แบบฝึกหัด การอ่าน ออกเสียง ร้อยแก้วและร้อยกรอง

ชุดการเรียนดิจิทลั เรื่อง คาท่ีมาจาก
ภาษาต่างประเทศ

ชุดการเรยี นดิจิทลั เรื่อง คาที่มาจาก
ภาษาต่างประเทศ

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

คำนำ

ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะการอ่านรอ้ ยแกว้ - รอ้ ยกรอง เร่ือง สนกุ คิดพิชิตการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551เป็นส่วน
หนึ่งของของรายวิชา ภท 2101409 นวัตกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยสาขาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแบบฝึกเสริมทักษะ ประกอบการเรียนการสอน กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมายของการอ่าน การเตียมตัวก่อนการอา่ น หลักการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง แบบฝึก
ทกั ษะ และแหล่งการเรียนรเู้ พม่ิ เติมท่เี กย่ี วข้องกบั เนอ้ื หา

ขอขอบพระคุณ อาจารย์ปริญญา เงินพลอย และผู้เชี่ยวชาญ ที่ให้คำปรึกษาและให้คำแนะนำใน
การจดั ทำชุดแบบฝึกทักษะการอา่ นร้อยแก้ว - รอ้ ยกรอง เรอื่ ง สนกุ คดิ พิชิตการอา่ น เล่มน้ี

สุดท้ายน้ผี ู้จดั ทำหวังเปน็ อย่างยง่ิ ว่าชุดแบบฝึกทกั ษะการอ่านรอ้ ยแกว้ - รอ้ ยกรอง เรื่อง สนุกคดิ
พชิ ิตการอ่าน เลม่ น้ี จะเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาในการพฒั นานกั เรยี นให้สามารถอ่านออกเสียงท้ังร้อย
แก้วและรอ้ ยกรองได้เป็นอย่างดี

คณะผจู้ ดั ทำ

~ก~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง หหนา้

สารบญั ข

เรอื่ ง ง
คำนำ 1
สารบัญ 1
คำชี้แจง 1
คำแนะนำในการใช้ชุดแบบฝึกทกั ษะ 3
เนอื้ หาบทเรยี น เรื่อง สนกุ คดิ พิชิตการอ่าน 5
10
ความหมายของการอ่านออกเสียง 18
การเตรยี มตัวกอ่ นการอ่านออกเสียง 20
การอา่ นออกเสียงร้อยแกว้ 21
การอ่านออกเสียงรอ้ ยกรอง 22
แบบฝึกทกั ษะ 39
แหลง่ เรยี นรู้เพ่ิมเตมิ
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
แผนการจดั การเรยี นรู้เรื่อง การอ่านออกเสยี งรอ้ ยแก้ว
แผนการจัดการเรียนรเู้ รอ่ื ง การอา่ นออกเสียงรอ้ ยกรอง

~ข~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

คำชแี้ จง

ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นร้อยแกว้ - รอ้ ยกรอง เร่อื ง สนุกคิดพิชิตการอา่ น กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย เล่มนี้ เป็นชดุ แบบฝกึ ษะการอา่ นรอ้ ยแกว้ และการอ่านร้อยกรอง ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1
มรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้

1. ชดุ แบบฝึกทักษะการอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ มีจำนวน 3 ชุด
2. ชุดฝึกทักษะการอา่ นบทร้อยกรอง มจี ำนวน 2 ชุด

~ค~

ชดุ การเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

คำแนะนำในการใชช้ ดุ แบบฝกึ ทกั ษะ

ชุดแบบฝึกทักษะการอ่านรอ้ ยแก้ว - ร้อยกรอง เรือ่ ง สนุกคดิ พิชติ การอา่ น กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 เล่มนี้ ใชเ้ วลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรูจ้ ำนวน 2 ชว่ั โมง ครูสามารถ
นำไปเป็นแนวทางในการจดั กจิ กกรมการเรยี นรู้ ซึ่งมขี ้นั ตอนดังน้ี

1. ครศู กึ ษาและทำความเข้าใจแผนการจดั การเรียนรู้ล่วงหน้ากอ่ นนำไปใช้
2. ครเู ตรยี มส่ือ-อุปกรณ์ประกอบทจ่ี ะใชโ้ ดยใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรูเ้ ป็นแนวทาง
3. ครูจัดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามแผนการจดั การเรยี นรู้เพื่อใหน้ กั เรียนได้ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามท่ี
กำหนดไวใ้ นแผนการจัดการเรยี นรู้
4. ให้นกั เรยี นศึกษาค้นควา้ ความรู้และทำความเขา้ ใจเน้ือหาภายในเลม่
5. ใหน้ กั เรยี นลงมือทำแบบฝกึ ทกั ษะแต่ละแบบฝึก
6. ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรุปเนอ้ื หาบทเรียน

~ง~

ชดุ การเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง

การอา่ นออกเสยี ง
การอ่านออกเสียง คือ การเปล่งเสียงตามตัวอักษร ถ้อยคำ และเครื่องหมายต่าง ๆ ที่กำหนดไวใ้ ห้

ถูกต้องชัดเจนแก่ผู้ฟัง การอ่านออกเสียงถือเป็นการสื่อความหมายที่ก่อให้เกิด “ทักษะ” (วาสนา บุญสม,
2541) ดังต่อไปนี้

1. เกิดทกั ษะการเปลง่ เสียงให้ชัดเจน
2. เกดิ ทักษะการใชอ้ วยั วะที่ออกเสยี งไดถ้ ูกตอ้ ง
3. เกดิ ทกั ษะการออกเสียงควบกล้ำไดถ้ กู ตอ้ ง ชัดเจนยิง่ ข้นึ
4. เกดิ ทกั ษะการวเิ คราะหค์ ำท่ีอ่านมากขึ้น
5. เกิดทกั ษะการเปลง่ เสียงตามรปู ตวั อกั ษรควบกล้ำไดค้ ล่องแคล่ว
การเตรยี มตวั กอ่ นการอา่ นออกเสยี ง
การเตรียมตัวก่อนการอ่านออกเสียง (จไุ รรตั น์ ลักษณะศิริและบาหยนั อม่ิ สำราญ, ๒๕๔๗ : ๒๖) มี
ดงั น้ี
1. อ่านบทให้เข้าใจ การอ่านให้ผู้อื่นฟัง มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อให้ผู้ฟังรับรู้และเข้าใจตรงตาม
เน้ือหาสาระทอ่ี า่ น ฉะนน้ั ผอู้ า่ นจึงตอ้ งเข้าใจข้อความน้นั เสียกอ่ นเพื่อความมั่นใจ และเพอื่ ความเข้าใจท่ีตรงกัน
ระหว่างผู้ส่งสารและผ้รู บั สาร ข้อความใดทอี่ า่ นไมเ่ ข้าใจหรอื สงสัยว่าจะผดิ พลาด ต้องตรวจสอบเสยี ก่อน
2. ทำเครื่องหมายแสดงจังหวะการอ่าน ในการอ่านเราควรทำเครื่องหมายลงในบทว่าตอนใดควร
หยุด คำใดควรเน้น และคำใดควรทอดจังหวะ การทำเครื่องหมายในบทมีกฎเกณฑ์ตายตัว แต่โดยทางท่ี
นยิ มปฏิบตั ิกนั มักทำเคร่ืองหมายง่าย ๆ ดังน้ี
ก. เครือ่ งหมายขีดเฉียงขดี เดยี ว (/) ขีดระหวา่ งคำ แสดงการหยดุ เว้นนิดหนง่ึ เพราะมีคำหรือ
ข้อความอนื่ ต่อไปอีก การอา่ นตรงคำทมี่ ีเครื่องหมายนีจ้ ึงไมค่ วรลงเสียงหนกั เพราะยังไม่จบประโยค

~1~

ชุดการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

ข. เครื่องหมายขีดเฉียงสองขีด (//) ขีดหลังประโยคหรือระหว่างคำเพื่อแสดงให้รู้ว่าให้
หยุดเว้นนานหนอ่ ย

ค. เครือ่ งหมายวงกลมล้อมคำ เพ่อื บอกวา่ เปน็ คำที่สงสยั หรือไม่แน่ใจว่าอ่านอย่างไร
ง. คำที่ตอ้ งการเนน้ ใหข้ ดี เส้นใต้ที่คำนั้น
จ. คำใดท่ที อดจงั หวะ ใหท้ ำเสน้ โค้งทสี่ ่วนบนของคำนั้น ( ⌒ )
ฉ. เครื่องหมายมุมคว่ำหรือหมวกเจ๊กคว่ำ ( ^ ) แสดงว่าข้อความนั้นจะเน้นเสียงขึ้นสูง
และมมุ หงายหรอื หมวกเจก๊ หงาย ( v ) แสดงการเน้นเสยี งลงต่ำ
3. ซอ้ มอา่ นให้คล่อง หลงั อ่านบทจนเข้าใจและทำเคร่ืองหมายแสดงจังหวะการอา่ นแลว้ ควรซอ้ ม
อ่านให้คล่องโดยใช้ไมโครโฟนเพื่อให้ผู้อ่ืนช่วยสังเกต หรือบันทึกเสียงไว้เพื่อฟังและแก้ไขข้อบกพร่องของ
ตวั เอง อาจตอ้ งซ้อมหลายครัง้ จนกว่าจะแก้ไขไดเ้ ปน็ ทนี่ า่ พอใจ
การอ่านออกเสียงถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่แสดงถึงความสามารถของผู้อ่านในการออกเสียงได้
อยา่ งถูกตอ้ ง ชัดเจน และถ่ายทอดอารมณไ์ ด้สอดคลอ้ งกับเนอ้ื หาในบทอ่าน การอ่านออกเสียง อาจแบ่ง
ตามลักษณะคำประพนั ธท์ นี่ ำมาอ่านได้ 2 ประเภท ดังนี้
ร้อยแก้ว หมายถึง ข้อความที่เรียบเรียงอย่างสละสลวย ถูกต้องตามหลักภาษาแต่ไม่กำหนด
ขอ้ บังคบั ตามฉันทลกั ษณ์
ร้อยกรอง หมายถึง ถ้อยคำที่มีลักษณะบังคับในการแต่งซึ่งทำให้เกิดความไพเราะจากเสียง
สัมผัส จงั หวะ และเสยี งหนักเบาตามฉนั ทลักษณท์ ่กี ำหนด เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน รา่ ย
ในการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองมีแนวทางการอ่านที่แตกต่างกันตามลักษณะของคำ
ประพนั ธ์ นักเรยี นจึงควรศึกษาและฝึกฝนให้เกดิ ความชำนาญ

