แผนการ สอน คณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 doc หลักสูตร 2560

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับน้ี จัดทาข้ึนโดยคานึงถึงการส่งเสริม ให้ผู้เรียนมีทักษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ใน

ศตวรรษที่ 21 เปน็ สาคัญ นั่นคอื การเตรยี มผู้เรียนใหม้ ีทกั ษะดา้ นการคดิ วิเคราะห์ การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การคิด
สร้างสรรค์ การใชเ้ ทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งจะสง่ ผลให้ผูเ้ รียนรเู้ ท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกจิ สงั คม

วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขัน และอยู่ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้ การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ีประสบ
ความสาเร็จนั้น จะต้องเตรียมผเู้ รียนให้มีความพร้อมที่จะเรยี นรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมท่ี จะประกอบอาชีพเม่ือจบการศึกษา หรือสามารถ
ศกึ ษาต่อในระดบั ที่สูงข้ึน ดังน้ันสถานศกึ ษาควรจดั การเรียนรู้ใหเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รยี น

เรียนรู้อะไรในคณติ ศาสตร์

กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรจ์ ัดเป็น 4 สาระ ได้แก่ จานวนและพชี คณติ การวัดและเรขาคณิต สถิติและความนา่ จะเป็น
แคลคูลสั

จานวนและพีชคณิต ระบบจานวนจริง สมบัติเก่ียวกับจานวนจริง อัตราส่วน ร้อยละ การประมาณค่า การแก้ปัญหา

เกย่ี วกับจานวน การใช้จานวนในชีวติ จริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบ
สมการ อสมการ กราฟ ดอกเบีย้ และมูลคา่ ของเงิน เมทริกซ์ จานวนเชิงซ้อน ลาดับและอนุกรม และการนาความรู้เก่ียวกับจานวน

และพีชคณติ ไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ
การวัดและเรขาคณิต ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การ

คาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิตและสมบัติของ รูปเรขาคณิต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต

ทฤษฎีบททางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณติ ในเร่ืองการเล่ือนขนาน การสะทอ้ น การหมนุ เรขาคณิตวิเคราะห์ เวกเตอรใ์ นสาม
มิติ และการนาความรู้เก่ยี วกับ การวัดและเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ

สถิตแิ ละความน่าจะเป็น การตั้งทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคานวณค่าสถิติ การนาเสนอและแปลผลสาหรบั ข้อมูล
เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ หลกั การนับเบื้องตน้ ความน่าจะเป็นการแจกแจงของตวั แปรสุ่ม การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความ
นา่ จะเปน็ ในการอธบิ ายเหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ และชว่ ยในการตดั สินใจ

แคลคูลสั ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังกช์ ันพีชคณติ ปรพิ ันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต และการนาความรู้
เกี่ยวกบั แคลคูลัสไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ ง ๆ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และ
สาระท่ี 1 จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลท่ี
เกดิ ข้นึ จากการดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนินการ และนาไปใช้

มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพนั ธ์ ฟังกช์ ัน ลาดบั และอนกุ รม และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแก้ปญั หาทก่ี าหนดให้
สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของสงิ่ ทต่ี ้องการวดั และนาไปใช้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณติ

ทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้

5

สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความน่าจะเป็น

มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอื้ งต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์เป็นความสามารถที่จะนาความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ น การเรยี นรู้ส่งิ ตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ได้มา

ซง่ึ ความรู้ และประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในที่น้ี เน้นท่ีทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตร์ท่ีจาเป็น และตอ้ งการพฒั นาให้เกดิ ขน้ึ กบั ผู้เรียน ไดแ้ ก่ ความสามารถต่อไปน้ี

1. การแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการทาความเข้าใจปัญหา คิดวิเคราะห์ วางแผนแก้ปัญหา และเลือกใช้วิธีการที่

เหมาะสม โดยคานงึ ถงึ ความสมเหตุสมผลของคาตอบ พรอ้ มท้งั ตรวจสอบความถูกต้อง
2. การสอื่ สารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ เป็นความสามารถในการใชร้ ปู ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

ในการสื่อสาร สือ่ ความหมาย สรปุ ผล และนาเสนอไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ชัดเจน
3. การเชื่อมโยง เป็นความสามารถในการใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้คณิตศาสตร์เน้ือหาต่าง ๆ

หรือศาสตรอ์ นื่ ๆ และนาไปใช้ในชีวิตจริง

4. การให้เหตผุ ล เป็นความสามารถในการให้เหตุผล รับฟังและใหเ้ หตุผลสนับสนนุ หรือโต้แย้ง เพื่อนาไปสูก่ ารสรุป โดยมี
ขอ้ เท็จจริงทางคณติ ศาสตรร์ องรับ

5. การคิดสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการขยายแนวคิดที่มีอยู่เดิม หรือสร้างแนวคิดใหม่ เพื่อปรับปรุง พัฒนาองค์
ความรู้

คุณภาพผ้เู รียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3

 มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับจานวนจริง ความสัมพันธ์ของจานวนจริง สมบัติของจานวนจริง และใช้ความรู้ความเขา้ ใจนีใ้ น
การแกป้ ญั หาในชีวติ จริง

 มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับอัตราส่วน สัดสว่ น และรอ้ ยละ และใช้ความรคู้ วามเข้าใจน้ี ในการแกป้ ญั หาในชวี ิตจริง

 มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกับเลขยกกาลังทมี่ ีเลขช้ีกาลังเปน็ จานวนเต็ม และใช้ความรู้ความเข้าใจนี้ ในการแก้ปัญหาในชีวิต
จริง

 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียว ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร และอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
และใช้ความร้คู วามเข้าใจนใ้ี นการแก้ปัญหาในชวี ิตจริง

 มคี วามรู้ความเขา้ ใจและใชค้ วามรู้เก่ียวกับคอู่ ันดบั กราฟของความสมั พนั ธ์ และฟงั ก์ชนั กาลงั สอง และใช้ความรู้ความเข้าใจ
เหล่านีใ้ นการแกป้ ญั หาในชีวิตจริง

 มีความรู้ความเข้าใจทางเรขาคณิตและใช้เคร่ืองมือ เช่น วงเวียนและสันตรง รวมท้ังโปรแกรม The Geometer’s
Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณิตพลวัตอื่นๆ เพื่อสร้างรูปเรขาคณิต ตลอดจน นาความรู้เก่ียวกับการสร้างน้ีไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแก้ปัญหาในชีวิตจรงิ

 มคี วามร้คู วามเขา้ ใจและใช้ความรคู้ วามเข้าใจนใ้ี นการหาความสัมพนั ธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละรูปเรขาคณิตสามมิติ

 มีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองพ้ืนที่ผิวและปริมาตรของปรซิ ึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม และใช้ความรู้ความ
เขา้ ใจนีใ้ นการแกป้ ญั หาในชวี ิตจริง

