วิจัยในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์ 2564 ป. 4

งานวจิ ัยในชนั้ เรียน
เรื่อง การศึกษาการปรับพฤตกิ รรมความรบั ผดิ ชอบในการทำงานวิชาวิทยาศาสตร์ ของ

นักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนบา้ นหนองไทร

โดย
นางสาวธชั พรรณ โอนสนั เทียะ
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
ครผู สู้ อนระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 3

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
โรงเรยี นบ้านหนองไทร

สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา ลพบรุ ี เขต 2

ชอื่ เรือ่ ง การศกึ ษาการปรับพฤตกิ รรมความรับผิดชอบในการทำงานวชิ าวิทยาศาสตร์ ของ
ชอ่ื ผู้วจิ ยั นกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองไทร
นางสาวธชั พรรณ โอนสนั เทียะ

ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา
การเรยี นการสอนในช่วงสถานการณโ์ รค COVID-19 มกี ารจัดการเรียนการสอนแบบ

On hand ผ่าน DLTV นักเรียนตอ้ งมวี นิ ยั และความรับผิดชอบในการทำใบงานและเรียนตามตาราง
ออกอากาศ เมื่อนักเรียนมวี ินัย มคี วามรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ีของตนจะทำใหส้ ามารถควบคุมพฤติกรรม
ของตนใหเ้ ป็นไปในทางท่ดี งี าม การจดั การเรยี นการสอนแบบ On hand ผ่าน DLTV จะสามารถ
บรรลจุ ุดมุ่งหมายที่ตง้ั ไว้

จากการสอนแบบ On hand ผา่ น DLTV นักเรียนขาดความรบั ผดิ ชอบในการทำงาน
เปน็ พฤติกรรมท่เี ป็นปัญหา และเปน็ อปุ สรรคต่อการเรยี นรู้อันเป็นผลทำให้การเรยี นการสอนไม่
สามารถบรรลจุ ดุ มุ่งหมายทตี่ ้งั ไว้ สง่ ผลต่อนักเรยี นบางคนท่ีมีผลการเรียนค่อนข้างต่ำ นกั จติ วิทยาได้
เสนอวิธีการปรับพฤติกรรมที่เปน็ ปัญหาของนกั เรียนใหมโ่ ดย เนน้ การใหร้ างวลั แทน การลงโทษ ซึ่งใช้
ทฤษฎีหลกั การเรยี นร้มู าประยุกตใ์ ช้กับพฤติกรรมของมนุษย์ สกินเนอร์นักจิตวิทยาทส่ี นใจในการปรับ
พฤติกรรมมีความเช่ือว่า อินทรยี เ์ ม่อื กระทำพฤติกรรมหนึ่งแลว้ ได้รบั การเสริมแรง แนวโน้มที่จะ
กระทำพฤติกรรมนนั้ บ่อยครั้งขึ้น แตถ่ ้าพฤติกรรมนน้ั ไมไ่ ด้รับการเสรมิ แรง พฤติกรรมน้ันจะมคี วามถี่
ลดลงจนหายไป นอกจากนี้ยงั พบวา่ อตั ราการตอบสนองในพฤติกรรมที่พึงประสงค์จะเพ่ิมขนึ้ อยา่ ง
ชดั เจนมากในระยะที่ไดร้ ับการเสริมแรง ทฤษฎีนี้สามารถนำไปประยุกตป์ รับพฤติกรรมที่เปน็ ปญั หาใน
ชั้นเรียนได้ คือ เม่ือเด็กแสดงพฤติกรรมท่ดี ี แลว้ ได้รบั แรงเสรมิ จากครู เด็กมแี นวโน้มในการแสดง
พฤติกรรมน้ันเพ่ิมข้ึน เด็กจะเหน็ ความสำคัญของการได้รบั รางวัลและคำชมเชย การสญั ญาว่าจะให้
รางวัลจึงเปน็ แรงจงู ใจใหเ้ ด็กกระทำความดไี ด้มากกวา่ การดุ หรือการขู่วา่ จะลงโทษเนื่องจากครเู ปน็ ผู้ท่ี
มหี นา้ ที่ โดยตรงในการปรับพฤตกิ รรมที่เป็นปญั หาใหเ้ ป็นไปในทางที่พึงประสงค์เพือ่ ให้เด็กไทยเจริญ
ทุกด้าน ตามความมุ่งหมายของการศึกษา พฤติกรรมการขาดความรับผดิ ชอบในการทำงานของ
นกั เรียน เปน็ อุปสรรคต่อความเจรญิ กา้ วหน้าทางการศึกษา และเป็นคณุ ลักษณะไม่พึงประสงคใ์ น
สังคมดว้ ยเหตผุ ลดงั กล่าวน้ี