~2~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้

การอ่านออกเสียงร้อยแก้ว หมายถึง การอ่านถ้อยคําที่มีผู้เรียบเรียงหรือประพันธ์ไว้โดย
เปล่งเสียง และวางจังหวะเสียงให้เป็นไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน มีการใช้ลีลาของ
เสียงไปตามเจตนารมณ์ของผู้ประพันธ์ เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ตอนนั้น ๆ ไปสู่ผู้ฟัง ซึ่งจะทำให้ผู้ฟังเกิด
อารมณ์รว่ มคล้อยตามไปกบั เรอ่ื งราวหรือรสของบทประพนั ธท์ อ่ี ่าน
หลกั เกณฑใ์ นการอ่านออกเสยี งร้อยแก้ว

หลักเกณฑ์ทว่ั ไปในการอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ มีดังนี้
1. ก่อนอ่านควรศึกษาเรื่องที่อ่านให้เข้าใจโดยศึกษาสาระสําคัญของเรื่องและข้อความ เพื่อจะ
แบง่ วรรคตอนในการอ่านได้อยา่ งเหมาะสม
2. อ่านออกเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจํานวนผู้ฟัง ให้ผู้ฟังได้ยินทั่วกัน ไม่ดังหรือค่อย
จนเกินไป
3. อ่านให้คล่อง ฟังรื่นหู และออกเสียงให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ชัดถ้อยชัดคํา โดยเฉพาะ ตัว ร
ล หรอื คําควบกลำ้ ต้องออกเสยี งให้ชัดเจน
4. อา่ นออกเสียงให้เปน็ เสียงพูดอย่างธรรมชาติทส่ี ุด
5. เน้นเสียงและถ้อยคําตามน้ำหนักความสําคัญของใจความ ใช้เสียงและจังหวะให้เป็นไปตาม
เน้ือเรอ่ื ง เช่น ดุ ออ้ นวอน จรงิ จัง โกรธ เปน็ ต้น
6. อ่านออกเสียงใหเ้ หมาะกบั ประเภทของเรอื่ ง รู้จักใส่อารมณใ์ หเ้ หมาะสมตามเนือ้ เร่ือง
7. ขณะทอี่ ่าน ควรสบสายตาผฟู้ ัง ในลักษณะทเี่ ปน็ ธรรมชาติ
8. การอา่ นในทป่ี ระชุม ตอ้ งจับหรอื ถือบทอา่ นใหเ้ หมาะสมและยนื ทรงตัวในทา่ ท่ีสง่า

~3~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ประเภทการอา่ นรอ้ ยแก้ว

1. การอ่านบทความ การอ่านบทความ ผู้อ่านควรเน้นเสียงหนักเบาและการทอดจังหวะท่ี
เหมาะสม เพอื่ สร้างความนา่ สนใจ

2. การอ่านนิทาน นิทาน คือ เรื่องแต่งหรือเรื่องที่เล่าต่อกันมา เพื่อความสนุกสนาน แฝงข้อคิด
มวี ธิ ีการอา่ นดงั นี้

2.1 เลือกนิทานทีม่ เี นอื้ หาและภาษาที่ยากง่ายเหมาะสมกับวยั เพศ และรสนยิ มของผู้ฟัง

2.2 ใช้น้ำเสียงที่ไพเราะนุ่มนวล มีความเป็นธรรมชาติเน้นเสียงหนักเบา สอดคล้องกับ
อารมณข์ องตวั ละคร

2.3 แสดงสีหนา้ ทา่ ทางสอดคล้องกบั อารมณข์ องตัวละคร เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ งั มอี ารมณค์ ลอ้ ยตาม

2.4 ผู้อา่ นควรสบตากบั ผู้ฟงั เปน็ ระยะ ๆ และทั่วถงึ ทุกคน

3. การอา่ นเรือ่ งตลก เรื่องตลกคือเรื่องมุ่งให้เกิดความขบขันเพื่อความผ่อนคลายทั้งทางกายและ
ใจมีวิธีการอา่ นดังน้ี

3.1 ผู้อ่านควรคุมสีหน้าและท่าทางให้เป็นปกติไม่หลุดหัวเราะก่อนเพราะจะทำให้ผู้ฟังฟงั

ไม่รู้เร่ือง

3.2 ใช้นำ้ เสียงมีชีวติ ชีวาเนน้ ตรงคำสำคญั ให้ชัดเจน

3.3 หากผู้ฟังสนุกสนานและหัวเราะออก ผู้อ่านควรหยุดซักระยะ เพื่อรอให้ผู้ฟังรวบรวม
สมาธใิ นการฟังต่อไป

4. การอ่านเร่ืองเศรา้

เรื่องเศร้าคือเรอื่ งท่ีแสดงความผิดหวงั ความพลัดพราก และความตาย มวี ิธีการอ่านดังนี้

4.1 ผู้อ่านจินตนาการเป็นตัวละครนั้น เลือกใช้น้ำเสียงแผ่วเบาคล้ายคนสะอื้น และเน้น
ตรงคำสำคัญท่ีเปน็ ต้นเหตขุ องความเศร้า

4.2 ต้องควบคมุ อารมณ์ ไมส่ ะอื้นจนอา่ นออกเสียงตอบไม่ได้

~4~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

การอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง

การอา่ นออกเสียงร้อยกรอง เป็นการอา่ นที่มุ่งใหเ้ กดิ ความเพลดิ เพลนิ ซาบซง้ึ ในรสของบทประพันธ์
ซงึ่ จะตอ้ งอ่านอยา่ งมีจงั หวะ ลลี า และทว่ งทํานองตามลักษณะของการประพันธแ์ ต่ละชนดิ การอ่านบทร้อย
กรอง อ่านได้ 2 แบบ ดงั น้ี

อ่านออกเสียงธรรมดา เป็นการอ่านออกเสียงพูดตามปกติเหมือนอ่านร้อยแก้ว แต่มีจังหวะวรรค
ตอนมกี ารเนน้ สมั ผัสตามลักษณะบังคับของคาํ ประพนั ธ์แตล่ ะชนิด

อ่านทาํ นองเสนาะ เปน็ การอา่ นมีสาํ เนยี งสูง ตำ่ หนัก เบา ยาว ส้นั เปน็ ทาํ นองเหมือนเสียง ดนตรี
มีการเอื้อนเสียง เน้นสัมผัส ตามจังหวะ ลีลา และท่วงทํานองที่แตกต่างไปตามลักษณะบังคับของคำ
ประพันธ์ชนดิ ตา่ ง ๆ ให้ชัดเจน ไพเราะ เหมาะสมทาํ ใหผ้ ฟู้ งั เกิดอารมณ์คล้อยตาม
หลกั เกณฑ์ในการอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง

หลักทว่ั ไปของการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยกรองท่ีควรคาํ นึงถงึ มีดังตอ่ ไปน้ี
1. ศึกษาลักษณะบังคับของคําประพันธ์แต่ละบิดที่จะอ่านใหเ้ ข้าใจแจ่มแจ้ง เช่น การแบ่ง จังหวะ
จาํ นวนคํา สมั ผสั เสียงวรรณยุกต์ เสยี งหนักเบา เปน็ ตน้
2. อา่ นให้ถกู ตอ้ งตามลกั ษณะบังคบั ของคาํ ประพนั ธ์ชนิดน้นั ๆ
3. อ่านออกเสียงคาํ ให้ชดั เจน ถกู ตอ้ ง โดยเฉพาะคาํ ที่ออกเสียง ร ล และคาํ ควบกลำ้
4. อา่ นเสยี งดงั พอสมควรทผ่ี ้ฟู ังจะไดย้ ินทั่วถงึ ไม่ดงั หรอื ค่อยจนเกนิ ไป
5. อา่ นมจี งั หวะ วรรคตอน รูจ้ ักทอดจงั หวะ เอ้ือนเสียง หรอื หลบเสยี ง
6. คําท่ีรับสัมผัสกนั ต้องอา่ นเน้นเสยี งให้ชัด ถา้ เป็นสมั ผัสนอกตอ้ งทอดเสียงให้มจี ังหวะยาว กว่า
ธรรมดา
7. อ่านเอือ้ สัมผสั ในเพอ่ื เพิม่ ความไพเราะ เชน่

อนั รักษาศีลสตั ย์กตเวที อา่ นว่า กดั -ตะ-เวที เพือ่ ให้สมั ผสั กับ สตั ย์

~5~

ชุดการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ข้าขอเคารพอภวิ ันท์ อ่านว่า อบ-พ-ิ วัน เพ่ือให้สัมผสั กับ เคารพ
ไม่มกี ษตั ริยค์ รองปฐพี อา่ นวา่ ปดั -ถะ-พี เพือ่ ให้สมั ผัสกบั กษตั ริย์
8. คำทีม่ ีพยางค์เกนิ ให้อ่านเร็วและเบา เพอ่ื ให้เสียงไปตกอยพู่ ยางค์ทต่ี ้องการ
9. มีศิลปะในการใช้เสียง รู้จักเอื้อนเสียงให้เกิดความไพเราะ และใช้เสียง ให้เหมาะกับข้อความ
เพือ่ รักษาบรรยากาศของเรอ่ื งทอ่ี า่ น
10. เมือ่ อ่านถึงตอนจะจบบทตอ้ งเอื้อนเสยี งและทอดจังหวะให้ข้าลง จนกระทง่ั จบบท
11. มีสมาธิมั่นคงในการอ่าน โดยเฉพาะการบังคับเสียงสูง ต่ำ ดัง ค่อย และไพเราะอ่อนหวาน
ในการอ่านออกเสยี งบทร้อยกรองในท่นี ีน้ ักเรียนอาจใช้เครอ่ื งหมายกำกับจังหวะ เช่น
/ แทนจังหวะเสริม หมายถึง การหยุดเสียงอา่ นภายในวรรค
// แทนจงั หวะหลกั หมายถึง การหยดุ เสียงอา่ นเมอ่ื จบวรรคเปน็ ช่วงยาวกว่าจังหวะเสรมิ
ประเภทการอ่านรอ้ ยกรอง
1. การอา่ นกลอน
กลอนสุภาพ คือ กลอนแปด เป็นคําประพันธ์ที่นิยมแต่งกันมาแต่โบราณ กลอนสุภาพ มี
หลายชนิด ได้แก่ สักวา ดอกสร้อย เสภา นิราศ เพลงยาว ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบังคับที่ต่างกัน แต่กลอน
ทุกชนดิ มลี ลี าหรือกระบวนความบรรยายทํานองเดยี วกนั ดงั เช่น
กลอนสุภาพ (กลอนแปด) บทหนึ่งมี 2 บาท ซึ่ง 1 บาท จะมี 2 วรรค โดยมีวรรคละ 7-8
คํา วรรคแรก เรียกวา่ วรรคสดบั วรรคทส่ี อง เรยี กวา่ วรรครับ วรรคที่สาม เรยี กวา่ วรรครอง และ วรรค
ทสี่ ี่ เรยี กว่า วรรคส่ง
การแบ่งจงั หวะวรรคในการอา่ น แบ่งดังน้ี