 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนาน รูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการรูปสามเหล่ียมคล้าย ทฤษฎีบทพีทา
โกรสั และบทกลบั และนาความรคู้ วามเขา้ ใจนไี้ ปใชใ้ นการแก้ปัญหาในชีวิตจริง

6

 มคี วามรู้ความเขา้ ใจในเรื่องการแปลงทางเรขาคณิตและนาความรู้ความเข้าใจนไ้ี ปใช้ในการแกป้ ญั หา

 มีความรคู้ วามเข้าใจในเร่ืองอัตราสว่ นตรโี กณมติ ิและนาความรู้ความเข้าใจนไ้ี ปใชใ้ นการแก้ปญั หาในชวี ติ จริง

 มีความรคู้ วามเข้าใจในเรือ่ งทฤษฎบี ทเกี่ยวกับวงกลมและนาความรู้ความเขา้ ใจน้ีไปใช้ในการแกป้ ัญหาคณติ ศาสตร์

 มคี วามร้คู วามเข้าใจทางสถิติในการนาเสนอข้อมลู วิเคราะห์ข้อมูล และแปลความหมายข้อมูล ท่เี ก่ียวขอ้ งกับแผนภาพจุด
แผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลางของข้อมูล และแผนภาพกล่อง และใช้ความรู้ความเขา้ ใจนี้ รวมทัง้ นาสถิติไปใชใ้ นชีวิต
จรงิ โดยใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสม

 มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกบั ความนา่ จะเป็นและใช้ในชวี ติ จริง

จบชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 (สาหรับนกั เรียนท่ีเนน้ วิทยาศาสตร์)

 เขา้ ใจและใช้ความรเู้ ก่ียวกับเซตและตรรกศาสตรเ์ บ้ืองต้น ในการสื่อสาร สอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์

 เข้าใจและใช้หลักการนับเบ้ืองต้น การเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมู่ ในการแก้ปัญหา และนาความรู้เกี่ยวกับความน่าจะ
เป็นไปใช้

 นาความรเู้ ก่ียวกับเลขยกกาลัง ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม ไปใช้ในการแก้ปัญหา รวมทั้งปญั หาเกี่ยวกับดอกเบี้ยและมูลค่า
ของเงิน

 เข้าใจและใช้ความรูท้ างสถติ ิในการวเิ คราะห์ข้อมลู นาเสนอขอ้ มูล และแปลความหมายข้อมลู เพือ่ ประกอบการตัดสนิ ใจ

ตัวชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้แู กนกลาง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2

สาระที่ 1 จานวนและพชี คณิต

มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกิดขึ้นจาก

การดาเนินการ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

จานวนตรรกยะ

1. เข้าใจและใช้สมบัตขิ องเลขยกกาลังท่ีมเี ลขชี้ - เลขยกกาลังท่มี ีเลขชี้กาลังเปน็ จานวนเตม็

กาลงั เปน็ จานวนเต็มในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ - การนาความรู้เกย่ี วกบั เลขยกกาลงั ไปใช้ในการแก้ปญั หา

และปัญหาในชีวติ จรงิ

จานวนจริง

2. เขา้ ใจจานวนจรงิ และความสัมพันธ์ของ - จานวนอตรรกยะ

จานวนจรงิ และใช้สมบัตขิ องจานวนจรงิ ในการ - จานวนจรงิ

แก้ปญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาในชวี ิตจริง - รากที่สองและรากทส่ี ามของจานวนตรรกยะ

- การนาความรเู้ กี่ยวกับจานวนจริงไปใช้

7

สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต

มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสมั พันธ์ ฟังกช์ ัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้

ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

พหุนาม

1. เขา้ ใจหลกั การการดาเนินการของพหนุ าม - พหุนาม

และใช้พหนุ ามในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ - การบวก การลบ และการคณู ของพหนุ าม

- การหารพหุนามดว้ ยเอกนามท่ีมีผลหารเป็นพหนุ าม

การแยกตัวประกอบของพหนุ าม

2. เขา้ ใจและใชก้ ารแยกตัวประกอบของพหนุ าม - การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี องโดยใช้

ดีกรสี องในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์ o สมบตั กิ ารแจกแจง

o กาลงั สองสมบูรณ์

o ผลต่างของกาลงั สอง

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพื้นฐานเก่ยี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสิ่งทต่ี ้องการวดั และนาไปใช้

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

พื้นทีผ่ วิ

1. ประยุกต์ใชค้ วามรเู้ ร่ืองพ้นื ที่ผิวของปรซิ มึ และ - การหาพื้นท่ผี ิวของปริซึมและทรงกระบอก

ทรงกระบอกในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์และปัญหา - การนาความรู้เกย่ี วกับพ้ืนทผี่ วิ ของปริซมึ และทรงกระบอก

ในชวี ติ จริง ไปใชใ้ นการแก้ปัญหา

ปริมาตร

2. ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งปรมิ าตรของปรซิ ึม - การหาปริมาตรของปรซิ มึ และทรงกระบอก

และทรงกระบอกในการแก้ปญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละ - การนาความรู้เกย่ี วกับปรมิ าตรของปริซึมและ

ปญั หาในชวี ติ จริง ทรงกระบอกไปใช้ในการแกป้ ัญหา

สาระท่ี 2 การวดั และเรขาคณติ

มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎี

บททางเรขาคณิต และนาไปใช้

ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

การสรา้ งทางเรขาคณิต

1. ใช้ความรู้ทางเรขาคณิตและเครื่องมือ - การนาความรเู้ กยี่ วกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใชใ้ นชวี ติ

เชน่ วงเวยี นและสนั ตรง รวมทงั้ โปรแกรม The จรงิ

Geometer’s Sketchpad หรือโปรแกรมเรขาคณติ

พลวัตอื่น ๆ เพอ่ื สร้างรปู เรขาคณิต ตลอดจนนา

ความรเู้ ก่ยี วกับการสรา้ งนีไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นการ

แกป้ ัญหาในชวี ติ จรงิ

8

ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

เสน้ ขนาน

2. นาความรู้เกี่ยวกบั สมบัติของเส้นขนานและ - สมบัตเิ กยี่ วกบั เสน้ ขนานและรูปสามเหลยี่ ม

รปู สามเหล่ียมไปใช้ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์

การแปลงทางเรขาคณติ

3. เข้าใจและใช้ความรู้เกย่ี วกบั การแปลงทาง - การเล่อื นขนาน

เรขาคณิตในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตรแ์ ละปัญหาใน - การสะท้อน

ชีวิตจริง - การหมุน

- การนาความรูเ้ กี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไปใช้ในการ

แกป้ ัญหา

ความเท่ากนั ทุกประการ

4. เขา้ ใจและใช้สมบตั ขิ องรูปสามเหลย่ี มที่ - ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลย่ี ม

เทา่ กนั ทุกประการในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละ - การนาความรู้เกย่ี วกับความเทา่ กันทุกประการไปใชใ้ น