ผู้วจิ ัยจงึ มีความสนใจท่จี ะศึกษาการปรับพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบในการทำงานวิชา
วิทยาศาสตร์ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี นบ้านหนองไทร โดยการใชก้ ารเสริมแรง
ทางบวก แกปัญหา โดยการนำทฤษฎีการเรยี นรู้ ทฤษฎีแรงจงู ใจ และทฤษฎกี ารวางเง่ือนไข มาใช้กบั
นกั เรียนเพื่อเปน็ การพฒั นาและปรับเปล่ียนพฤติกรรมการเรียนและส่งเสรมิ ศักยภาพของนักเรยี น ให้
เกิดการเรยี นรเู้ ต็มศักยภาพและความสามารถของตนเอง ซึ่งจะสง่ ผลให้นักเรียนมวี ินัย ควารับผิดชอบ
ในหน้าท่ขี องตนเอง เปน็ การปลกู ฝงั ระเบยี บวินยั การรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อ่นื ทำให้สามารถ
พฒั นานกั เรยี นใหเ้ กดิ การเรียนรู้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและมีผลการเรยี นดขี ึ้น
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย

เพอื่ ศึกษาการปรับพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบในการทำงานวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นบ้านหนองไทร

สมมติฐานของการวจิ ัย
นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 มีการปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปในทางที่ดีข้ึน เกิดความ

รับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง และมีความรับผิดชอบในการท่ีจะทำงานท่ีได้รับมอบหมายเสร็จตาม
เวลาท่ีกำหนด

ขอบเขตการวจิ ยั
1. ดา้ นประชากร ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาค

เรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบ้านหนองไทร ตำบลชอนสมบูรณ์ อำเภอหนองม่วง จงั หวดั
ลพบุรี

2. ดา้ นเนื้อหา เนือ้ หาทใี่ ชใ้ นการวิจยั ครงั้ นี้ คอื หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 วัฏจักรชีวิตของสัตว์
3. ตวั แปรทีใ่ ช้ในการศึกษา

3.1 ตัวแปรตน้ ไดแ้ ก่ นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 และแรงเสรมิ ทำงบวก ( ดาว
คำชม สติกเกอร์)

3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความรับผดิ ชอบในการทำงานวชิ าวิทยาศาสตรข์ องนักเรยี น
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองไทร

นิยามเชงิ ปฏิบตั ิการ
1. ภาระงาน หมายถงึ ใบงาน แบบฝึกหัด DLTV หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 เรอ่ื ง วฏั จกั ร

ชีวิตของสัตว์

2. พฤตกิ รรม หมายถงึ การกระทำที่ไมเ่ หมาะสมในการทำงานที่ได้รบั มอบ การไม่ทำงาน
ไมส่ ง่ งาน หรือ ส่งชา้ ไม่ตามกำหนด

3. แรงจงู ใจในการเรยี น หมายถงึ การแสดงพฤตกิ รรมเมอื่ ถูกกระตุ้นจากส่ิงเรา้ เช่น คำ
ชมเชย การใหรางวัล ฯลฯ แล้วสามารถประพฤตติ นได้บรรลุเป้าหมายโดยการเรยี นร้ขู องแต่ละคน