วรรคละ 7 คํา อา่ น 2/2/3
วรรคละ 8 คาํ อ่าน 3/2/3
วรรคละ 9 คาํ อ่าน 3/3/3

~6~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ตวั อย่างการอ่าน

กลอนสภุ าพ/แปดคำ/ประจำบ่อน// อ่านสามตอน/ทุกวรรค/ประจักษ์แถลง//
ตอนตน้ สาม/ตอนสอง/สองแสดง// ตอนสามเเจง้ /สามคำ/ครบจำนวน//
กำหนดบท/ระยะ/กะสัมผัส//
วางจงั หวะ/กะทำนอง/ตอ้ งกระบวน// ให้ฟาดฟดั /ชัดความ/ตามกระสวน//
จงึ จะชวน/ฟังเสนาะ/เพราะจับใจ//
2. การอา่ นกาพย์ (ประชุมลำนำ ของ หลวงธรรมาภิมนฑ์ (ถึก))

กาพย์ยานี 11 คือ กาพย์ที่มีลีลาไพเราะ จังหวะ กระบวนการอ่านเหมาะสมอย่างอิง
สําหรับการพรรณนาชมความงามและการบรรยายปลกุ เรา้ อารมณ์

กาพย์ยานี 11 มีจํานวนคําในแต่ละบาท 11 คํา แบ่งเป็นวรรคหน้า 5 คํา วรรคหลัง 6
คํา การอา่ นกาพย์ยานี 11 ในบาทโทนั้น นยิ มอ่านเสียงสูงกว่าปกตจิ ึงจะเกดิ ความไพเราะ การแบ่งจังหวะ
วรรคในการอ่าน มดี ังนี้

วรรคหนา้ 5 คาํ อ่าน 2/3/ วรรคหลัง 5 คําอ่าน /3 /3

ตวั อย่างการอ่าน

เร่ือยเรือ่ ย/มารอนรอน// ทพิ ากร/จะตกตำ่ //

สนธยา/จะใกล้คำ่ // คํานงึ หน้า/เจา้ ตราตร/ู /

เรื่อยเรอื่ ย/มาเรียงเรยี ง// นกบินเฉยี ง/ไปท้งั หมู่//

ตัวเดยี ว/มาพลดั คู่// เหมือนพอี่ ยู/่ ผู้เดยี วดาย//

(กาพย์เหเ่ รือ : เจา้ ฟ้าธรรมธเิ บศร)

3. การอ่านโคลง

โคลงสี่สภุ าพ บทหนึ่งมี 30 คํา โดย 1 บท มี 4 บาท วรรคหน้าในบาทที่ 1-4 มี 5 คํา
สว่ นวรรคหลังมี 2 คาํ แต่บาทที่ 4 วรรคหลงั จะมี 4 คาํ (อาจมีคําสร้อย 2 คําในบาทที่ 1 และ 3)

~7~

ชดุ การเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

การอ่านโคลงสี่สุภาพ นิยมอ่านออกเสียงต่ำที่ท้ายวรรคบาทที่ 2 ออกเสียงสูงที่ ท้ายวรรคหน้า
ของบาทท่ี 3 และทอดเสียงทที่ า้ ยวรรคแรกของแต่ละบาท นยิ มอา่ นด้วยระดับเดียวกันทั้งบท แต่บางคํา
จะขึ้นลงสูงต่ำตามเสียงของวรรณยุกต์ ยกเว้นวรรคแรกของบาทที่ 3 จะอ่านเสียงสูง กว่าทุกวรรค 1
บันไดเสยี ง

ตัวอย่างการอ่าน

เสียสนิ /สงวนศกั ดิ์ไว/้ / วงศห์ งส์

เสียศักด/์ิ สปู้ ระสงค/์ / ส่ิงรู้//

เสียรู้/เรง่ ดำรง// ความสตั ย์/ ไว้นา//

เสียสตั ย/์ อย่าเสยี ส้/ู / ชีพม้วย/มรณา

(โคลงโลกนิติ)

การฝึกอ่านออกเสียงให้มีประสิทธิภาพ จะต้องยึดหลักเกณฑ์ของภาษาเปน็ สาคัญ โดยมีพจนานุกรม
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ประกอบ ควรเอาใจใส่การอ่านออกเสียงคําอ่านที่มี ร ล คําควบกล้ำ
รวมถึงเสียงวรรณยุกต์ต่างๆ ต้องให้มีเสียงดังฟังชัด รู้จักเลือกใช้น้ำเสียงให้สอดคล้องเหมาะสมกับข้อความ
ที่อ่าน ตลอดจนรู้จักเน้นเสียงในข้อความสําคัญต่างๆ ด้วย นอกจากนี้ผู้อ่านควรเตรียมศึกษาบทที่จะอ่าน
เพื่อจัดแบ่ง วรรคตอนในการอ่านให้เหมาะสม รวมทั้งควรหมั่นฝึกฝนท่าทางขณะอ่านให้ถูกต้องอยู่เสมอ
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจและสรา้ งความขนึ้ ชมใหแ้ กผ่ ้ฟู ังทัว่ ไป

~8~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง
~9~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการอา่ นรอ้ ยแกว้

เรอ่ื ง บทเรยี นของบณุ ฑรกิ

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นขอ้ ความตอ่ ไปนี้ โดยออกเสยี งคำท่ีขดี เสน้ ใตใ้ ห้ถกู ตอ้ ง
ในชีวิตของคนเรามีประสบการณ์ที่น่าจดจำหลายเรื่อง บางเรื่องเป็นสิ่งที่น่าชื่นชนยินดี บางเรื่อง

เป็นสิ่งที่ควรยึดเป็นบทเรียน ดังเช่นเรื่องบทเรียนของบุณฑริก บุณฑริกเป็นหญิงสาวที่มีรูปร่างหน้าตา
แอร่มแช่มช้อย เธอชอบแต่งตัวอะร้าอร่ามจนใคร ๆ คิดว่าเธอวิตถารเธอเป็นคนมีทิฐิ ไม่เชื่อคำเตือนของ
ผใู้ ดจนจนถกู ปรามาสจากคนรอบข้าง ว่าจะเรียนไม่สำเร็จ เธอคิดว่าทุกคนเป็นคนปรปกั ษ์ตอ่ เธอ แต่แล้ว
วันหนึง่ เธอกพ็ บกับวิกฤตการณ์ในชวี ิต เธอถกู ชายคนหนง่ึ ที่ยังไม่สร่างเมาแสดง ความกักขฬะจนเธอเกือบ
พลาดท่าเสียที ต้ังแต่นั้นมาเธอจึงเขา้ ใจความหวงั ดีของทุกคนทค่ี อยเตอื นเธอตลอดเวลา

บทเรียนของบุณฑริกครั้งนี้ เราทุกคนสามารถนำมาเป็นคติในการดำเนินชีวิตได้โดยเฉพาะใน
สงั คมปัจจุบนั ท่มี ีอันตรายอยรู่ อบดา้ น หญงิ สาวทกุ คนตอ้ งระมดั ระวังการแต่งกาย เพราะเธออาจจะไม่โชค
ดอี ยา่ งบุณฑริกก็เป็นได้

~ 10 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบฝกึ หดั ทบทวน

คำช้แี จง ให้นักเรยี นเขยี นแสดงคำอ่านตามคำท่ีกำหนดให้

1. บุณฑริก อา่ นวา่ .....................................................................................................................

2. แอรม่ แช่มช้อย อ่านวา่ .....................................................................................................................

3. อะร้าอรา่ ม อ่านว่า .....................................................................................................................

4. วติ ถาร อา่ นวา่ .....................................................................................................................

5. ทิฐิ อ่านว่า .....................................................................................................................

6. ปรามาส อา่ นวา่ .....................................................................................................................

7. ปรปักษ์ อา่ นว่า .....................................................................................................................

8. วิกฤตการณ์ อา่ นว่า .....................................................................................................................

9. สรา่ ง อา่ นวา่ .....................................................................................................................

10. กกั ขฬะ อา่ นวา่ .....................................................................................................................

~ 11 ~

ชดุ การเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

เร่อื ง เดก็ ไทยกับไอที...เดก็ ลอ็ ก

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ตอ่ ไปนี้ โดยออกเสยี งให้ถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี
ปัญหาเด็กในยุคนี้ ขอเรียกว่าเด็กล็อก คือล็อกนิ้ว ล็อกตัวเอง และล็อกเวลา รองศาสตราจารย์

ด็อกเตอร์ สมพงษ์ จิตระดับ อาจารย์คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การล็อกนิ้ว ล็อก
ตัวเอง ล็อกเวลา ก็คือการใช้เวลามากเกินควรกับไอที ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน หรือแท็บเล็ต

จากผลวิจัยพบว่าเด็กและเยาวชนใช้ระบบไอทีเพื่อการเรียนรู้เพียงร้อยละ 20 ส่วนร้อยละ 80
ใช้เพ่ือการบันเทิงและเกม การล็อกท้ังตัวเองและเวลาเช่นน้ีย่อมเกิดผลเสียตามมาหลายประการ จากเวที "คุม
เข้มเด็กเล่นเกม : ลิดรอนสิทธิ หรือช่วยสร้างสรรค์" ในการประชุมคณะกรรมการการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ
ครั้งที่ 5 สรุปว่าการที่เด็กจำนวนมากใช้เวลามากเกินควรกับไอที ทำให้เป็นอันตรายต่อสุขภาพเกิดผลด้านลบ
ต่อพัฒนาการ และได้รับผลร้ายจากการรับเนื้อหาท่ีไม่เหมาะสมผ่านทางซอฟต์แวร์ เกม เว็บไซต์

ที่ว่าเป็นอันตรายต่อสุขภาพก็คือร่างกายอ่อนแอเจ็บป่วยง่าย เพราะอยู่กับไอทีจนไม่มีเวลา ออก
กำลังกายหรือเล่นกีฬา อีกท้ังสายตาก็มักจะเสียไปด้วย เพราะวัน ๆ จ้องอยู่ที่หน้าจอ นอกจากนี้สุขภาพจิตอาจ
แปรปรวนกลายเป็นเด็กท่ีมีพฤติกรรมรุนแรง ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์กล่าว
ในที่ประชุมว่า สถิติของการติดเกมและมีพฤติกรรมรุนแรงจนต้องบำบัดรักษาเพ่ิมขึ้นต่อเน่ืองทุกปี

นอกจากเรื่องสุขภาพแล้ว การล็อกตัวเองหรือล็อกเวลาจนไม่มีเวลาทำกิจกรรมสร้างสรรค์อื่น
เช่น การทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ การร่วมกิจกรรมชมรมต่าง ๆ ในสถานศึกษา หรือแม้แต่การพบปะ
พูดคุยสร้างสรรค์กับพ่อแม่ญาติพี่น้องหรือเพ่ือนฝูง ย่อมทำให้เกิดผลลบต่อพัฒนาการของตัวเด็กเอง ที่สำคัญ
คือ ทำให้ขาดทักษะทางสังคมและขาดทักษะในการติดต่อสื่อสาร ซึ่งเป็นทักษะท่ีสำคัญในการดำรงชีวิต

~ 12 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบฝึกหดั ทบทวน

คำชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนแสดงคำอ่านตามคำท่กี ำหนดให้ถูกต้อง

1. ศาสตราจารย์ อ่านว่า.....................................................................................................................