ปญั หาในชวี ิตจรงิ การแก้ปญั หา

ทฤษฎบี ทพที าโกรัส

5. เขา้ ใจและใชท้ ฤษฎบี ทพีทาโกรัสและบทกลบั - ทฤษฎบี ทพที าโกรสั และบทกลบั

ในการแก้ปญั หาคณิตศาสตร์และปัญหาในชวี ติ จริง - การนาความรเู้ ก่ยี วกบั ทฤษฎีบทพีทาโกรสั และบทกลับไป

ใช้ในชวี ติ จรงิ

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น

มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สถิติ

1. เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างสถิตใิ นการนาเสนอ - การนาเสนอและวิเคราะหข์ ้อมลู

ข้อมลู และวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแผนภาพจุดแผนภาพ o แผนภาพจุด o แผนภาพตน้ - ใบ

ตน้ - ใบ ฮิสโทแกรม และค่ากลางของขอ้ มูล และ o ฮิสโทแกรม o ค่ากลางของขอ้ มูล

แปลความหมายผลลพั ธ์ รวมท้งั นาสถติ ิไปใชใ้ นชวี ิต - การแปลความหมายผลลัพธ์

จรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยที เี่ หมาะสม - การนาสถิตไิ ปใช้ในชีวิตจรงิ

9

คาอธิบายรายวิชา

รายวชิ า ค 22102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 80 ชว่ั โมง/ภาคเรียน จานวน 2.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา ฝึกทกั ษะการคิดคานวณ จัดการเรยี นรู้ โดยใช้ประสบการณ์หรอื สถานการณ์ในชวี ิตประจาวันทีใ่ กล้ตัวผู้เรยี น ให้

ผ้เู รียนไดศ้ กึ ษาค้นควา้ โดยการปฏิบตั จิ ริง ทดลอง สรุปรายงานและฝกึ ทักษะและกระบวนการในสาระตอ่ ไปนี้
การสร้างทางเรขาคณิต การนาความร้เู กีย่ วกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชวี ติ จรงิ
เสน้ ขนาน สมบัตขิ องเสน้ ขนานและรปู สามเหล่ียม การใหเ้ หตุผลและแก้ปญั หาโดยใช้สมบตั ิของเส้นขนานและรปู

สามเหลีย่ ม
การแปลงทางเรขาคณติ การเล่อื นขนาน การสะทอ้ นและการหมนุ และการนาความรเู้ กี่ยวกับการแปลงทางเรขาคณิตไป

ใชใ้ นการแก้ปัญหา
ความเท่ากันทกุ ประการ ความเท่ากนั ทกุ ประการของรูปสามเหล่ยี มทีค่ วามสมั พนั ธ์แบบ ดา้ น – มุม – ด้าน, มมุ – ด้าน –

มุม, ดา้ น – ด้าน – ดา้ น, มุม – มุม – ดา้ น

ทฤษฎีบทพที าโกรัส สมบตั ิของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกีย่ วกับทฤษฎบี ทพที าโกรสั และบทกลบั ของ
ทฤษฎีบทพีทาโกรสั เพอื่ นาไปใช้แกป้ ญั หาในชีวิตประจาวัน

สถติ ิ การนาเสนอข้อมูล แผนภาพจุด แผนภาพต้นใบ ฮิสโตแกรม การวัดค่ากลางของข้อมลู การแปลความหมายผลลพั ธ์
การนาสถติ ิไปใช้ในชีวิตจริง

โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ เพ่อื การจัดประสบการณ์หรือสรา้ งสถานการณ์ท่ีใกลต้ ัวให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาค้นคว้าโดย

การปฏิบัติจริง ทดลองและสรุปรายงาน โดยคานึงถึงมาตรฐานด้านทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ใช้การวัดและประเมินผล
ดว้ ยวธิ ีการทหี่ ลากหลายให้ครอบคลมุ ท้งั ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
และสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ
และมีความเชอ่ื มั่นในตนเอง สามารถทางานอยา่ งเปน็ ระบบ รวมทง้ั เห็นคณุ คา่ และมีเจตคติทดี่ ีต่อคณติ ศาสตร์

รหสั ตัวช้ีวดั
ค 2.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ค 3.1 ม.2/1

รวมทั้งหมด 6 ตัวชีว้ ัด

10

โครงสร้างรายวชิ า

รายวิชา ค 22102 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 80 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น จานวน 2.0 หน่วยกิต

หนว่ ยท่ี ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
1 เรยี นรู้ ตวั ชวี้ ัด
สถติ ิ (2) ค3.1 ม.2/1 (ช่วั โมง) คะแนน
2
ความเท่ากนั ทกุ ค2.2 ม.2/4 สถติ ิ 18 25
3 ประการ
4 ค2.2 ม.2/2 - การนาเสนอและวเิ คราะหข์ ้อมูล
5 เสน้ ขนาน ค2.2 ม.2/1
ค1.2 ม.2/2 แผนภาพจดุ
การให้เหตุผลทาง
เรขาคณิต แผนภาพต้น – ใบ
การแยกตวั
ฮสิ โทแกรม
ประกอบของพหุ
นามดีกรสี อง ค่ากลางของข้อมลู

- การแปลความหมายผลลพั ธ์

- การนาสถติ ิไปใช้ในชีวิตจริง

ความเท่ากันทุกประการ 16 25

- ความเทา่ กันทกุ ประการของรูป

สามเหล่ียม

- การนาความรู้เกยี่ วกับความเท่ากนั ทกุ

ประการไปใช้ในการแก้ปัญหา

เส้นขนาน 10 12

- สมบัตเิ กยี่ วกบั เส้นขนานและรูป

สามเหลย่ี ม

การสร้างทางเรขาคณติ 14 16

- การนาความร้เู กี่ยวกับการสรา้ งทาง

เรขาคณิตไปใช้ในชีวติ จรงิ

การแยกตัวประกอบของพหุนาม 22 22

- การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รีสอง

โดยใช้

สมบัติการแจกแจง

กาลงั สองสมบรู ณ์

ผลต่างของกาลังสอง

รวม ชั่วโมง/คะแนน ระหวา่ งภาค 70

รวม ช่ัวโมง/คะแนน ปลายภาค 30

รวมทั้งสน้ิ 100

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1 11

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา
รายวชิ า ค 22102 คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สถิติ (2) จานวน 18 ชวั่ โมง
เวลาสอน 1 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ เรื่อง แผนภาพจุด (1)

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิและใช้ความรูท้ างสถติ ใิ นการแก้ปญั หา

ตวั ช้ีวดั
ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้ความรู้ทางสถติ ิในการนาเสนอข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจดุ แผนภาพตน้ –ใบ

ฮิสโทแกรมและ คา่ กลางของขอ้ มลู และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทง้ั นาสถติ ิไปใช้ในชวี ติ จรงิ โดยใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

แผนภาพจุด เป็นรูปแบบหน่ึงของการนาเสนอขอ้ มูลเชงิ ปริมาณที่ทาได้ไม่ยาก โดยจะเขียนจุดแทนข้อมูลแตล่ ะตัวไว้เหนือ

