเองอยากมีความเป็นอิสระ เสรีภาพ
5) ความต้องการท่ีจะประสบความสาเร็จในชีวิต (Self–Actualization Needs) เป็นความ
ต้องการในระดบั สงู อยากใหต้ นเองประสบความสาเร็จทกุ อยา่ งในชวี ิตซงึ่ เปน็ ไปไดย้ าก
Herzberg (1959 : 71 – 77) ได้ทาการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีท่ีเป็นมูลเหตุที่ทาให้ความพึง
พอใจเรียกว่า The Motivation Hygiene Theory ทฤษฎีน้ีได้กล่าวถึงปัจจัยท่ีทาให้เกิด ความ
พงึ พอใจในการทางาน 2 ปัจจัย

6. งานวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง
ขนิษฐา หาญสมบัติ (2557 : บทคัดย่อ) การวิจัยเร่ืองสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้การ

เรียนรแู้ บบร่วมมือ 1) เพ่ือศึกษาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ 4)
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นท่มี ตี ่อการเรียนดว้ ยแบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างจานวน 24 คน ได้มา
โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย 1) แบบฝึกทักษะ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3)

14

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความพงึ พอใจ สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน E1/E2 และ E.I. การทดสอบสมมติฐานโดยการ
ใชค้ ่า t-test (Dependent Samples) ผลการวิจยั พบวา่
1) ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ มีค่าเท่ากับ 81.64/81.98 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ค่าดัชนีประสิทธิผล มีค่าเท่ากับ 0.6943
และ 4) ความพึงพอใจโดยรวมอยใู่ นระดับมาก

เกียงไกร บุญเบ้า (2557 : บทคัดย่อ) การวิจัยคร้ังนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษา
ประสิทธิภาพของชุดแบบฝึกทักษะเร่ืองการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสาหรับนักเรียน
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดฝึกทกั ษะเรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวสาหรับนักเรียน
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 3) ศึกษาดชั นปี ระสทิ ธผิ ลของการเรียนโดยใช้ชุดฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการ
ประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 4) ศึกษาความพึง
พอใจของนักเรียนที่มตี อ่ การเรยี นโดยใชช้ ุดฝกึ ทักษะเร่ืองการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 2 โรงเรียนบ้านทุ่งจังหัน อาเภอโนนสุวรรณ จังหวัดบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
จานวน 30 คนได้มาโดยการสุ่มอย่างง่ายโดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยในการสุ่มเคร่ืองมือท่ีใช้ได้แก่ 1)
ชุดฝึกทักษะเรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มี
ประสทิ ธภิ าพเท่ากับ 80.19/82. 89 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 75/75 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน
หลังเรียนด้ว ยชุดฝึกทักษะเรื่องการประยุกต์ของส มกา รเชิงเส้ นตัวแปรเดียวส าหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 2 สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ.01 3) ดัชนีประสิทธิผลของ
ชดุ ฝึกทกั ษะ เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มี
ค่าเท่ากับ 0.6623 แสดงว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ิมข้ึนคิดเป็นร้อยละ 66.23 4)
นักเรียนมีความพึงพอใจตอ่ การเรียนดว้ ยชุดฝึกทกั ษะเรื่องการประยกุ ตข์ องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาหรบั นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 โดยรวมอย่ใู นระดบั มากท่สี ุด

นายอนุรักษ์ เร่งรัด (2557 : บทคัดย่อ) การวิจัยคร้ังนี้ วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูล
พนื้ ฐานและความตอ้ งการในการพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะวชิ าคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 1 2) เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์1 โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชัน
มัธยมศึกษาปีที 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) เพื่อทดลองใช้แบบฝึกทักษะวิชา
คณิตศาสตร์ เร่ืองการประยุกต์ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริม

15

ความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 4) เพื่อประเมินผลและปรับปรุง
แบบฝึกวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพื่อ
ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โดยเปรียบเทียบ
ความสามารถในการแก้ปัญหา กอ่ นและหลงั ใชแ้ บบฝกึ ทักษะ วชิ าวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองการประยุกต์
1 โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบปญั หาเปน็ ฐาน และศกึ ษาความคิดเห็นของนักเรียนทีมีต่อแบบฝึกวิชา
คณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริม
ความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ
นักเรียนชนั มัธยมศกึ ษาปที ี 1/1 โรงเรยี นไทรโยคมณกี าญจน์วทิ ยา จงั หวัดกาญจนบุรี ทีกาลังศึกษาอยู่
ใน ภาคเรียนที 1 ปีการศึกษา 2557 จานวน 35 คน เคร่ืองมือทีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบ
ฝกึ ทกั ษะ เร่ือง การประยุกต์ 2) แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวการสอนแบบปัญหาเป็นฐาน จานวน
8 แผนการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของ
นักเรียนทีมีต่อแบบฝึกทักษะ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
สถิติ ค่าร้อยละ(%) ค่าเฉลี่ย(&) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D.) ทดสอบค่าที(t – test) แบบ
Dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนและครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เห็นความสาคัญต่อการใช้แบบฝึกทักษะ ประกอบการจัดการเรียนรู้
แบบปัญหาเปน็ ฐาน เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ช่ือเรือง คานา คาช้ีแจง
สารบัญ วตั ถุประสงค์ แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบฝึกทกั ษะ จานวน 4 เล่ม ได้แก่ เรขาคณิต สะกิดใจ
จานวนนับ หรรษา ร้อยละในชีวิตประจาวันและโจทย์ปัญหาชวนคิด และ แบบทดสอบหลังเรียน 2)
แบบฝกึ ทกั ษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือ
ส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาสาหรับ นักเรียนชันมัธยมศึกษาปีที 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ
80.37/82.21 ซึงสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 3) ทดลองใช้แบบฝึกทักษะจานวน 4 เล่ม 8 แผนการเรียนรู้
รวม 16 ช่ัวโมง และจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 5 ขั้นตอน 4) ความสามารถในการแก้ปัญหา
ก่อนและหลังใช้แบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการประยุกต์1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ
ปัญหาเป็นฐาน พบว่า ความสามารถในการแก้ปัญหาหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง
สถติ ิทรี ะดบั .05 5) ความคดิ เห็นของนักเรียนทีมีต่อแบบฝึกทักษะวิชาคณิตศาสตร์ เร่ืองการประยุกต์
1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เพ่ือส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา สาหรับ
นกั เรยี นชนั มธั ยมศึกษาปีที 1 พบว่า โดยภาพรวมนักเรยี นมีความคิดเห็นอยู่ ในระดับดี และนักเรียนมี
ความคดิ เหน็ ว่าการทาแบบฝกึ ทกั ษะ ทาให้สามารถแก้โจทย์ปญั หาไดม้ ากข้ึน เข้าใจงา่ ย เปน็ ต้น

16

บทที่ 3
วธิ ีการดาเนนิ การ
วิธีการวิจยั / แบบการวิจัย
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้แบบฝึก
ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน
ราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ในการดาเนินการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เสนอรายละเอียด
ข้นั ตอนในการดาเนินการวจิ ัยตามลาดับหวั ขอ้ ต่อไปนี้
1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
2. ระยะเวลาท่ที าการศึกษา
3. เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย
4. วธิ กี ารดาเนินการรวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะหแ์ ละสถิตทิ ี่ใช้

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

1. ประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษาครั้งน้ี คือ นักเรียนท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่
1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคเรียน
ท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จานวน 160 คน

2. กลุ่มตัวอย่าง นักเรยี นที่กาลังศกึ ษาอยใู่ นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนราชประชานุ
เคราะห์ ๒๔ จังหวดั พะเยา สังกัดสานักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564
จานวน 40 คน

ระยะเวลาทที่ าการศึกษา
การศกึ ษาครั้งนี้ใช้ระยะเวลาในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ต้งั แตว่ นั ที่ 5 พฤศจกิ ายน -

20 มกราคมโดยใชเ้ วลาดาเนินการ 16 คาบ คาบละ 50 นาที ไม่รวมเวลาทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน กอ่ นเรียน (Pre - test) และหลงั เรยี น (post - test)

เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั
1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว
จานวน 9 แผนการเรยี นรู้ รวมทงั้ หมด 12 คาบ ซง่ึ แบ่งออกเป็นการจัดการเรียนการสอนดงั นี้
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 ทบทวนการสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การแกส้ มการเชิงเส้นตวั แปรเดยี ว(1)
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 การแก้สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว(2)
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 ประโยคภาษาและประโยคสญั ลักษณ์(1)
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 ประโยคภาษาและประโยคสัญลักษณ์(2)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ประโยคภาษาและประโยคสญั ลักษณ์(3)

17

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 การแกโ้ จทยป์ ญั หาเกยี่ วกับจานวน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกับอัตราสว่ น
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 9 การแกโ้ จทย์ปญั หาเกีย่ วกบั อัตราเร็วและเวลา

โดยในแผนการจัดการเรยี นรเู้ ปน็ การเรียนรู้เร่ือง การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ซึ่ง
ในกิจกรรมการเรียนการสอนน้ันจะสอนให้นักเรียนเกิดทักษะและความเข้าใจแต่ละแผนการเรียนรู้
ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ อุปกรณ์และแหล่งการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ แบบฝึก
ทกั ษะ และบนั ทกึ หลงั สอน ซงึ่ มีขัน้ ตอนในการสร้างแผนการเรยี นร้ดู งั น้ี