2. ครศุ าสตร์ อ่านว่า .....................................................................................................................

3. คอมพิวเตอร์ อา่ นวา่ ................................................................................................................... ..

4. สทิ ธิ อ่านว่า.....................................................................................................................

5. อนั ตราย อ่านวา่ .....................................................................................................................

6. ซอฟต์แวร์ อ่านวา่ .....................................................................................................................

7. พฤติกรรม อ่านวา่ .....................................................................................................................

8. สร้างสรรค์ อา่ นว่า .....................................................................................................................

9. ประโยชน์ อ่านวา่ .....................................................................................................................

10. กจิ กรรม อ่านวา่ .....................................................................................................................

~ 13 ~

ชดุ การเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

เรอ่ื ง เมอื่ ครงั้ ไปทศั นศึกษา

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ตอ่ ไปนี้ โดยออกเสยี งให้ถกู ตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี

เมื่อไม่นานมานี้ ฉันและเพื่อน ๆ ได้มีโอกาสไปทัศนศึกษากับทางโรงเรียน โดยรถออกจากเมือง
ตราด พวกเราเริ่มร้องเพลงด้วยเสียงที่ไพเราะเพราะพริ้งและเพลิดเพลิน แต่เพื่อนบางคนก็มีท่าทีเคร่ง
ขรึม พอมองออกไปนอกรถเห็นคนขวักไขว่อยู่เกลื่อนกลาด เห็นแม่ค้าอ้อยควั่นหน้าตาเปล่งปลั่งเหมือน
ดอกไม้เพิ่งผลิ คนซื้อหนุ่ม ๆ ยิ้มเผล่ท่าทางกรุ้มกริ่ม เธอขายอย่างคล่องแคล่วและปราดเปรียว แต่ไม่
ปรูดปราด สองขา้ งทางมีโขลงช้างกำลังหากิน หา่ งออกไปชาวนาช่วยกันทำนาอย่ตู ัวเป็นเกลียว บ้างก็จูงวัว
ควายไปไถนา เราปลาบปลื้มที่เมืองไทยพรั่งพร้อมอุดมสมบูรณ์ มองไกล ๆ เห็นควันไฟ เพราะมีผู้ลอบ
วางเพลิงเพอื่ เผาผลาญไรน่ า ชาวบา้ นช่วยกนั ดับไฟอยา่ งโครมคราม บางคนเห็นเขา้ กเ็ สยี ขวัญ รีบไปคว้าถัง
น้ำสาดไปด้วยความโง่เขลา แต่แลว้ เหตกุ ารณก์ ็คลค่ี ลายลง

รถแล่นต่อไปบนถนนที่มีโครงการตระเตรียมปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการจราจร ตำรวจตรวจตรา
ตามหน้าทอี่ ย่างเคร่งครดั คนขบั ตอ้ งเหลียวซา้ ยแลขวาขับรถด้วยความเคร่งเครยี ด ถงึ แม่นำ้ บางปะกงเห็น
เรือโคลงเคลง มีลูกคลื่นมากมาย บางลำก็ลอยเคว้งคว้างอยู่กลางแม่น้ำ มีขบวนแห่นา คเสียงโห่
เกรียวกราวอึกทึกครกึ โครม บางครั้งผ่านถนนที่กำลงั ปรับปรุงทางจึงขรุขระ รถแล่นเหมือนถูกกวดั แกวง่
จนเวียนหัวและหลับไป ตื่นขึ้นเพราะฝันร้าย อกสั่นขวัญแขวนด้วยเสียงโครมคราม จึงรู้ว่าถึงเมืองกรุง
มีรถมากมายกลาดเกลื่นแล่นกันขวักไขว่ บ้างก็ขับเร็วจนน่าเกรงกลัว แต่เขาก็หยุดกันอย่างพร้อมเพรียง
คลา้ ยมมี นต์ขลงั เมื่อเหน็ ไฟแดง

ในที่สุดฉันก็มาถึงสถานที่ท้องฟ้าจำลอง เสียงเพลงไพเราะเพราะพริ้ง ทำให้เพลิดเพลินและ
เคลิบเคลิ้ม มองรอบ ๆ ไม่เห็นมีใคร จึงรู้ว่าฉันมัวหลับใหลจนไม่ได้เข้าไปชมท้องฟ้าจำลองเพราะด้วย
ความเผลอไผลของตนเอง

~ 14 ~

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบฝึกหดั ทบทวน

คำชีแ้ จง ให้นกั เรยี นตอบคำถามจากบทร้อยแกว้ ท่ีไดอ้ ่านขา้ งต้น
1. ใจความสำคญั ของขอ้ ความขา้ งตน้ คอื อะไร
............................................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................. ...............................
.................................................................................................... ................................................................ ........................
2. ขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ากขอ้ ความขา้ งตน้ นคี้ อื อะไร
............................................................................................................................. ...............................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................................

~ 15 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

ชุดฝกึ ทักษะการอา่ นบทรอ้ ยกรอง

คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองต่อไปนี้ โดยเน้นออกเสียงคำที่ขีดเส้นใต้ พร้อมทั้ง
ตอบคำถามใหถ้ ูกตอ้ ง

อันปญั ญา/เป็นบอ่ เกดิ /ความสำเรจ็ ต้องเหนอ่ื ยเหนด็ /ยากเข็ญ/เพื่อไปถงึ
ต้องศรัทธา/อย่าให้ใคร/มาฉดุ ดงึ ความฝนั ซง่ึ /ย่ิงใหญ/่ ของตวั เรา
อยา่ หยบิ ยืน่ /ความรษิ ยา/ให้ใครเขา
อยา่ หลงใหล/คำพดู /ของผ้อู ื่น อยา่ ไปเอา/สงิ่ ไม่ด/ี คดิ นำพา
หนทางไกล/จงสนใจ/เพียงตัวเรา จงหม่ันเพียร/ฝึกฝน/เขียนภาษา

อันความรู้/อยคู่ ู่/ในหอ้ งเรยี น รเู้ จตนา/เร่ืองทอี่ า่ น/หมั่นตริ
เขยี นใหถ้ ูก/อ่านให้เปน็ /เนน้ วาจา
ตรอง จงต้ังใจ/เรยี นไว้/ไม่หมน่ หมอง
ขอแคล่ อง/เปิดใจ/ใหก้ ารเรียน
อย่าให้ใคร/เขามา/ดูถูกได้
จุดมุ่งหมาย/อยไู่ ม่ไกล/เกินครอบครอง

จงตอบคำถาม
1. ใจความสำคญั ของบทรอ้ ยกรองนค้ี อื อะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากบทรอ้ ยกรองนคี้ อื อะไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

~ 16 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ชดุ ฝกึ ทกั ษะการอา่ นบทรอ้ ยกรอง

คำชี้แจง ให้นกั เรียนอ่านออกเสียงบทร้อยกรองต่อไปนี้ โดยเน้นออกเสยี งคำที่ขีดเสน้ ใต้ พรอ้ มท้งั
ตอบคำถามให้ถกู ต้อง

ขวนขวาย/หาความรู้ สติค/ู่ มิทำหาย
วิชา/มิหา่ งกาย แล้วเราน้นั /จะได้ดี
ไขทกุ ครา/ดว้ ยเปรมปรดี ิ์
หากม/ี ปรศิ นา เปน็ วัยควร/หาวิชา
ยง่ิ ปฐม/วัยน้ี บชู าไว้/ประเสริฐค่า
ตอ้ งทะน/ุ บำรงุ กัน
พระ/รัตนตรยั สอนสง่ั มา/ให้สุขสันต์
เร่ืองเล่า/เขาว่ามา ชว่ ยไถถ่ อน/กิเลสเอย

พทุ ธ/ศาสนา
บนทาง/สายกลางอนั
จงตอบคำถาม

1. ใจความสำคัญของบทรอ้ ยกรองขา้ งตน้ คอื อะไร
............................................................................................................................. ...............................................................
.......................................................................................................................................................... ..................................
............................................................................................................................................................................................
2. ขอ้ คดิ ทไี่ ดจ้ ากบทรอ้ ยกรองขา้ งตน้ คอื อะไร
......................................................................................................................... ...................................................................
............................................................................................................................. ...............................................................
.............................................................................................................................. ..............................................................
..