เส้นในแนวนอนที่มีสเกล ใหต้ รงกับตาแหนง่ ทีแ่ สดงค่าของขอ้ มูลน้ัน แผนภาพจุดชว่ ยให้เห็นภาพรวมของขอ้ มูลได้อย่างรวดเร็วกว่า
การพจิ ารณาจากขอ้ มูลโดยตรงโดยเฉพาะอย่างยงิ่ เมอื่ สนใจจะพิจารณาลกั ษณะของข้อมูลวา่ มกี ารกระจายมากนอ้ ยเพียงใด

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
วิเคราะหข์ อ้ มลู และนาเสนอขอ้ มูลด้วยแผนภาพจุด

ด้านทกั ษะและกระบวนการ (P)
1. การให้เหตุผล

2. การสอ่ื สาร การส่ือ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเช่ือมโยงความรูต้ ่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์
ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุง่ มัน่ ในการทางาน
4. สาระการเรยี นรู

แผนภาพจดุ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ครูพดู คยุ ทักทายนกั เรียนและถามตอบก่อน แจกแบบทดสอบก่อนเรียน

2. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนหนว่ ยท่ี 1 เรื่อง สถิติ จานวน 10 ขอ้
3. ครูทบทวนความรู้ของนักเรียนเรอ่ื งขอมูลมีกี่ประเภท อะไรบา้ ง (2 ประเภทคือ1.ข้อมลู เชิงปรมิ าณ 2.ข้อมลู เชิงคณุ ภาพ)
4. ในหัวข้อนีเ้ ป็นเร่อื งแผนภาพจดุ ซง่ึ เป็นรูปแบบของการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณแบบหน่ึงทแ่ี สดงขอ้ มูลทุกตัวด้วยจดุ บน

ตาแหนง่ เหนอื เส้นในแนวนอนทแ่ี บง่ สเกลออกเป็นชว่ ง ช่วงละเท่า ๆ กนั
5. ครูทบทวนการนาเสนอข้อมูลท่นี ักเรียนเคยเรยี นมา แลว้ แนะนาความหมายและประโยชนข์ องแผนภาพจดุ จากน้ัน

ยกตัวอยา่ งขอ้ มลู เชิงปริมาณ เชน่ คะแนนสอบระหวา่ งภาคเรยี นวชิ าคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี น เพ่อื นาเสนอดว้ ยแผนภาพจดุ

12
6. ครแู นะนาข้นั ตอนเพื่อใหน้ ักเรียนนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภาพจุด จากนั้นตงั้ คาถามเกย่ี วกับแผนภาพจุดนน้ั เพอื่

ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนในเรือ่ งการอ่าน วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายของขอ้ มูล และช้ใี หน้ ักเรียนเหน็ วา่ การนาเสนอ

ข้อมลู ด้วยแผนภาพจุดนั้น ช่วยให้สามารถเห็นลักษณะสาคญั ของข้อมูลไดง้ ่ายกวา่ การพจิ ารณาข้อมูลโดยตรง
7. ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปเกีย่ วกับความรขู้ องแผนภาพจดุ ดงั นี้

แผนภาพจุด เปน็ รูปแบบหนึง่ ของการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณท่ีทาได้ไมย่ าก โดยจะเขยี นจุดแทนข้อมูลแต่ละตัวไว้เหนือ

เสน้ ในแนวนอนที่มีสเกล ให้ตรงกับตาแหน่งท่แี สดงค่าของข้อมลู น้ัน แผนภาพจดุ ช่วยให้เห็นภาพรวมของข้อมูลได้อยา่ งรวดเรว็ กว่า

การพิจารณาจากขอ้ มลู โดยตรงโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เมื่อสนใจจะพจิ ารณาลกั ษณะของขอ้ มลู ว่ามีการกระจายมากน้อยเพยี งใด

6. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสือเรยี น คณติ ศาสตร์ ม.2 เลม่ 2
2. แบบฝึกหัดก่อนเรยี น

7. การวดั และการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั เครื่องมอื ท่ีใชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ด้านความรู้ (K) แบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60
วเิ คราะห์ข้อมูลและนาเสนอขอ้ มลู ดว้ ยแผนภาพจุด กอ่ นเรยี น ผา่ นเกณฑ์

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ตรวจ แบบทดสอบก่อนเรียน ร้อยละ 60
1. การให้เหตุผล แบบทดสอบ ผา่ นเกณฑ์
2. การสือ่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ ก่อนเรียน แบบประเมิน
3. การเชื่อมโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณติ ศาสตร์ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2
สังเกตความมีวนิ ัย อนั พึงประสงค์ ผา่ นเกณฑ์
3. ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ใฝ่เรยี นรู้ และมงุ่ ม่นั
1. มวี นิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้ ในการทางาน
3. มุง่ ม่ันในการทางาน

13

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรยี นการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นกั เรยี นจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................... คน

ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(นางสาวธดิ ารัตน์ บญุ ปก)
ตาแหน่ง ครอู ัตราจา้ ง

14

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
 มีองค์ประกอบครบ
 มอี งคป์ ระกอบยังไม่ครบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชือ่ ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ์)

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธ์ไิ ชยศกึ ษา

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 2 15

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรยี นโคกโพธไิ์ ชยศกึ ษา
รายวิชา ค 22102 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 สถติ ิ (2) จานวน 18 ช่ัวโมง
เวลาสอน 1 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรียนรู้ เร่อื ง แผนภาพจุด (2)

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใชค้ วามรทู้ างสถิตใิ นการแก้ปัญหา
ตัวช้ีวดั
ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใชค้ วามรู้ทางสถติ ิในการนาเสนอข้อมูลและวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากแผนภาพจุด แผนภาพตน้ –ใบ

ฮสิ โทแกรมและ คา่ กลางของขอ้ มลู และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมท้ังนาสถิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใชเ้ ทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

แผนภาพจุด เป็นรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอข้อมูลเชงิ ปริมาณทท่ี าได้ไม่ยาก โดยจะเขียนจุดแทนข้อมูลแต่ละตัวไว้เหนือ
เส้นในแนวนอนที่มสี เกล ใหต้ รงกับตาแหน่งทีแ่ สดงค่าของขอ้ มูลนั้น แผนภาพจดุ ช่วยให้เห็นภาพรวมของข้อมูลไดอ้ ย่างรวดเร็วกว่า
การพจิ ารณาจากข้อมลู โดยตรงโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งเม่ือสนใจจะพิจารณาลักษณะของขอ้ มลู ว่ามกี ารกระจายมากน้อยเพยี งใด
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)
อ่านและแปลความหมายของขอ้ มลู ท่ีนาเสนอด้วยแผนภาพจดุ

ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. การให้เหตุผล
2. การส่ือสาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชอื่ มโยงความรตู้ ่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์

ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
1. มวี นิ ัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน

4. สาระการเรียนรู
แผนภาพจุด

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ครูทบทวนการนาเสนอข้อมูลที่นักเรยี นเคยเรยี นมา แล้วแนะนาความหมายและประโยชน์ของแผนภาพจดุ