4. ความรับผดชิ อบ หมายถึง ความมุง่ มั่นของนักเรยี นทจ่ี ะงานที่ได้รบั มอบหมายใหสำเรจ็
ลุล่วงด้วยดีและตง้ั ใจเรยี นอย่างเต็มความสามารถ

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
1. การใช้แรงเสรมิ ทำงบวกจะสามารถปรับพฤตกิ รรมความรับผิดชอบในการทำงานวชิ า

วทิ ยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองไทรให้สงู ข้ึนได้

2. นักเรียนมีความสนใจในการเรียนและเข้าใจเน้ือหาในเนือ้ หาเร่ือง วัฏจักรชีวิตของสัตว์
มากข้นึ

เอกสารและงานวิจัยท่ีเกยี่ วข้อง
1. พฤติกรรม
พฤติกรรม (Behavior) คือ การกระทำหรือการแสดงออกของบุคคลเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า

(Stimulus) ซ่งึ การตอบสนองดังกลา่ ว อาจเป็นการเคลื่อนไหวท่ีสามารถสงั เกตเห็นได้จากภายนอก
เชน่ การพูด การเดิน หรือการเคลอ่ื นไหวที่ไม่สามารถสังเกตเหน็ ได้จากภายนอก เช่น การเต้นของ
หัวใจการคดิ

1.1 พฤติกรรมภายนอก
พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) หมายถงึ ปฏิกริ ิยาของบุคคลหรือกิจกรรมของบุคคล
ทป่ี รากฏออกมาให้บุคคลอื่นไดเ้ หน็ ทั้งทางวาจาและการกระทำท่าทางอ่ืนๆในสังคมท่ีประเมินคุณภาพ
ของคนว่า เปน็ คนดีมีระเบยี บวินยั สภุ าพ ฯลฯ หรือไม่ละเว้นแต่ประเมินคณุ ภาพของพฤติกรรม
ภายนอกทงั้ สนิ้ อย่างไรกต็ ามพฤติกรรมทีแ่ สดงออกมาอาจไมใ่ ช่พฤตกิ รรมทแี่ ท้จรงิ และไมใ่ ชต่ ัวตนท่ี
แทจ้ รงิ หรือกล่าวอีกนยั หนงึ่ คือการกระทำไม่ตรงกบั ความคิดความรูส้ ึก
1.2 พฤตกิ รรมภายใน
พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) หมายถึง กจิ กรรมภายในทเ่ี กิดขึ้นในตวั บคุ คลซ่ึง
สมองทำหนา้ ทีร่ วบรวมสะสมและส่ังการซ่ึงเปน็ ผลจากการกระทำของระบบประสาทและ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางด้านชวี เคมขี องรา่ งกายพฤตกิ รรมภายในมที ้ังรูปธรรมและนามธรรม
ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมนั้น คนอ่ืนจะสังเกตเห็นไมไ่ ด้แตส่ ามารถใช้เคร่อื งมือทางการแพทย์วัดได้เชน่ การ
เตน้ ของหัวใจการหดและขยายตัวของกล้ามเน้อื เป็นต้น ส่วนทีเ่ ป็นนามธรรม เชน่ ความคดิ ความร้สู กึ
ซึ่งอยใู่ นสมองของคน คนอนื่ จะไมส่ ามารถสังเกตเห็นได้เพราะไมม่ ีตัวตน จะทราบวา่
คนนน้ั คิดอย่างไรก็ต่อเมื่อเขาแสดงออกมา

2. ทฤษฎกี ารเสรมิ แรง (Reinforcement Theory)
ทฤษฎีการเสรมิ แรงเปน็ ทฤษฎที ่ีเน้นการกำหนดใหบ้ ุคคลต้องกระทำในสงิ่ ท่ีเราต้องการใหเ้ ขา