~ 17 ~

ชดุ การเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

แหลง่ การเรยี นร้เู พมิ่ เตมิ

- การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ รอ้ ยกรอง

https://www.youtube.com/watch?v
=GdJHzAXcEHM

- การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ |
ภาษาไทยครูบี
https://www.youtube.com/watch?
v=qf6_Cv10dts

- ภาษาไทย ม.1 ตอนท่ี 11 การอา่ นบท
รอ้ ยกรอง - Yes iStyle
https://www.youtube.com/watch?
v=_6eADRsYmx4

~ 18 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

แหลง่ การเรยี นรู้เพมิ่ เตมิ

- DLTV ม.1 ภาษาไทย 2 ก.ค.2563 |
การอ่านออกเสียงรอ้ ยแก้ว
https://www.youtube.com/watch?
v=Yj5-1U08Re0

- อา่ นฟงั เสยี งอา่ นโครงการธนชาติ
https://www.youtube.com/watch?v
=9mCbhG0vAgg

- วิชาภาษาไทย ม.1 | การอ่านออกเสียงบท
ร้อยแก้วทเ่ี ป็นบทบรรยาย
https://www.youtube.com/watch?v=q6s
v8DKgkb0

- PowerPoint การสอนเร่อื ง การอา่ นรอ้ ยแก้ว
ร้อยกรอง ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1
https://drive.google.com/drive/folders/
15c7RW8m63TdU4tgs0BupYqwFnm4qa
B20?usp=sharing

~ 19 ~

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

บรรณานกุ รม

ฐาปะนีย์ นาครทรรพ. (2544). บทอาขยานภาษาไทย ระดบั มธั ยมศกึ ษา ชว่ งชนั้ ท่ี 1 - 4 หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั
พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กระทรวงศึกษาธิการ

ทรูปลูกปัญญา. (2564). การอา่ นบทรอ้ ยเเกว้ เเละรอ้ ยกรอง. สบื คน้ จาก
https://www.trueplookpanya.com/learning/detail/34169

เริงชัย ทองหลอ่ . (2556). คมู่ อื เตรยี มสอบ o-net ม.3 ภาษาไทย. กรงุ เทพ ฯ : ไฮเอด็ พับลซิ ซิ่ง
ฮาดี บนิ ด่เู หลมิ . (2558).หลกั การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยเเกว้ เเละรอ้ ยกรอง. สบื ค้นจาก

http://ww.satriwit3.ac.th/files/130719099044311_20061422223111.pdf
Teeratorn chanthima. (2558). การอา่ นบทรอ้ ยแกว้ เเละรอ้ ยกรอง. สบื คน้ จาก

https://oom20102011.wordpress.com/2015

~ 20 ~

ชดุ การเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ภาคผนวก

~ 21 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

รายวิชาภาษาไทย 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
เรอื่ ง การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ รหัสวชิ า ท 21102
ภาคเรยี นท่ี 2
เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพ่ือนำไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาใน

การดำเนินชวี ิต และมนี สิ ยั รักการอา่ น
ตัวชี้วัด ท 1.1 ม.1/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่อื งท่ี

อ่าน
ท 1.1 ม.1/9 มมี ารยาทในการอ่าน

สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การอ่านออกเสียง เป็นการสื่อสารที่สำคัญเพราะเป็นการถ่ายทอดความคิด ความรู้ ตลอดจน

ความรู้สึกของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร การอ่านออกเสียงที่ถูกต้องชัดเจนทั้งการอ่านออกเสียงควบกล้ำ
การออกเสียง ร ล และการแบ่งวรรค จะทำให้การสื่อสารนั้นมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ผู้อ่านจะตอ้ งรู้
หลักในการอ่านร้อยแก้ว เพื่อนำมาใช้ให้เหมาะสมจึงทำให้การอ่านออกเสียงนั้นน่าฟัง และการฝึกอ่าน
ออกเสียงทถ่ี กู ตอ้ งจะเป็นพนื้ ฐานทีด่ ีในการอ่านออกเสยี งท้ังรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับการอา่ นออกเสียงรอ้ ยแก้วได้ (K)
2. สามารถอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแก้วได้ถูกต้องและเหมาะสมกับเรื่องท่อี ่าน (P)
3. เขา้ ใจและบอกประโยชนข์ องการอ่านออกเสียงไดถ้ กู ตอ้ ง รวมท้ังมมี ารยาทในการอา่ น (A)

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
1. การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ ท่เี ปน็ บทบรรยาย
2. มารยาทในการอา่ น

สมรรถนะสำคัญ
1. [ / ] ความสามารถในการส่ือสาร 2. [ ] ความสามารถในการคดิ
3. [ ] ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. [ / ] ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

~ 22 ~

ชุดการเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง
5. [ / ] ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. [ ] รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. [ ] ซอื่ สตั ย์สจุ รติ

3. [ / ] มีวนิ ยั 4. [ / ] ใฝเ่ รยี นรู้

5. [ ] อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. [ / ] มุ่งม่นั ในการทำงาน

7. [ ] รกั ความเป็นไทย 8. [ ] มีจิตสาธารณะ

ช้ินงาน/ภาระงาน

ให้นกั เรียนฝึกการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ นอกเวลาเรยี น

กจิ กรรมการเรียนรู้

1. ขนั้ นำ

1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนด้วยกิจกรรม “ภาพจากเรื่องเล่า” เพื่อใช้ภาพสื่อความหมายใน

การอ่านออกเสยี ง มขี ้นั ตอนดงั น้ี

1.1 ให้นักเรียน 2 คน โดยได้จากการสมัครใจของนักเรียนหรือเกิดจากการสุ่ม

ออกมาเลา่ เรอ่ื งท่ีครกู ำหนดไวใ้ ห้หน้าช้ันเรียน นกั เรียนคนท่ี 1 เลา่ วา่ “ตอนเชา้ กอ่ นมาโรงเรียนฉันเห็นคู

อยกู่ ลางทุ่งนา” คนท่ี 2 เล่าวา่ “ตอนเชา้ กอ่ นมาโรงเรียนฉนั เหน็ ครูอยูก่ ลางทุง่ นา”

1.2 ให้นักเรียนออกมาวาดภาพตามเร่ืองที่เพือ่ นทั้ง 2 คนเล่าให้ฟัง จะได้ภาพท่ี

แตกต่างกัน (ภาพที่ 1 คือ คูและทงุ่ นา ภาพท่ี 2 คือ ครูและท่งุ นา)

2. จากนัน้ นักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเร่ืองการออกเสียง เพอ่ื ให้เหน็ ความสำคัญ

ของการอา่ นออกเสยี งให้ถูกต้อง ถา้ ออกเสียงผดิ การส่ือความหมายก็จะผดิ ไป

2. ขัน้ สอน

3. ครูอธิบายเรือ่ ง หลกั การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ , วธิ ีการอา่ นบทร้อยแก้ว และการ
ออกเสยี งคำตามอักขรวิธี โดยใช้สือ่ การเรยี นการสอน Powerpoint ประกอบการอธิบาย

4. ครูเปิดวีดิทัศน์ “การประกวดการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา”
แลว้ ให้นกั เรยี นฟงั และสังเกตการออกเสียงในประเดน็ ดังน้ี

- ออกเสยี งคำตามอักขรวธิ ี

- การแบง่ วรรคตอนของขอ้ ความ

- การเนน้ เสยี งถอ้ ยคำหรือขอ้ ความทเ่ี ปน็ ใจความสำคัญ

- การใชน้ ้ำเสยี งใหส้ อดคลอ้ งกับเนอื้ หา

5. นักเรยี นแบง่ กลุม่ กล่มุ ละ 4- 5 คน แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ฝกึ การอา่ นออกเสียงร้อยแกว้
โดยฝึกการออกเสียงคำควบกล้ำ ร ล ให้ชัดเจน การแบ่งวรรคตอนของข้อความ การเน้นเสียง การใช้

~ 23 ~

ชุดการเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง
น้ำเสียง ตลอดจนการใช้สีหน้าและแววตา จากนั้นให้เพื่อนสมาชิกในกลุ่มร่วมกันประเมินวิธีการอ่านของ
เพื่อนสมาชิกในกลมุ่

6. นักเรียนแต่ละกลุ่มคัดเลือกตัวแทน 1 คน ออกมาอ่านออกเสียงให้เพื่อนฟังและ
รว่ มกันประเมนิ ผลการอา่ นออกเสียง

7. ครูแนะนำแนวทางการอ่านออกเสียงและใหน้ กั เรียนนำไปฝึกปฏิบัติเพ่ือพฒั นาวิธีการ
อา่ นออกเสยี งของแต่ละคนให้ดยี ่ิงข้ึน

3. ขั้นสรปุ
8. นกั เรียนและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้เรอ่ื ง หลักการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้
9. ครูมอบหมายให้นักเรียนไปฝึกฝนการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเพิ่มเติมและเตรียม

ตวั อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วในคาบต่อไป
สอ่ื การเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาภาษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1
2. ใบความรเู้ ร่อื ง หลกั การอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้
3. Powerpoint เรื่อง การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแก้ว
4. วดี ิทศั น์สือ่ การเรียนการสอนเรอื่ ง “การประกวดการอ่านออกเสยี งร้อยแกว้

โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา
ลิงก์https://www.youtube.com/watch?v=zq0SINm71yA&t=213s

แหลง่ การเรยี นรเู้ พิม่ เติม
1. วีดิทัศน์สื่อการเรียนการสอนเรื่อง “วิชาภาษาไทย ม.1 | การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เปน็

บทบรรยาย” จาก https://www.youtube.com/watch?v=q6sv8DKgkb0
2. วีดิทัศน์สื่อการเรียนการสอนเรื่อง “การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว | ภาษาไทยครูบี”

จาก https://www.youtube.com/watch?v=qf6_Cv10dts
3. วีดิทัศน์สื่อการเรียนการสอนเรื่อง “อ่านฟังเสียงอ่าน-โครงการธนชาติ” จาก

https://www.youtube.com/watch?v=9mCbhG0vAgg

~ 24 ~

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

วิธกี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. อธิบายความรู้พื้นฐาน สังเกตพฤตกิ รรม แบบบนั ทึกการ นกั เรียนผ่านเกณฑก์ าร
เกี่ยวกับการอ่านออกเสียง การตอบคำถาม สงั เกตและ ประเมินการสังเกตและ
ร้อยแก้วได้ (K) ประเมนิ ผล ประเมนิ ผลพฤติกรรม
พฤติกรรมรายบุคคล รายบคุ คล

2. สามารถอ่านออกเสียง ประเมินผลจากการ แบบประเมินจากการ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน

ร้อยแก้วได้ถูกต้องและ อ่านออกเสียงบทร้อย อ ่านอ อ ก เสียงบท ร้อยละ 60 ข้นึ ไป

เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน แกว้ ร้อยแกว้

(P)

3. เข้าใจและเห็นประโยชน์ สงั เกตพฤติกรรม แบบบันทึกการ ผ่านเกณฑ์ระดบั
ของการอ่านออกเสียงให้ สังเกตและประเมนิ คุณภาพดี
ถูกต้อง รวมทั้งมีมารยาท พฤติกรรมรายบคุ คล
ในการอา่ น (A)

4. มสี มรรถนะสำคัญจาก สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ระดับคณุ ภาพ
การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ สมรรถนะสำหรับ ดี
ความสามารถในการ นกั เรยี น
สื่อสาร และความสามารถ
ในการใชท้ กั ษะชีวติ

5. มีคุณลักษณะอันพึง สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน ผา่ นเกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ
ประสงคต์ ามทีก่ ำหนด คุณลักษณะอนั พงึ ดี
ประสงค์

~ 25 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบบนั ทกึ การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมรายบคุ คล

เร่อื ง......................................................................