2. ครูยกตัวอยา่ งขอ้ มูลเชิงปริมาณ เช่น คะแนนสอบระหว่างภาคเรยี นวิชาคณิตศาสตรข์ องนักเรียนเพอ่ื นาเสนอ ดว้ ย
แผนภาพจุด

3. ครแู นะนาขัน้ ตอนเพ่ือใหน้ กั เรียนนาเสนอข้อมลู โดยใช้แผนภาพจดุ จากน้นั ตัง้ คาถามเก่ียวกบั แผนภาพจดุ นนั้

4. เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนในเรื่องการอ่าน วเิ คราะห์และแปลความหมายของขอ้ มลู และชใี้ หน้ กั เรยี นเห็นวา่

การนาเสนอข้อมลู ดว้ ยแผนภาพจุดนน้ั ช่วยให้เห็นลักษณะสาคัญของขอ้ มลู ไดง้ า่ ยกว่าการพิจารณาข้อมูลโดยตรง

5. ครแู นะนาใหน้ กั เรยี นรู้จกั การใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการนาเสนอขอ้ มลู เกยี่ วกับอุณหภูมิสูงสุด

6. ใหน้ กั เรยี นฝกึ นาเสนอขอ้ มลู เกี่ยวกับอณุ หภมู ติ ่าสุด ดว้ ยเทคโนโลยี

16

7. ครแู ละนกั เรียนอภิปรายร่วมกนั เพื่อเปรยี บเทียบลกั ษณะของขอ้ มูลทัง้ สองแบบที่เกดิ ข้นึ

8. ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปเกี่ยวกบั ความรู้ของแผนภาพจดุ ดงั นี้

แผนภาพจุด เปน็ รปู แบบหนึง่ ของการนาเสนอขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณที่ทาไดไ้ มย่ าก โดยจะเขยี นจุดแทนขอ้ มลู แต่ละตัวไว้เหนอื

เสน้ ในแนวนอนท่มี สี เกล ให้ตรงกบั ตาแหนง่ ท่ีแสดงค่าของขอ้ มลู น้นั แผนภาพจุดช่วยใหเ้ หน็ ภาพรวมของขอ้ มูลได้อยา่ งรวดเรว็ กว่า

การพิจารณาจากข้อมลู โดยตรงโดยเฉพาะอย่างย่งิ เม่ือสนใจจะพิจารณาลกั ษณะของข้อมลู วา่ มกี ารกระจายมากนอ้ ยเพียงใด

9. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบฝกึ หัด
6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เลม่ 2

2. แบบฝกึ หัด
7. การวัดและการประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้วดั เกณฑ์การประเมนิ

1. ดา้ นความรู้ (K) แบบฝกึ หดั แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 60 ผ่าน
อ่านและแปลความหมายของขอ้ มลู ที่นาเสนอด้วย เกณฑ์

แผนภาพจุด

2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ตรวจแบบฝึกหัด ซกั ถามพรอ้ มอธบิ าย รอ้ ยละ 60
1. การใหเ้ หตุผล ผา่ นเกณฑ์

2. การสือ่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชอ่ื มโยงความร้ตู า่ งๆ ทางคณิตศาสตร์

3. ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) สงั เกตความมีวินัย แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
1. มวี ินัย คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งม่นั ใน
2. ใฝเ่ รยี นรู้ การทางาน อนั พงึ ประสงค์
3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

17

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรยี นการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นกั เรยี นจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ..................... คน

ไมผ่ ่านจดุ ประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(นางสาวธิดารัตน์ บญุ ปก)
ตาแหนง่ ครอู ัตราจา้ ง

18

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
 มีองค์ประกอบครบ
 มอี งคป์ ระกอบยังไม่ครบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชอ่ื ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 3 19

กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา
รายวชิ า ค 22102 คณติ ศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 สถิติ (2) จานวน 18 ชว่ั โมง
เวลาสอน 1 ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ เรอื่ ง แผนภาพจุด (3)

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิและใช้ความร้ทู างสถิติในการแก้ปญั หา

ตัวช้ีวัด
ค 3.1 ม.2/1 เขา้ ใจและใชค้ วามร้ทู างสถิติในการนาเสนอขอ้ มูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจดุ แผนภาพตน้ –ใบ

ฮิสโทแกรมและ คา่ กลางของขอ้ มูล และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทงั้ นาสถิตไิ ปใชใ้ นชีวติ จริงโดยใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสม
2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

แผนภาพจุด เป็นรูปแบบหนงึ่ ของการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณทีท่ าได้ไม่ยาก โดยจะเขียนจุดแทนข้อมูลแตล่ ะตัวไว้เหนือ

เส้นในแนวนอนท่ีมสี เกล ให้ตรงกับตาแหน่งทแี่ สดงค่าของข้อมูลนั้น แผนภาพจดุ ชว่ ยให้เห็นภาพรวมของข้อมูลไดอ้ ย่างรวดเร็วกว่า
การพิจารณาจากขอ้ มลู โดยตรงโดยเฉพาะอยา่ งย่งิ เมื่อสนใจจะพจิ ารณาลักษณะของขอ้ มลู วา่ มีการกระจายมากนอ้ ยเพยี งใด

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
อา่ นและแปลความหมายของข้อมลู ที่นาเสนอดว้ ยแผนภาพจดุ

ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. การใหเ้ หตุผล

2. การส่ือสาร การสื่อ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเช่ือมโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์
ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)

1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รยี นรู้

3. มุ่งม่ันในการทางาน
4. สาระการเรยี นรู

แผนภาพจดุ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ครูทบทวนการนาเสนอข้อมูลโดยแผนภาพจุด ดังนี้

แผนภาพจุด เป็นรูปแบบหนงึ่ ของการนาเสนอขอ้ มลู เชิงปรมิ าณที่ทาได้ไมย่ าก โดยจะเขยี นจดุ แทนขอ้ มูลแต่ละตัวไว้เหนือ
เส้นในแนวนอนที่มีสเกล ให้ตรงกับตาแหนง่ ทแี่ สดงคา่ ของข้อมูลนั้น แผนภาพจุดช่วยใหเ้ ห็นภาพรวมของข้อมลู ไดอ้ ยา่ งรวดเร็วกวา่
การพิจารณาจากข้อมูล โดยตรงโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เม่อื สนใจจะพจิ ารณาลักษณะของข้อมลู ว่ามีการกระจายมากน้อยเพยี งใด

2. ครทู บทวนขน้ั ตอนเพ่อื ให้นักเรยี นนาเสนอขอ้ มลู โดยใช้แผนภาพจดุ จากนน้ั ตง้ั คาถามเกยี่ วกบั แผนภาพจุดนั้น
3. ครูใหน้ กั เรยี นจบั กลุม่ เพอ่ื ศึกษาการนาเสนอข้อมูลโดยแผนภาพจุดในหนงั สอื เรียน โดยครคู อยอธิบายเพมิ่ เติมในส่วนที่

นกั เรียนไมเ่ ข้าใจ
4. ครูและนกั เรียนอภิปรายร่วมกนั เพอ่ื เปรียบเทยี บลกั ษณะของข้อมูลท้งั สองแบบทเ่ี กิดขน้ึ
5. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรปุ เกีย่ วกบั ความรขู้ องแผนภาพจดุ ดงั นี้