กระทำ (Getting people to do what you want them to do) เป็นทฤษฎกี ารจูงใจทพ่ี ฒั นามา
จากทฤษฎกี ารเรียนรูข้ อง B.F. Skinner มหี ลกั สำคญั ว่า เราสามารถควบคุมพฤติกรรมของคนไดโ้ ดย
วิธกี ารใหร้ างวลั หรือวิธีการเสรมิ แรง เรยี กทฤษฎีนใี้ นทางจิตวิทยาวา่ การปรบั พฤติกรรม (Behavior
Modification) หรอื การวางเง่ือนไขปฏบิ ตั ิการ (Operant Conditioning) ซ่ึงให้ความสำคัญกับผล
กรรม (Consequence of Behavior) หรือผลต่อเนื่องเป็นตัวควบคุมพฤติกรรม หรืออีกนยั หนง่ึ
เรียกวา่ การเสริมแรง (Reinforcement)

2.1 การเสริมแรงบวก (Positive Reinforcement)
เปน็ การเสริมความตอ่ เนื่องของพฤติกรรมโดยการให้ผลกรรมเป็นตัวเสรมิ แรงบวก คือส่ิงตอบ
แทนที่ดึงดูดใจหรือพอใจเป็นรางวัล เม่ือบุคคลน้ันมีพฤติกรรมหรือปฏิบัติการเป็นที่ต้องการ เช่น
พนักงานคนหน่ึงมาทำงานหรือเข้าประชุมตรงเวลา หัวหน้างานเสริมแรงโดยกล่าวคำชมเชยและ
ขอบคุณ ถือได้ว่าเป็นการเสริมแรงบวกซ่ึงเป็นรางวัลต่อการมาตรงเวลา ตัวเสริมแรงบวกท่ีใช้กันใน
การจูงใจการทำงาน เช่น การจ่ายเงนิ การเล่ือนตำแหน่ง การเพ่มิ สถานภาพ การได้สิทธพิ ิเศษ การได้
หยุดพักผ่อน ฯลฯ การเสริมแรงบวกเป็นตัวจูงใจท่ีใช้ได้ผลท่ีสุดในการเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงาน

การใช้ทฤษฎีการเสริมแรงในการจูงใจกล่าวโดยทั่วไปแลว้ การเสริมแรงบวกเป็นแบบท่ีใช้สรา้ ง
แรงจูงใจได้ดีท่ีสุด ตารางเสริมแรงแบบต่อเนื่องใช้ได้ดีในการคงสภาพพฤติกรรมท่ีต้องการไว้ แต่
ในทางปฏิบัติไม่สามารถทำได้ตลอดไป หากต้องการใช้ทฤษฎีนี้ในการสร้างแรงจูงใจการทำงาน มี
แนวทางที่เสนอแนะต่อไปน้ี

1) กำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ให้พนักงานทราบว่าหน่วยงานหรือหัวหน้าคาดหวังอะไรจาก
เขา

2) จัดผลตอบแทนหรือรางวัลให้เหมาะสม ส่ิงท่ีคนหน่ึงมองว่าเป็นรางวัลอาจถูกมองว่าเป็นการ
ลงโทษเม่ือใหแ้ กอ่ กี คนหนงึ่ ต้องรู้ความต้องการท่ีแทจ้ ริงของพนักงาน

3) เลือกตารางการเสรมิ แรงใหเ้ หมาะสม
4) ต้องไม่ใหร้ างวัลแก่พฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงคห์ รือการทำงานทด่ี ้อย
5) พยายามทำให้พนักงานรู้สึกดีต่อตัวเอง มองในเชิงบวก อย่ามองใน แง่ลบหรือคอย

วิพากษว์ จิ ารณ์
6) แต่ละวนั ทีผ่ ่านไป ตอ้ งหาทางให้กำลงั ใจยกย่องชมเชยใหไ้ ด้
7) กระทำทุกอย่างเพื่อพนักงาน ไม่ใช่กระทำต่อพนักงาน จะเห็นการเพ่ิมประสิทธิภาพและ