รายวชิ า ภาษาไทย 2 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 1/2

คำช้แี จง: โปรดเขียนเครอื่ งหมาย ลงในชอ่ งทต่ี รงกับความเป็นจรงิ

เลข ่ีท ชอื่ -สกลุ ความสนใจใน การมสี ว่ น ความ คณุ ธรรมใน รวม
การเรยี น รว่ มในการทำ รบั ผดิ ชอบ การเรยี น เชน่
กจิ กรรม เชน่ ตอ่ งานทไ่ี ดร้ บั
ตอบคำถาม มอบหมาย ความขยนั
ซอื่ สตั ย์
มจี ติ สาธารณะ

3 2 1 3213 2 1 3 2 1

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

~ 26 ~

ชดุ การเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ลงชอ่ื ....................................................ผปู้ ระเมิน
(..................................................)
........../.........../..........

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม

.......................................................................................................................... ..................................................................
............................................................................................................................. ..................................

เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

3 หมายถึง ดี 13 - 15 คะแนน = ดี

2 หมายถงึ พอใช้ 9 – 12
คะแนน = พอใช้

1 หมายถงึ ปรับปรุง 5–8
คะแนน = ปรับปรุง

เกณฑก์ ารผ่าน ร้อยละ 60 ( 9 คะแนน)

~ 27 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

รายละเอยี ดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบสงั เกตพฤตกิ รรม
การเรยี นของนกั เรยี นรายบคุ คล

ประเดน็ การประเมนิ ดี (3) เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปรบั ปรงุ (1)
พอใช้ (2)

ความสนใจกระตอื รอื รน้ มคี วามสนใจและ มคี วามสนใจและ ขาดความสนใจและ

ในการเรยี น กระตอื รือร้นในการเรยี น กระตือรอื รน้ ในบางเวลา ความกระตอื รอื รน้ พดู คุย

ตลอดเวลา พดู คยุ นอกเรื่องบ้าง 1 – นอกเร่อื งมากกว่า 3

2 ครง้ั ในคาบ เรอ่ื ง

การมสี ว่ นรว่ มใน มสี ว่ นร่วมในการทำ มสี ่วนรว่ มในการทำ ไม่มสี ว่ นร่วมในการทำ

การทำกจิ กรรม เชน่ กจิ กรรมสมำ่ เสมอตลอด กจิ กรรมสมำ่ เสมอตลอด กิจกรรม ไมต่ อบคำถาม

ตอบคำถาม คาบ ตอบคำถามทุกครั้ง คาบ ตอบคำถามทค่ี รู ทีค่ รูถาม

ทคี่ รูถาม ถาม 1 – 2 คร้งั

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานที่ มคี วามรบั ผิดชอบต่องาน มีความรบั ผิดชอบต่องาน ขาดความรับผดิ ชอบต่อ

ไดร้ บั มอบหมาย ท่ไี ด้รับมอบหมายอย่างดี ทไี่ ดร้ ับมอบหมายแต่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ทำงานเสรจ็ และส่งตรง ทำงานไมเ่ สรจ็ และสง่ ไม่ ทำงานไมเ่ สร็จและสง่ ไม่

เวลาทุกคร้ัง ทันเวลา 1 – 2 ครง้ั ทนั เวลา มากกวา่ 3 คร้ัง

ขึน้ ไป

คณุ ธรรมในการเรยี น มคี ณุ ธรรมในการเรยี น มีคณุ ธรรมในการเรียน ขาดคณุ ธรรมในการเรียน

เชน่ ความขยนั ซอื่ สตั ย์ โดยมคี วามขยนั ซ่อื สัตย์ โดยมคี วามขยนั ซอื่ สัตย์ ไม่ขยนั เรยี น ไม่ซือ่ สัตย์

มจี ติ สาธารณะ และมีจติ สาธารณะต่อครู และมจี ิตสาธารณะต่อครู และไมม่ จี ิตสาธารณะตอ่

และเพอ่ื นทุกคร้งั ท่ีมี และเพื่อนบ้าง 1 – 2 ครแู ละเพอ่ื น

โอกาส คร้ัง

~ 28 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ

การประเมนิ ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)

1. อักขรวธิ ี ออกเสียงอักขรวิธี ออกเสียงอักขรวิธี ออกเสียงอักขรวิธี ออกเสียงอักขรวิธี

ตัวสะกดควบกล้ำ ตัวสะกดควบกล้ำ ตัวสะกดควบกล้ำ ตัวสะกดควบกล้ำ

ถูกต้องทกุ แห่ง มีจุดผิดพลาด 1- มีจุดผิดพลาด 3- มีจุดผิดพลาด 5

2 จดุ 4 จุด จุดขึ้นไป

2. น้ำเสยี งอารมณ์ เสียงดังชัดเจน มี เสียงดังพอสมควร เสียงเบาขาดความ เสียงเบาขาดความ

ความไพเราะกับ มีความไพเ ร า ะ ไพเราะเหมาะสม ไ พ เ ร า ะ เ พ ี ย ง

เนอื้ เรอื่ งทอี่ า่ น เ ห ม า ะ ส ม กั บ กับลักษณะเน้ือ เล็กน้อย แต่ไม่

ลักษณะเนื้อเรื่อง เรือ่ งเปน็ บางส่วน ค่อยเหมาะสมกับ

เปน็ สว่ นใหญ่ ลกั ษณะเน้อื เร่ือง

3. ความถูกตอ้ งใน การเว้นวรรคตอน การเว้นวรรคตอน การเว้นวรรคตอน การเว้นวรรคตอน

การอ่าน จงั หวะลีลาถูกต้อง ผิด 1 จุด จังหวะ ผิด 2 จุด จังหวะ ผิดมากกว่า 3 จุด

สมบูรณ์ ถูกต้องแต่ขาด ถูกต้องแต่ขาด ข ึ ้ น ไ ป ข า ด ทั้ ง

ลีลา ลีลา จังหวะและลลี า

4. บคุ ลกิ ท่าทาง เชื่อมั่นในตนเอง มีความน่าเชื่อม่ัน มีความน่าเชื่อม่ัน ขาดความเช่ือม่นั

แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ในตนเอง แต่ยัง ในตนเองในระดับ

ความมัน่ ใจ ข า ด ค ว า ม เ ป็ น พอใช้ ขาดความ

ธรรมชาติ เปน็ ธรรมชาติ

5. การบอกคุณค่า บ อ ก ค ุ ณ ค ่ า บ ท บ อ ก ค ุ ณ ค ่ า บ ท บ อ ก ค ุ ณ ค ่ า บ ท บ อ ก ค ุ ณ ค ่ า บ ท

ของบทอ่านร้อย อ่านร้อยแก้วที่ อ่านร้อยแก้วที่ อ่านร้อยแก้วท่ี อ่านร้อยแก้วที่

แก้ว กำหนดได้ถกู ตอ้ ง กำหนดได้ถูกต้อง กำหนดได้ถูกต้อง กำหนดได้เพียง

เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางสว่ น บางส่วน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว

~ 29 ~

ชดุ การเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบประเมนิ ผลการอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้

ช่ือ-นามสกลุ ผถู้ กู ประเมนิ ............................................................................ช้ัน..........................เลขที่...................

สถานะของผู้ประเมิน ( ) ครูผ้สู อน ( ) เพื่อน ( ) ตนเอง

คำชีแ้ จง: โปรดเขยี นเครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ งทต่ี รงกับความเปน็ จริง

ลำดบั ท่ี ระดบั คะแนน

ประเดน็ รายการประเมนิ ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง(1)

1 อักขรวธิ ี
2 นำ้ เสยี งอารมณ์
3 ความถูกตอ้ งในการอ่าน
4 บุคลิกท่าทาง
5 การบอกคณุ ค่าของบทอ่านรอ้ ยแกว้

รวม (20)
เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
18 - 20 ดมี าก (รอ้ ยละ 100)
15 - 17
12 - 14 ดี (ร้อยละ 75)
ตำ่ กวา่ 12 พอใช้ (ร้อยละ 60)
ปรบั ปรุง (นอ้ ยกว่าร้อยละ 60)

ประเมนิ ผลการอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้

( ) ผา่ นร้อยละ 60 ( ) ไม่ผ่าน/นอ้ ยกว่าร้อยละ 60

ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ ...........................................................................................................................

...................................................................................................................................................... .......................

ลงชื่อ....................................................ผปู้ ระเมิน

(..................................................)

........../.........../..........

~ 30 ~

ชดุ การเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

ชื่อ - สกลุ .............................................................................................ชัน้ ...............................เลขท่ี...................

คำช้แี จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน และทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงใน
ชอ่ งทตี่ รงกบั ความเปน็ จรงิ

สมรรถนะดา้ น รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
4321

ความสามารถ ใน 1.1 มีความสามารถในการรับ - ส่งสาร
การสอ่ื สาร 1.2 มีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของ
ตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
ความสามารถ ใน 1.3 ใชว้ ธิ กี ารส่อื สารท่ีเหมาะสม
การใชท้ กั ษะ 1.4 วเิ คราะหแ์ สดงความคิดเห็นอย่างมีเหตผุ ล
ชีวติ 2.1 สามารถทํางานกลมุ่ รว่ มกับผ้อู นื่ ได้
2.2 ปฏบิ ัตติ ามบทบาทหนา้ ที่
ความสามารถใน 2.3 ให้ความรว่ มมือในการทาํ งาน
การใชเ้ ทคโนโลยี 2.4 ร่วมกจิ กรรมสมำ่ เสมอ
2.5 หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ี่สง่ ผลกระทบต่อตนเอง
3.1 เลอื กและใชเ้ ทคโนโลยไี ดเ้ หมาะสมตามวยั
3.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
3.3 ใชเ้ ทคโนโลยใี นการแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์
3.4 มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยี

รวมคะแนน/เฉลยี่

ลงชื่อ......................................................ผู้ประเมนิ

(....................................................)

............./......................./..............

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ ระดบั เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
คะแนน
ดีมาก - พฤติกรรมทปี่ ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ดี - พฤตกิ รรมท่ีปฏิบตั ิชัดเจนและบอ่ ยครง้ั ให้ 3 คะแนน 4
พอใช้ - พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ัติบางครงั้ ให้ 2 คะแนน 3 43 - 52 ดีมาก
ตอ้ งปรบั ปรงุ - ไม่เคยปฏิบตั ิพฤตกิ รรม ให้ 1 คะแนน 2
1 33 – 42 ดี

23 - 32 พอใช้

~ 31 ~ 13 - 22 ปรบั ปรงุ

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

ชือ่ - สกุล .............................................................................................ช้ัน...............................เลขท.่ี ..................

คำชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น และทำเคร่อื งหมาย ✓
ลงในชอ่ งท่ตี รงกับความเป็นจริง

คณุ ลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน
อนั พงึ ประสงค์ 4 32 1

ข้อ 2 มีวนิ ยั 2.1 เข้าเรยี นตรงเวลา

2.2 ปฏบิ ตั ติ ามสิง่ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

2.3 ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบในระหวา่ งการเรียน

ขอ้ 4 ใฝ่เรียนรู้ 4.1 แสวงหาขอ้ มูลจากแหลง่ เรยี นรูต้ า่ ง ๆ

4.2 มกี ารจดบันทึกความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบ

4.3 สรุปความร้ไู ด้อยา่ งมีเหตุผล

ขอ้ 6 มุ่งมน่ั ใน 6.1 มีความตงั้ ใจ และพยายามในการทำงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย

การทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งาน

สำเรจ็

รวม

ลงช่อื ......................................................ผู้ประเมนิ

(....................................................)

............./......................./..............

ระดบั คณุ ภาพ 3 ผา่ นเกณฑ์

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ

ดีมาก - พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตชิ ดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน

ดี - พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ระดบั เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ
พอใช้ - พฤตกิ รรมท่ีปฏิบัติบางครง้ั ให้ 2 คะแนน คะแนน
ตอ้ งปรบั ปรงุ - ไม่เคยปฏิบตั ิพฤตกิ รรม ให้ 1 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
4
3 27 – 32 ดมี าก
2
1 21 – 26 ดี

15 – 20 พอใช้

~ 32 ~ ต่ำกว่า 15 ปรับปรงุ

ชดุ การเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

ด้านความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)

เลขท่ี คะแนนภาระงาน
ผลการประเ ิมน

่ซอมเส ิรม
ผลการประเ ิมน
การแ ้กไขปัญหา
การใช้เหตุผล

รวม
ผลการประเมิน
ความ ุมมานะฯ

ความ ีมวินัย
รวม

ผลการประเ ิมน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

ลงช่ือ....................................................ผปู้ ระเมิน
(..................................................)
........../.........../..........

~ 33 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)

ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A)

เลขท่ี คะแนนภาระงาน
ผลการประเ ิมน

่ซอมเส ิรม
ผลการประเ ิมน
การแ ้กไขปัญหา
การใช้เหตุผล

รวม
ผลการประเมิน
ความ ุมมานะฯ

ความ ีมวินัย
รวม

ผลการประเ ิมน

21
22
23
24
25

ลงช่ือ....................................................ผ้ปู ระเมิน

(..................................................)

........./.........../..........

~ 34 ~

ชุดการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

บนั ทกึ หลงั การสอน

ผลสำเรจ็ ของการสอน

ด้านความร้คู วามเขา้ ใจ

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ดา้ นสมรรถนะผเู้ รียน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
...................................................................................................................................................................... ........

ดา้ นสอ่ื /นวตั กรรมและแหลง่ การเรยี นรู้

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ดา้ นการวดั และประเมนิ ผล

..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

ปญั หา/อปุ สรรค

............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ......................................................ผูส้ อน
(....................................................)

............./......................./..............

~ 35 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง
ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
.................................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่อื ......................................................ครูพ่เี ล้ยี ง
(....................................................)
............./......................./..............

~ 36 ~

ชุดการเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

รายวิชาภาษาไทย แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
เร่อื ง การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยกรอง รหสั วชิ า ท 21102
ภาคเรียนที่ 2
เวลา 1 ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระท่ี 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหา

ในการดำเนินชีวิต และมนี ิสยั รักการอา่ น
ตวั ชว้ี ดั ท 1.1 ม.1/1 อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกตอ้ งเหมาะสมกับเรอื่ งที่อา่ น
ท 1.1 ม.1/9 มีมารยาทในการอ่าน

สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด

การอ่านออกเสียงทั้งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง เป็นการสื่อสารที่สำคัญ ช่วยถ่ายทอดความคิด
ความรู้ ตลอดจนความรู้สึกของผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง ควรอ่านออกเสียง
ให้ชัดเจน ถูกต้องตามจังหวะและประเภทของบทร้อยกรอง จำเป็นต้องอาศัยทักษะการอ่านเป็นสิ่งสำคัญ
รวมทง้ั ควรใชน้ ำ้ เสียงเพ่อื ถา่ ยทอดอารมณค์ วามรสู้ กึ ให้สอดคล้องกบั บทร้อยกรองนน้ั ๆ ด้วย

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

4. อธบิ ายความหมายของการอา่ นออกเสียงรอ้ ยกรองได้ (K)
5. สามารถแบง่ วรรคตอนไดถ้ ูกตอ้ งและอา่ นถูกต้องตามอักขรวิธี (P)
6. เข้าใจและบอกประโยชนข์ องการอ่านออกเสียงได้ถูกต้อง รวมท้ังมีมารยาทในการอ่าน (A)
สาระการเรียนรู้

1. การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง เช่น กลอนสุภาพ กลอนสักวา กาพย์ยานี 11 กาพย์ฉบัง 16
กาพยส์ รุ างคนางค์ 28 และโคลงสสี่ ุภาพ

2. มารยาทในการอา่ น
สมรรถนะสำคญั

1. [ / ] ความสามารถในการสือ่ สาร 2. [ ] ความสามารถในการคิด
3. [ ] ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. [ / ] ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
5. [ / ] ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

~ 37 ~

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 2. [ ] ซอื่ สัตย์สจุ ริต
1. [ ] รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 4. [ / ] ใฝเ่ รยี นรู้
3. [ / ] มวี ินัย 6. [ / ] มุ่งมั่นในการทำงาน
5. [ ] อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 8. [ ] มจี ติ สาธารณะ
7. [ ] รกั ความเปน็ ไทย

ชนิ้ งาน/ภาระงาน

- ทำแบบฝกึ ทักษะชุดกิจกรรม
- อดั วิดโี อการอ่านออกเสียงรอ้ ยกรองลงใน tiktok

กิจกรรมการเรยี นรู้

ข้ันนำ

1. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการเปิดภาพอาหารทั้ง 29 ชนิดให้นักเรียนดู จากนั้นตั้งคำถาม
เพ่อื กระต้นุ การเรียนรู้ เชน่ นักเรยี นคุน้ เคยกับภาพอาหารทีค่ รูนำมาหรือไม่ (เมื่อมีนักเรียนตอบว่าเป็นอาหาร
ทอี่ ยใู่ นกาพย์เห่ชมเคร่อื งคาวหวาน จากนน้ั ครนู ำจึงเขา้ สูบ่ ทประพนั ธ์)

ขนั้ สอน

2. นักเรียนพิจารณาบทประพันธ์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” แล้วอ่านออกเสียงพร้อม
กนั แบบร้อยแกว้ ธรรมดา

๏ แกงไก่มสั มัน่ เนอื้ นพคุณ พเ่ี อย

หอมย่หี รา่ รสฉนุ เฉียบร้อน

ชายใดบริโภคภุญช์ พศิ วาส หวังนา

แรงอยากยอหตั ถ์ขอ้ น อกใหห้ วนแสวง ๚

๏ มสั มนั่ แกงแก้วตา หอมยห่ี รา่ รสรอ้ นแรง

ชายใดไดก้ ลืนแกง แรงอยากให้ใฝ่ฝันหา

๏ ยำใหญใ่ สส่ ารพัด วางจานจดั หลายเหลือตรา

รสดดี ้วยนำ้ ปลา ญป่ี นุ่ ลำ้ ย้ำยวนใจ

๏ ตบั เหลก็ ลวกหลอ่ นต้ม เจือน้ำส้มโรยพรกิ ไทย

โอชาจะหาไหน ไม่มเี ทยี บเปรยี บมือนาง

~ 38 ~

ชดุ การเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

๏ หมแู นมแหลมเลศิ รส พร้อมพริกสดใบทองหลาง
พิศหอ่ เห็นรางชาง หา่ งห่อหวนปว่ นใจโหย
วางถึงล้ินดิ้นแดโดย
๏ กอ้ ยกุ้งปรุงประท่นิ ฤๅจะเปรียบเทียบทนั ขวญั
รสทิพยห์ ยิบมาโปรย เป็นมันย่องล่องลอยมัน
ของสวรรคเ์ สวยรมย์
๏ เทโพพื้นเน้อื ทอ้ ง ทำนำ้ ยาอยา่ งแกงขม
น่าซดรสครามครัน ชมไมว่ ายคล้ายคล้ายเห็น
รสพเิ ศษใสล่ กู เอ็น
๏ ความรกั ยักเปลย่ี นท่า เช่นเชงิ มติ รประดิษฐ์ทำ
กลออ่ มกลอ่ มเกลยี้ งกลม แกงคั่วส้มใส่ระกำ
ชำ้ ทรวงเศร้าเจา้ ตรากตรอม
๏ ข้าวหงุ ปรงุ อย่างเทศ ฟุ้งปรากฏรสหื่นหอม
ใครหุงปรุงไม่เป็น สนทิ เนอื้ เจือเสาวคนธ์
นอนเตยี งทองทำเมอื งบน
๏ เหลอื รูห้ มูป่าต้ม ยลอยากนทิ รคิดแนบนอน
รอยแจ้งแห่งความขำ รุ่มรุ่มเรา้ คอื ไฟฟอน
รอ้ นรมุ รุม่ กลุม้ กลางทรวง
๏ ช้าช้าพล่าเนอ้ื สด
คดิ ความยามถนอม โอชารสกว่าทงั้ ปวง
เหมือนเรยี มรา้ งห่างหอ้ งหวน
๏ ล่าเตยี งคดิ เตยี งน้อง ดุจวาจากระบิดกระบวน
ลดหลนั่ ชัน้ ชอบกล ใหพ้ เ่ี ครา่ เจ้าดวงใจ
เปน็ โฉมนอ้ งฤๅโฉมไหน
๏ เห็นหรุ่มรุมทรวงเศรา้ ใครค่ รวญรกั ผักหวานนาง ๚
เจบ็ ไกลในอาวรณ์