20

แผนภาพจุด เป็นรูปแบบหน่งึ ของการนาเสนอขอ้ มลู เชิงปริมาณท่ีทาไดไ้ ม่ยาก โดยจะเขียนจดุ แทนขอ้ มูลแต่ละตวั ไว้เหนอื

เสน้ ในแนวนอนทม่ี ีสเกล ให้ตรงกับตาแหน่งท่แี สดงค่าขอข้อมูลนัน้ แผนภาพจุดชว่ ยให้เหน็ ภาพรวมของขอ้ มลู ไดอ้ ย่างรวดเรว็ กวา่

การพิจารณาจากข้อมูลโดยตรงโดยเฉพาะอย่างย่งิ เม่อื สนใจจะพจิ ารณาลกั ษณะของขอ้ มูลวา่ มีการกระจายมากนอ้ ยเพียงใด

6. ครใู หน้ ักเรยี นทาใบงาน

6. สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สือเรียน คณติ ศาสตร์ ม.2 เลม่ 2

2. ใบงานเรื่อง แผนภาพจุด

7. การวัดและการประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมือท่ใี ชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมิน

1. ด้านความรู้ (K) ใบงาน ใบงาน รอ้ ยละ 60
อา่ นและแปลความหมายของข้อมลู ท่ีนาเสนอด้วย เรอ่ื ง แผนภาพจุด เรือ่ ง แผนภาพจุด ผ่านเกณฑ์

แผนภาพจดุ

2. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. การใหเ้ หตุผล ตรวจใบงาน ซกั ถามพร้อมอธบิ าย รอ้ ยละ 60
2. การสือ่ สาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ เร่อื ง แผนภาพจดุ ผ่านเกณฑ์

3. การเชอ่ื มโยงความรตู้ ่างๆ ทางคณติ ศาสตร์

3. ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สงั เกตความมีวนิ ัย แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
1. มวี ินยั คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน
2. ใฝ่เรียนรู้ การทางาน อนั พงึ ประสงค์
3. มุง่ มนั่ ในการทางาน

21

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน คิดเปน็ รอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรียนการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นักเรียนจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................... คน

ไม่ผา่ นจุดประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ .........................................................
(นางสาวธดิ ารตั น์ บุญปก)
ตาแหน่ง ครูอัตราจา้ ง

22

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
 มีองค์ประกอบครบ
 มอี งคป์ ระกอบยังไม่ครบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชอ่ื ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา

แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 23
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
รายวิชา ค 22102 คณติ ศาสตรพ์ นื้ ฐาน โรงเรียนโคกโพธ์ไิ ชยศกึ ษา
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 สถติ ิ (2) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
จานวน 18 ชว่ั โมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่ือง แผนภาพต้น – ใบ (1) เวลาสอน 1 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใช้ความรู้ทางสถติ ใิ นการแก้ปญั หา
ตัวชี้วัด
ค 3.1 ม.2/1 เขา้ ใจและใช้ความรทู้ างสถติ ิในการนาเสนอขอ้ มูลและวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากแผนภาพจดุ แผนภาพตน้ –ใบ

ฮสิ โทแกรมและ ค่ากลางของขอ้ มูล และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมท้ังนาสถิตไิ ปใชใ้ นชีวติ จริงโดยใช้เทคโนโลยที เี่ หมาะสม
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

แผนภาพต้น – ใบ เป็นอีกรปู แบบหน่ึงของการนาเสนอขอ้ มลู เชิงปริมาณท่มี ีการเรยี งลาดบั ขอ้ มูลและชว่ ยใหเ้ หน็ ภาพรวม
ของข้อมลู ไดร้ วดเร็วยง่ิ ข้นึ หลกั การง่าย ๆ ในการนาเสนอขอ้ มูลดว้ ยแผนภาพตน้ – ใบ คอื การแบ่งตวั เลขที่แสดงขอ้ มูลเชิงปริมาณ
ออกเป็นส่วนท่เี รียกวา่ ส่วนลาต้น และ ส่วนใบ โดยในท่นี ้ีส่วนใบจะเปน็ ตวั เลขทีอ่ ยขู่ วามอื สุดสว่ นตัวเลขท่ีเหลอื จะเป็นส่วนลาต้น
เช่น 159 จะมี 9 เปน็ สว่ นใบ และ 15 เปน็ สว่ นลาต้น
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้ (K)
วเิ คราะหข์ ้อมลู และนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น–ใบ

ด้านทักษะและกระบวนการ (P)
1. การให้เหตุผล
2. การสือ่ สาร การสื่อ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ่ รยี นรู้
3. มงุ่ มั่นในการทางาน

4. สาระการเรียนรู
แผนภาพต้น – ใบ

5. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนการนาเสนอขอ้ มูลที่นกั เรยี นเคยเรยี นมา

2. ครแู นะนาความหมายและประโยชนข์ องแผนภาพต้น–ใบ ดงั นี้

แผนภาพต้น – ใบ เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณท่ีมกี ารเรียงลาดับขอ้ มูลและช่วยให้เห็นภาพรวม
ของข้อมลู ได้รวดเร็วย่ิงขึ้น หลักการง่าย ๆ ในการนาเสนอข้อมูลดว้ ยแผนภาพตน้ – ใบ คอื การแบ่งตัวเลขท่ีแสดงข้อมูลเชงิ ปริมาณ
ออกเป็นส่วนท่ีเรียกว่า ส่วนลาต้น และ ส่วนใบ โดยในที่น้ีส่วนใบจะเป็นตัวเลขท่ีอยู่ขวามือสุดส่วนตัวเลขท่ีเหลือจะเป็นส่วนลาต้น
เช่น 159 จะมี 9 เป็นสว่ นใบ และ 15 เป็นสว่ นลาตน้

3. ครูยกตวั อยา่ งขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ เชน่ นา้ หนักของนักเรียน เพือ่ นาเสนอด้วยแผนภาพตน้ –ใบ

24
4. ครแู นะนาขนั้ ตอนเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นนาเสนอขอ้ มูลโดยใช้แผนภาพต้น–ใบ แล้วอภิปรายร่วมกบั นักเรียนเก่ยี วกบั ข้อสงั เกตใน

หนงั สอื เรยี น

5. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.1 เร่อื งแผนภาพต้น – ใบ หลงั จากนัน้ ครูสมุ่ นกั เรยี นออกมานาเสนอแผนภาพตน้ –

ใบ โดยมีครคู อยช้ีแนะและตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

6. ครแู ละนกั เรียนช่วยกันสรปุ ความหมายและประโยชน์ของแผนภาพตน้ –ใบ ดงั นี้

แผนภาพต้น – ใบ เป็นอีกรปู แบบหน่ึงของการนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณที่มีการเรียงลาดับขอ้ มูลและช่วยให้เห็นภาพรวม