ผลงาน
จากการศกึ ษาทฤษฎีการเสริมแรงทีใ่ ช้ในการเรียนการสอนสามารถสรุปได้ ดงั น้ี
1. การใช้เสริมแรง (Reinforcement) ทุกข้ันตอนของการจัดกิจกรรม ครูควรให้การ
เสริมแรง โดยการชมเชยหรือให้แรงจูงใจ โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การให้รางวัล ทั้งน้ีเพราะเด็กในวัยน้ี
ต้องการให้ผู้อื่นสนใจตนหรือเห็นว่าตนเองสำคัญกว่าคนอื่น การให้แรงจูงใจจะทำให้เด็กเกิดความ
สนใจ พอใจท่ีจะเรียน
2. การปลูกฝังพฤติกรรมบางอย่างและการลดพฤติกรรมบางอย่าง (Shaping Behavior)
หลักการสำคญั ของทฤษฎีการวางเง่อื นไขแบบการกระทำของสกนิ เนอร์ก็คือการควบคุมการตอบสนอง
ด้วยวิธีการเสรมิ แรง กล่าวคือ เราจะใหก้ ารเสริมแรงเฉพาะในเรื่องท่ีตอ้ งการเพ่อื ให้เกิดเป็นนิสยั ตดิ ตัว
ดังนั้น ถ้าเราต้องการให้เด็กมีพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน ก็ควรให้การเสริมแรง
พฤติกรรมน้ัน เพ่ือให้เด็กทำต่อไปจนเป็นนิสัย การปลูกฝังพฤติกรรมใหม่ให้แก่เด็กโดยการใช้การ
เสรมิ แรงเป็นสงิ่ ควบคุมพฤติกรรม ครูควรมีการวางแผนใหเ้ หมาะสม
วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย
การกำหนดประชากรและการเลอื กกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองไทร
จำนวน 3 คน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
กลมุ่ ตวั อยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านหนองไทร ภาค
เรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 จำนวน 1 ห้องเรียน 3 คน ซึ่งได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง
เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย
1. ใบงานวิชาวทิ ยาศาสตร์ DLTV
2. ข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงเป็นข้อสอบปรนัย จำนวน 20 ข้อ คะแนนเต็ม
ท้ังหมด 20 คะแนน และมเี กณฑผ์ า่ นการประเมนิ คอื 10 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 50