๏ รังนกนงึ่ นา่ ซด
นกพรากจากรังรวง

๏ ไตปลาเสแสรง้ วา่
ใบโศกบอกโศกครวญ

๏ ผักโฉมช่ือเพราะพร้อง
ผักหวานซ่านทรวงใน

~ 39 ~

ชุดการเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

3. ครูอ่านบทประพันธ์ “กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” อีกครั้ง โดยอ่านเป็นบทร้อยกรอง
ใหน้ ักเรยี นฟัง และให้นักเรียนสังเกตการออกเสยี งในประเด็นดังนี้

- ออกเสียงคำตามอกั ขรวธิ ี
- การแบง่ วรรคตอนของขอ้ ความ
- ออกเสียงคำควบกล้ำ ร ล ให้ชดั เจน
4. ให้นักเรียนฝึกการอ่านออกเสียงแบบทำนองเสนาะ โดยเริ่มจากการอ่านแบ่งวรรคตอน
ใหถ้ กู ต้อง จากนั้นฝึกทอดเสยี ง
5. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน เพื่อร่วมกันอ่านทำนองเสนาะในบทประพันธ์
“กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน” ให้ครูฟัง เมื่ออ่านจบครูชื่นชมในจุดที่ถูกต้องและแนะนำในจุดที่ผิดพลาด
เพ่อื ให้นักเรียนนำไปฝึกฝนและพัฒนาวิธกี ารอา่ นออกเสียงใหถ้ ูกต้องและดีขน้ึ ไป
ขน้ั สรุป
7. ครูให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับข้อสงสัยเพิ่มเติม และร่วมกันสนทนาสรุปความรู้จาก
การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง
8. ครูมอบหมายงานให้นักเรียนไปทำแบบฝึกทักษะชุดกิจกรรม แล้วฝึกฝนการอ่านออก
เสียงรอ้ ยกรองให้มีประสิทธิภาพยิง่ ข้ึน

สื่อการเรียนรู้
5. หนังสอื เรยี นรายวชิ าภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1
6. ใบความร้เู รอ่ื ง หลักการอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง
7. Powerpoint เรอื่ ง การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง
8. วดี ทิ ศั นบ์ นยูทูป “กาพย์เหช่ มเครือ่ งคาวหวาน”
ลงิ ก์ https://www.youtube.com/watch?v=-Lep3vXG3sc

แหลง่ การเรียนรู้
วดี ิทัศน์สอ่ื การเรยี นการสอนเรอื่ ง “การอา่ นบทรอ้ ยกรอง”
ลิงก์ https://www.youtube.com/watch?v=_6eADRsYmx4

~ 40 ~

ชุดการเรยี นรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

การวดั ผลการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ผล เครอื่ งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ
1. อธบิ ายความหมายของ การตรวจใบงาน เรอ่ื ง ใบงาน เรอ่ื ง การ ผา่ นเกณฑร์ ะดับ
การอา่ นออกเสยี งรอ้ ย การอ่านออกเสยี ง อา่ นออกเสยี งร้อย คุณภาพดี
กรองได้ (K) รอ้ ยกรอง กรอง
ประเมนิ จากการอ่าน แบบประเมนิ ใบงาน ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน
2. สามารถอา่ นออกเสยี ง ออกเสียงบทร้อยกรอง แบบประเมินจากการ ร้อยละ 60 ข้ึนไป
รอ้ ยกรองไดถ้ กู ตอ้ งและ อา่ นออกเสียงบทร้อย
เหมาะสมกับเรอ่ื งทอ่ี า่ น สงั เกตพฤตกิ รรม กรอง ผ่านเกณฑ์ระดบั
(P) คณุ ภาพดี
3. เขา้ ใจและเหน็ ประโยชน์ สังเกตพฤติกรรม แบบบนั ทกึ การ
ของการอา่ นออกเสยี งให้ สงั เกตและประเมิน ผา่ นเกณฑ์ระดบั
ถกู ตอ้ ง รวมทงั้ มมี ารยาท สังเกตพฤติกรรม พฤตกิ รรมรายบคุ คล คุณภาพดี
ในการอา่ น (A)
4. มสี มรรถนะสำคัญจาก แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ระดบั
การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่ สมรรถนะสำหรบั คณุ ภาพดี
ความสามารถในการ นกั เรียน
สอื่ สาร และความสามารถ
ในการใชท้ กั ษะชวี ติ แบบประเมิน
5. มคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ คณุ ลักษณะอนั พงึ
ประสงคต์ ามทก่ี ำหนด ประสงค์

~ 41 ~

ชดุ การเรียนร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านรอ้ ยแก้ว-ร้อยกรอง

แบบบนั ทกึ การสงั เกตและประเมนิ ผลพฤติกรรมรายบคุ คล

รายวชิ า ภาษาไทย 2 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1/2

คำชี้แจง: โปรดเขียนเครือ่ งหมาย ลงในช่องท่ีตรงกบั ความเป็นจริง

ชอ่ื -สกลุเลข ่ีทความสนใจใน การมสี ว่ น ความ คณุ ธรรมใน รวม
การเรยี น รว่ มในการทำ รบั ผดิ ชอบ การเรยี น เชน่
1 เด็กชายกอบลาภ สุขศรี กจิ กรรม เชน่ ตอ่ งานทไ่ี ดร้ บั
2 เด็กชายคุณานนท์ ใยเทศ 321 ตอบคำถาม มอบหมาย ความขยนั
3 เด็กชายจกั รภทั ร ไพบูลย์ ซอื่ สตั ย์
4 เดก็ ชายจริ ัวฒน์ บางกระแว่น 3 21 321 มจี ติ สาธารณะ
5 เดก็ ชายเจษฎา ป่ินสำอางค์ 321
6 เด็กชายทรี ะพัฒน์ คำมี
7 เด็กชายธนภัทร เกิดมี
8 เด็กชายธีระพงษ์ เนยี มหอม
9 เดก็ ชายธรี ะศกั ดิ์ ทมิ สี
10 เดก็ ชายนวมนิ จนั ทรอ์ นิ ทร์
11 เดก็ ชายปยิ ะ คำมี
12 เดก็ ชายพลพล เครือคำวัง
13 เดก็ ชายภาณุพงศ์ มานพ
14 เด็กชายสหัสวัฒน์ สกุ ทอง
15 เด็กชายสิทธิพงษ์ แสงกล่ำ
16 เด็กชายสุทธิพงษ์ สุขปอ้ ง
17 เด็กชายอโนทัย รุง่ หัวไผ่
18 เด็กชายวีรพงศ์ นามทา้ ว
19 เดก็ หญิงฐิตาภรณ์ บ้ันแพ
2 เดก็ หญิงณชิ าพชั ร์ นติ กิ ลุ

0

21 เด็กหญิงนภาพร โพธ์ิภริ มย์

~ 42 ~

ชุดการเรียนรวู้ ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

ความสนใจใน การมสี ว่ น ความ คณุ ธรรมใน
การเรยี น เชน่
การเรยี น รว่ มในการทำ รบั ผดิ ชอบ
ความขยนั
เลข ่ีท ชอ่ื -สกลุ กจิ กรรม เชน่ ตอ่ งานทไี่ ดร้ บั ซอื่ สตั ย์ รวม
มจี ติ สาธารณะ
ตอบคำถาม มอบหมาย 321

3 2 1 3213 2 1

22 เดก็ หญิงเบญญาภา ผ่งึ ผาย
23 เด็กหญงิ รินธิตา คำสงิ ห์

24 เดก็ หญงิ อภัสรา เพง็ กระจา่ ง

2 เด็กหญิงอัญชัน หอมสกลุ
5

ลงชือ่ ....................................................ผู้ประเมิน
(..................................................)
........../.........../..........

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เตมิ

............................................................................................................................. ...............................................................
...............................................................................................................................................................

เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ

3 หมายถงึ ดี 13 - 15 คะแนน = ดี

2 หมายถึง พอใช้ 9 – 12 คะแนน = พอใช้

1 หมายถงึ ปรับปรงุ 5 – 8 คะแนน = ปรบั ปรงุ

เกณฑก์ ารผา่ น รอ้ ยละ 60 ( 9 คะแนน)

~ 43 ~

ชดุ การเรยี นร้วู ิชาภาษาไทย แบบฝึ กทกั ษะการอ่านร้อยแก้ว-ร้อยกรอง

รายละเอยี ดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นของนักเรยี นรายบคุ คล

ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรงุ (1)

ความสนใจกระตอื รอื รน้ มีความสนใจและ มีความสนใจและ ขาดความสนใจและ

ในการเรยี น กระตือรือรน้ ในการเรยี น กระตือรอื รน้ ในบางเวลา ความกระตือรอื รน้ พดู คุย

ตลอดเวลา พดู คยุ นอกเรื่องบ้าง 1 – นอกเร่อื งมากกว่า 3

2 ครงั้ ในคาบ เรอื่ ง

การมสี ว่ นรว่ มใน มสี ว่ นร่วมในการทำ มีส่วนร่วมในการทำ ไม่มสี ่วนร่วมในการทำ

การทำกจิ กรรม เชน่ กิจกรรมสม่ำเสมอตลอด กิจกรรมสม่ำเสมอตลอด กิจกรรม ไม่ตอบคำถาม

ตอบคำถาม คาบ ตอบคำถามทกุ ครั้ง คาบ ตอบคำถามท่คี รู ที่ครูถาม

ที่ครถู าม ถาม 1 – 2 ครงั้

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานท่ี มคี วามรับผิดชอบต่องาน มีความรบั ผิดชอบตอ่ งาน ขาดความรับผิดชอบต่อ

ไดร้ บั มอบหมาย ที่ไดร้ ับมอบหมายอย่างดี ท่ไี ดร้ บั มอบหมายแต่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ทำงานเสร็จและสง่ ตรง ทำงานไม่เสร็จและสง่ ไม่ ทำงานไม่เสร็จและส่งไม่

เวลาทุกครัง้ ทันเวลา 1 – 2 ครงั้ ทนั เวลา มากกว่า 3 ครั้ง

ขึน้ ไป

คณุ ธรรมในการเรยี น มคี ณุ ธรรมในการเรียน มคี ณุ ธรรมในการเรียน ขาดคณุ ธรรมในการเรยี น

เชน่ ความขยนั ซอื่ สตั ย์ โดยมคี วามขยนั ซื่อสตั ย์ โดยมีความขยัน ซื่อสัตย์ ไมข่ ยนั เรยี น ไม่ซ่ือสัตย์

มจี ติ สาธารณะ และมีจติ สาธารณะตอ่ ครู และมจี ิตสาธารณะต่อครู และไมม่ ีจิตสาธารณะต่อ

และเพอ่ื นทุกครง้ั ทม่ี ี และเพ่ือนบา้ ง 1 – 2 ครแู ละเพ่อื น

โอกาส ครงั้

~ 44 ~