1.1 ศกึ ษาเอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560) กลุม่ สาระคณติ ศาสตร์ เรื่องการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 เพ่ือศึกษาขอบเขตของเน้ือหา ความรู้พื้นฐาน (จุดประสงค์การเรียนรู้ และความคิดรวบยอด) ท่ี
ตอ้ งนามาใช้

1.2 ศึกษาค้นคว้าเอกสาร เน้ือหาสาระเร่ืองการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
งานวิจัยและทฤษฎีเก่ียวกับการจัดการเรียนสอนคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางในการดาเนินการ
พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้

1.3 วิเคราะห์หลักสูตร เนื้อหา สาระคณิตศาสตร์ช่วงช้ันท่ี 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 เพือ่ จัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ จานวน 9 แผน รวม 12 คาบ

1.4 กาหนดรูปแบบการจัดการเรยี นรู้โดยลักษณะการจัดการเรียนรู้จะเริ่มต้นจากขั้น
นาเข้าสู่บทเรียน ข้ันกิจกรรม และขั้นสรุปบทเรียน โดยเริ่มจากการทบทวนสมการ จากน้ันเช่ือมโยง
ไปสมบัติการเท่า การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว และโจทย์ปัญหาการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดยี วพรอ้ มทงั้ กาหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้

1.5 สร้างแผนการเรียนรแู้ ละสร้างเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน ได้แก่
แบบฝกึ ทกั ษะเร่อื ง การแกส้ มการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว

1.6 นาแผนการเรียนรู้ท่ีสร้างข้ึนให้อาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบหลังจากนั้นจึงได้ให้
ผู้เช่ียวชาญจานวน 3 คน ประเมนิ แผนการเรียนรู้เพ่ือตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้องของ
เคร่ืองมือว่าสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ดังกล่าวหรือไม่ และนามาปรับปรุงแก้ไขให้เกิดความ
ครบถ้วนสมบูรณ์

1.7 ปรับปรุงแผนการเรียนรู้ตามคาแนะนาของอาจารย์และผู้เช่ียวชาญและ
จดั เตรียมแผนการจัดการเรียนรเู้ พือ่ ใชส้ อนตอ่ ไป

2. แบบฝึกทกั ษะเร่อื ง สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดยี ว จานวน 8 ชดุ ซงึ่ มขี ้นั ตอนในการสร้าง
ดังน้ี

2.1 ศึกษาจุดประสงค์การเรยี นรู้ ในแผนการจดั การเรียนรู้
2.2 สรา้ งแบบฝึกทักษะ เร่อื งการแก้สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว ทส่ี อดคลอ้ งกบั
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ และสาระสาคญั ตามแผนการจัดการเรียนรดู้ ังกล่าว

18

2.3 นาแบบฝกึ ทักษะเรอ่ื ง สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียวทง้ั 8 ชดุ ใหห้ ัวหน้ากลุ่มสาระ
คณติ ศาสตร์ตรวจสอบ

2.4 ปรบั ปรุงแบบฝึกทักษะ ตามคาแนะนาของหัวหนา้ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเร่อื ง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว
เป็นข้อสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ รวม 10 คะแนน ซ่ึงมี
ขัน้ ตอนการสร้างดังน้ี

3.1 วเิ คราะหจ์ ุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ในแผนการจดั การเรยี นรู้
3.2 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเรื่อง สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว
ซึง่ เปน็ แบบทดสอบแบบปรนัย ใหค้ รอบคลุมเน้ือหาเร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เป็น
ขอ้ สอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน 10 ขอ้
3.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ท่ี
สร้างข้ึนให้หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์พิจารณาเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความเหมาะสมของ
เน้ือหาและจานวนข้อสอบ นาคาแนะนามาปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ดยี ิง่ ขึ้น
3.4 ปรับปรุงและแก้ไขแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ือง สมการเชิงเส้น
ตวั แปรเดียว ตามคาแนะนาของหวั หน้ากลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์
3.5 จัดเตรียมแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปร
เดียว ทมี่ คี ุณภาพตามเกณฑไ์ ว้ใชเ้ กบ็ ขอ้ มูล

4. แบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อแบบฝึกทักษะคณติ ศาสตรเ์ รอ่ื ง สมการ
เชงิ เสน้ ตวั แปรเดียว
เพอ่ื ให้นกั เรียนได้แสดงข้อคิดเห็นเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจเมอื่ สน้ิ สุดกจิ กรรมการเรยี น มขี ้ันตอนการ
สร้างดงั นี้

4.1 กาหนดกรอบเนื้อหา แนวคิดและขอบข่ายโครงสรา้ งของคาถามด้านเนื้อหา ดา้ น
การปฏิบัติกจิ กรรมการเรยี นรู้ ด้านสื่อการเรยี นรู้และดา้ นการวดั ผลประเมินผล โดยศกึ ษาจากงานวิจัย
ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การจัดกิจกรรม