ของข้อมลู ไดร้ วดเร็วย่ิงขึ้น หลักการง่าย ๆ ในการนาเสนอข้อมลู ด้วยแผนภาพตน้ – ใบ คอื การแบง่ ตัวเลขที่แสดงข้อมูลเชิงปรมิ าณ

ออกเป็นส่วนท่ีเรียกว่า ส่วนลาต้น และ ส่วนใบ โดยในที่น้ีส่วนใบจะเป็นตัวเลขท่ีอยู่ขวามือสุดส่วนตัวเลขที่เหลือจะเป็นส่วนลาต้น
เช่น 159 จะมี 9 เปน็ ส่วนใบ และ 15 เปน็ สว่ นลาต้น

7. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัด

6. ส่ือและอปุ กรณก์ ารเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
2. แบบฝึกหัด

7. การวัดและการประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั เคร่อื งมอื ท่ใี ชว้ ดั เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ดา้ นความรู้ (K) แบบฝกึ หัด แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60
วิเคราะห์ข้อมูลและนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพ ผ่านเกณฑ์

ต้น–ใบ

2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. การใหเ้ หตุผล ตรวจแบบฝกึ หัด แบบฝึกหัด รอ้ ยละ 60
2. การสื่อสาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ ผ่านเกณฑ์

3. การเช่ือมโยงความรู้ตา่ งๆ ทางคณติ ศาสตร์

3. ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) สังเกตความมีวินัย แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2
1. มีวนิ ัย คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์
2. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่น
3. มุ่งมน่ั ในการทางาน ในการทางาน อันพงึ ประสงค์

25

บนั ทกึ ผลหลังการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรยี นการสอน คดิ เปน็ ร้อยละ .........................
1. นกั เรียนจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................... คน

ไม่ผ่านจดุ ประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ขอ้ แนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ .........................................................
(นางสาวธิดารตั น์ บญุ ปก)
ตาแหนง่ ครอู ตั ราจ้าง

26

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
 มีองค์ประกอบครบ
 มอี งคป์ ระกอบยังไม่ครบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชอ่ื ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 5 27
กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
รายวิชา ค 22102 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน โรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศกึ ษา
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สถิติ (2) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2
จานวน 18 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง แผนภาพตน้ – ใบ (2) เวลาสอน 1 ช่วั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ แิ ละใชค้ วามรู้ทางสถิตใิ นการแก้ปญั หา

ตวั ชี้วดั
ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใชค้ วามร้ทู างสถติ ใิ นการนาเสนอข้อมูลและวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแผนภาพจุด แผนภาพต้น –ใบ

ฮิสโทแกรมและ คา่ กลางของข้อมลู และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทัง้ นาสถติ ิไปใชใ้ นชวี ิตจริงโดยใชเ้ ทคโนโลยที ่ีเหมาะสม
2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

แผนภาพตน้ – ใบ เปน็ อกี รปู แบบหนง่ึ ของการนาเสนอขอ้ มูลเชงิ ปริมาณท่มี ีการเรยี งลาดบั ข้อมูลและชว่ ยให้เหน็ ภาพรวม

ของขอ้ มลู ไดร้ วดเรว็ ยิ่งขน้ึ หลักการง่าย ๆ ในการนาเสนอข้อมูลด้วยแผนภาพต้น – ใบ คอื การแบ่งตัวเลขท่ีแสดงข้อมูลเชงิ ปรมิ าณ
ออกเปน็ ส่วนท่เี รียกวา่ ส่วนลาต้น และ ส่วนใบ โดยในท่นี ้สี ว่ นใบจะเปน็ ตัวเลขท่อี ย่ขู วามือสุดส่วนตัวเลขท่ีเหลือจะเป็นสว่ นลาต้น

เชน่ 159 จะมี 9 เป็นสว่ นใบ และ 15 เป็นส่วนลาตน้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)

อา่ นและแปลความหมายของข้อมลู ท่ีนาเสนอดว้ ยแผนภาพตน้ –ใบ
ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P)

1. การใหเ้ หตุผล
2. การส่ือสาร การสือ่ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเช่อื มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์

ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1. มวี นิ ยั

2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ มั่นในการทางาน
4. สาระการเรยี นรู

แผนภาพตน้ – ใบ
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากชว่ั โมงท่ีผ่านมาโดยร่วมกันอภปิ รายเรื่องแผนภาพต้น-ใบ จนได้ขอ้ สรุปดังน้ี แผนภาพต้น-ใบ
(stem-and-leaf plot) เป็นอกี รูปแบบหน่ึงของการนาเสนอข้อมลู เชิงปริมาณท่ีมีการเรียงลาดบั ข้อมูลและชว่ ยให้เห็นภาพรวมของ
ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วย่ิงขึ้น หลักการง่ายๆในการนาเสนอ้อมูลด้วยแผนภาพต้น-ใบ คือการแบ่งตัวเลขท่ีแสดงข้อมูลเชิงปริมาณ

ออกเปน็ สอส่วนทีเ่ รยี กวา่ ส่วนลาตน้ และสว่ นใบ โดยในทีน่ ส้ี ่วนใบจะเป็นตวั เลขที่อยู่ขวาสุด สว่ นตวั เลขที่เหลอื จะเป็นสว่ นลาต้น
2. ครูยกตวั อยา่ งแผนภาพต้น–ใบ แล้วตัง้ คาถามเกี่ยวกบั แผนภาพตน้ –ใบนน้ั เพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนในเร่อื ง

การอ่าน วเิ คราะห์และแปลความหมายของขอ้ มูล และชีใ้ ห้นักเรียนเหน็ วา่ การนาเสนอขอ้ มลู ดว้ ยแผนภาพตน้ –ใบนัน้ ช่วยให้สามารถ
เหน็ ลักษณะสาคญั ของขอ้ มลู ไดง้ ่ายกว่าการพจิ ารณาขอ้ มลู โดยตรง

28
ตวั อยา่ ง

ผจู้ ัดนิทรรศการแห่งหนง่ึ สารวจอายุของผเู้ ข้าชมนิทรรศการพบวา่ อายุของผ้เู ข้าชมนิทรรศการ30แรกท่ีมาร่วมงานเปน็ ดงั นี้
12 , 11 , 22 , 32 , 35 , 45 , 46 , 14 , 16 , 33 , 30 ,41 , 7 , 9 , 25
8 , 51 , 43 , 18 , 17 , 19 , 32 , 34 ,18 , 22 , 24 , 56 , 56 , 61,13

สรา้ งแผนภาพต้น -ใบ ของอายผุ เู้ ขา้ ชมนิทรรศการได้ดงั น้ี
ครสู มุ่ นักเรียนออกมาเขียนแผนภาพตน้ -ใบชว่ ยกัน