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
การปรับพฤติกรรมครั้งน้ีเป็นการทดลองแบบใช้การสังเกต และบันทึกพฤติกรรม
ของนกเั รียนใช้เวลาท้ังสนิ้ 2 เดือน คอื ตั้งแต่วันท่ี 28 มถิ ุนายน – 20 กนั ยายน โดยแบง่ เป็น
3ระยะ ดังน้ี
ระยะท่ี 1 : เป็นระยะเส้นฐานพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการทำงานระยะครูปรับ
พฤตกิ รรมทำการสังเกต และบนั ทึกพฤติกรรมใชเ้ วลา 2 สัปดาห์
ระยะที่ 2 : เป็นระยะท่ีใช้การเสริมแรงทางบวก คือการให้ในการปรับพฤติกรรมการขาด
ความรับผิดชอบในการทำงานใช้เวลา 4 สัปดาห์ โดยครูปรับพฤติกรรมเป็นผู้ให้ และช้ีแจง
เง่ือนไขการให้ดาว ให้นักเรียนทราบโดยจะให้ดาว ในแต่ละสัปดาห์ ที่นักเรียนรับผิดชอบใน
การทำงานเสรจ็ ตามเวลาท่ีกำหนดโดยมแี บบบันทึกพฤติกรรม ถ้านกั เรียนคนใด
ไดด้ าว มากท่ีสุดเมอื่ สน้ิ สดุ การทดลองจะไดร้ ับรางวัล เช่น สมดุ หรอื ขนมตามความพอใจ
ระยะที่ 3 : ระยะตรวจสอบความคงทนของพฤติกรรมที่ได้ปรับแล้ว ระยะนี้ใช้เวลา 2
สัปดาห์ จะงดให้ ดาว แก่กลุ่มทดลองแต่จะใช้แรงเสริมทางสงั คม ได้แก่ คำชมเชยการให้เพ่ือ
ปรบมือเปน็ กำลงั ใจ เป็นต้น
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล
ระยะที่ 1 : เป็นระยะเส้นฐานพฤติกรรม ซ่ึงยังไม่มีการเสริมด้วยการให้ ดาว และผู้ท่ีถูก
สังเกตยงั ไม่รตู้ วั ใช้เวลา 2 สปั ดาห์นกั เรียนจงึ มีพฤตกิ รรมการขาดความรบั ผดิ ชอบในการทำงาน โดยเ
ระยะท่ี 2 : เป็นระยะที่จะเริ่มใช้ ดาว ในการปรับพฤติกรรมเป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยแจ้ง
เงื่อนไขให้นักเรยี นได้รับทราบวา่ จะมีการให้ ดาว และจะให้ ดาว ในแต่ละวันท่ีนักเรียนรับผิดชอบใน
การทำงานเสร็จตามเวลาท่ีกำหนด โดยมีแบบบันทึกพฤติกรรม ถ้านักเรียนคนใดได้ ดาว มากที่สุด
เมื่อถึงเวลาที่กำหนดจะได้รับรางวัลตามกติกาที่กำหนดไว้จากการสังเกตนักเรียนมีความพึงพอใจกับ
การได้รับแรงเสริมเป็น ดาว ท้ัง 3 คน มีความกระตือรือร้นและรับผิดชอบในการทำงานเสร็จตาม
กำหนดเวลาของแต่ละสัปดาห์ แต่บางสัปดาห์นักเรียนบางคนขาดความรับผิดชอบในการทำงาน แต่
พอเห็นเพ่อื นไดร้ บั ดาว ก็จะมีความรับผดิ ชอบในการทำงานดีขน้ึ
ระยะท่ี 3 : เป็นสปั ดาห์ท่ี 3 ของการปรับพฤตกิ รรม และระยะนี้จะงดการให้ ดาว แตจ่ ะให้แรงเสรมิ
ทางสงั คมแทนโดยการคำชมเชย การใหเ้ พ่อื ปรบมือเปน็ กำลงั ใจใหก้ ารแตะต้องสัมผสั นักเรยี นมคี วาม
รับผดิ ชอบในการทำงานมากขน้ึ และสามารถทำงานได้เสร็จตามกำหนดเวลา

สรปุ ผลการวจิ ัย
จากการศึกษาผลของการศึกษาการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงานวิชา

วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านหนองไทร สามารถสรุปผลการวิจัย
ไดด้ ังน้ี

นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรยี นบ้านหนองไทร มพี ฤติกรรมความรบั ผิดชอบในการ
ทำงานวชิ าวทิ ยาศาสตร์ดขี น้ึ สามารถทำงานไดเ้ สร็จตามกำหนดเวลา

ขอ้ เสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนำผลวจิ ยั ไปใช้
1) ควรทำการตดิ ตามผลหลังจากเสรจ็ ส้นิ การทดลองไปแลว้ เป็นระยะ ๆ เพื่อศึกษาความ

คงทนของความรบั ผดิ ชอบในตัวเด็ก

2. ข้อเสนอแนะสาหรบั การวิจัยคร้งั ตอ่ ไป
1) ครู ผูป้ กครอง นักเรยี นและผทู้ ี่เกี่ยวข้อง ควรร่วมมือกนั แกไ้ ขและสะท้อนปัญหา
ต่าง ๆ ของนักเรยี น ทำใหน้ ักเรยี นมกี ารปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมและการเรยี น

ภาคผนวก

ภาพสมดุ สะสมดาวของนักเรยี น