4.2 กาหนดเน้อื หา รูปแบบ วัตถปุ ระสงคข์ องแบบประเมนิ ตามกรอบในแตล่ ะดา้ น
4.3 สร้างแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรยี น และกาหนดเกณฑ์ในการแปล
ความหมายระดบั ค่าเฉลี่ย
4.4 นาแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั เรียนทส่ี รา้ งขึน้ ใหค้ รูพ่ีเลย้ี งพจิ ารณา เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของคาถาม ความเหมาะสมของการใช้ภาษาและสือ่ ความหมายและครอบคลุม
ความคิดเหน็ ของนักเรยี นทม่ี ีต่อการจัดการเรียนรู้
4.5 นาไปปรบั ปรงุ แก้ไขตามคาแนะนา
4.6 จดั เตรยี มแบบประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนทม่ี ีต่อแบบฝกึ ทกั ษะ
คณติ ศาสตร์เรื่อง สมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว

19

วธิ ีการดาเนินการรวบรวมข้อมลู
ในการดาเนินการวิจัยได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน

จากนนั้ ดาเนินการสอนตามแผนการเรยี นรูท้ ี่ได้จัดทาข้นึ และทาแบบทดสอบหลังเรยี น

การวิเคราะหแ์ ละสถิติทีใ่ ช้
การวิเคราะหข์ ้อมูล
1. หาประสิทธภ์ิ าพของแบบฝึกทกั ษะคณิตศาสตรเ์ ร่ือง สมการเชิงเส้นตวั แปรเดียว สาหรับ

นักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จงั หวัดพะเยา โดยใช้คา่ ร้อยละและ
คา่ เฉลีย่

2. วเิ คราะหห์ าคา่ รอ้ ยละความก้าวหน้าของการเรียน จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนเร่ือง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ก่อนและหลังเรียน โดยผู้วิจัยใช้ร้อยละเพื่อเปรียบเทียบ

ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นเร่ือง ของสมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว

3. วิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อแบบฝึกทักษะ เร่ือง สมการเชิงเส้นตัว

แปรเดียว สาหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา โดย

ใช้คา่ เฉล่ีย

3.1 ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจโดยสร้าง แบบ

มาตราส่วนประมาณค่าแบบลิเคอร์ท (Likert Scale) โดยกาหนดระดับคุณภาพเป็น 5 ระดับ คือ 5, 4,

3, 2 และ 1 ดังน้ี

5 หมายถงึ พงึ พอใจมากทีส่ ุด
4 หมายถึง พงึ พอใจมาก
3 หมายถึง พึงพอใจปานกลาง
2 หมายถึง พงึ พอใจน้อย
1 หมายถึง พึงพอใจน้อยท่สี ดุ

เกณฑ์การประเมินคะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์เรื่องสมการเชิง
เส้นตัวแปรเดียว สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัด
พะเยา มดี งั นี้

4.50 – 5.00 หมายถึง พึงพอใจมากทส่ี ุด
3.50 - 4.49 หมายถงึ พงึ พอใจมาก
2.50 – 3.49 หมายถงึ พึงพอใจปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ พงึ พอใจน้อย
1.00 – 1.49 หมายถงึ พึงพอใจน้อยที่สุด

20

3.2 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจฉบับจริงเพ่ือใช้เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่ม
ตวั อย่างในการศึกษา

3.3 นาแบบสอบถามความพึงพอใจไปใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง ท่ีกาลังศึกษาอยู่
ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สังกัดสานัก
บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 จานวน 40 คน

สถติ ิท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
1. สถติ พิ ้ืนฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลไดแ้ ก่
1.1 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 105) โดยใช้สตู ร

̅=∑

เม่ือ ̅ แทน ค่าเฉลย่ี
∑ แทน ผลรวมของขอ้ มูลหรือคะแนน
N แทน จานวนข้อมลู

1.2 ร้อยละ (Percentage) (บุญชม ศรสี ะอาด. 2545 : 104) โดยใชส้ ตู ร

P = x 100

เมือ่ P แทน ร้อยละ
f แทน ความถ่ีที่ตอ้ งการเปล่ียนเป็นรอ้ ยละ
N แทน ความถท่ี ัง้ หมดผลการวิจยั

1.3 คา่ รอ้ ยละความก้าวหน้า (พชิ ิต ฤทธจิ์ รญู , 2544, หน้า 79) โดยใช้สูตร

ค่ารอ้ ยละความก้าวหนา้ = X2  X1 100
คะแนนเต็ม

X2 แทน คะแนนเฉลีย่ หลังเรยี น

X1 แทน คะแนนเฉลย่ี กอ่ นเรียน