จากขอ้ มลู ท่ีกาหนดให้เขยี นแผนภาพตน้ -ใบได้ดังนี้

0 789
1 123467889
2 2245
3 022345
4 1356
5 166
61

6. ครแู ละนักเรียนชว่ ยกนั สรุปความหมายและประโยชน์ของแผนภาพต้น–ใบ

7. ครแู จกใบกิจกรรมเรอ่ื ง แผนภาพตน้ -ใบ ให้นกั เรยี นรายบุคคลทาและร่วมกนั เฉลย

6. ส่อื และอปุ กรณก์ ารเรียนรู้

1. หนงั สอื เรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
2. ใบงาน เรือ่ ง แผนภาพต้น–ใบ
7. การวดั และการประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่ืองมือท่ีใช้วดั เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 60
1. ด้านความรู้ (K) ใบงาน ใบงาน ผา่ นเกณฑ์
อ่านและแปลความหมายของขอ้ มูลท่ี เรอ่ื ง แผนภาพตน้ –ใบ เร่อื ง แผนภาพตน้ –ใบ
ร้อยละ 60
นาเสนอด้วยแผนภาพตน้ –ใบ ผ่านเกณฑ์

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ระดบั คณุ ภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
1. การให้เหตุผล ตรวจใบงาน ซกั ถามพร้อมอธบิ าย
2. การสอ่ื สาร การสือ่ ความหมาย และการ เรอ่ื ง แผนภาพตน้ –ใบ
นาเสนอ

3. การเช่อื มโยงความรูต้ ่างๆ ทางคณิตศาสตร์

3. ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) สังเกตความมีวนิ ยั แบบประเมิน
1. มีวินยั คณุ ลักษณะ
ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งมน่ั ในการ
2. ใฝ่เรียนรู้ ทางาน อนั พงึ ประสงค์
3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

29

บนั ทกึ ผลหลังการสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ .........................
สรปุ ผลการเรยี นการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นกั เรยี นจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ..................... คน

ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรคู้ วามเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ด้านทักษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(นางสาวธิดารตั น์ บุญปก)
ตาแหนง่ ครอู ตั ราจ้าง

30

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
 มีองคป์ ระกอบครบ
 มอี งค์ประกอบยงั ไมค่ รบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชือ่ ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 6 31
กล่มุ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
รายวิชา ค 22102 คณติ ศาสตร์พ้ืนฐาน โรงเรยี นโคกโพธ์ิไชยศกึ ษา
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 สถติ ิ (2) ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2
จานวน 18 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรยี นรู้ เรือ่ ง แผนภาพต้น – ใบ (3) เวลาสอน 1 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใชค้ วามรู้ทางสถิติในการแก้ปัญหา
ตัวช้ีวดั
ค 3.1 ม.2/1 เขา้ ใจและใชค้ วามรทู้ างสถติ ิในการนาเสนอขอ้ มูลและวิเคราะห์ข้อมลู จากแผนภาพจุด แผนภาพต้น –ใบ

ฮสิ โทแกรมและ ค่ากลางของขอ้ มลู และแปลความหมายผลลัพธ์ รวมทงั้ นาสถิติไปใชใ้ นชีวิตจรงิ โดยใช้เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม
2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

แผนภาพตน้ – ใบ เปน็ อีกรูปแบบหนึง่ ของการนาเสนอขอ้ มูลเชงิ ปริมาณทีม่ ีการเรยี งลาดับข้อมูลและช่วยให้เหน็ ภาพรวม
ของข้อมลู ไดร้ วดเร็วยงิ่ ขึ้น หลกั การงา่ ย ๆ ในการนาเสนอข้อมูลดว้ ยแผนภาพต้น – ใบ คอื การแบ่งตวั เลขท่ีแสดงขอ้ มูลเชงิ ปรมิ าณ
ออกเปน็ สว่ นที่เรียกวา่ สว่ นลาตน้ และ ส่วนใบ โดยในที่น้ีสว่ นใบจะเป็นตัวเลขท่อี ยขู่ วามือสุดสว่ นตัวเลขทีเ่ หลอื จะเป็นสว่ นลาต้น
เชน่ 159 จะมี 9 เป็นส่วนใบ และ 15 เปน็ สว่ นลาต้น
3. จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)
อา่ นและแปลความหมายของข้อมลู ท่ีนาเสนอดว้ ยแผนภาพต้น–ใบ

ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P)
1. การใหเ้ หตุผล
2. การสื่อสาร การสื่อ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชอ่ื มโยงความรูต้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทางาน

4. สาระการเรยี นรู
แผนภาพตน้ – ใบ

5. กระบวนการจัดการเรยี นรู้
1. ครูทบทวนความรู้เดิมจากเรียนผ่านมาโดยร่วมกันอภิปรายเรื่องแผนภาพต้น-ใบ และถาม-ตอบร่วมนักเรียนเก่ียวกับ

เน้ือหาทเ่ี รยี นผ่านมาแลว้

2. ครยู กตวั อยา่ งข้อมูลทเ่ี ปน็ ทศนยิ มแล้วอภปิ รายร่วมกันกบั นกั เรยี นเกยี่ วกับการนาเสนอข้อมลู น้ีด้วยแผนภาพ ตน้ –ใบ

3. จากตวั อยา่ งในขอ้ ท่ี 2 ครูและนักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ยี วกับการเขียนตวั เลขในส่วนลาตน้ และส่วนใบเมอ่ื ไม่ปรากฏ

ข้อมลู ในสว่ นใบ จากข้อสังเกต ในหนังสอื เรียน หน้า 22 แลว้ ชีป้ ระเด็ดใหน้ กั เรยี นเห็นว่าแผนภาพต้น - ใบนยิ มใช้นาเสนอขอ้ มูลที่

เปน็ จานวนเตม็ บวกและศนู ย์

32
4. ครูยกตวั อย่างการนาเสนอแผนภาพต้น – ใบ แล้วต้งั คาถามเกีย่ วกบั แผนภาพตน้ – ใบ นั้น เพอื่ ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ของนักเรียนในเรื่องการอา่ น วิเคราะห์ละแปลความหมายของขอ้ มูล

5. ครชู ้ใี ห้นกั เรยี นเห็นวา่ การนาเสนอข้อมลู ดว้ ยแผนภาพ ตน้ –ใบ น้นั ชว่ ยให้สามารถเหน็ ลกั ษณะสาคญั ของข้อมลู ไดง้ า่ ย

กว่าการพิจารณาขอ้ มูลโดยตรง
6. ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ เกีย่ วกับเนื้อหาแผนภาพต้น–ใบ

7. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงาน เรอ่ื งแผนภาพตน้ -ใบ

6. สอ่ื และอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้

1. หนงั สือเรียน คณติ ศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
2. ใบงาน เร่ือง แผนภาพตน้ –ใบ

7. การวดั และการประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมอื ทใ่ี ชว้ ัด เกณฑ์การประเมิน

1. ด้านความรู้ (K) ใบงานเรอื่ ง ใบงานเร่อื ง ร้อยละ 60
อ่านและแปลความหมายของขอ้ มูลทนี่ าเสนอด้วย แผนภาพตน้ –ใบ แผนภาพตน้ –ใบ ผา่ นเกณฑ์

แผนภาพต้น–ใบ

2. ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

1. การให้เหตุผล ตรวจใบงาน ใบงานเร่ือง ร้อยละ 60
แผนภาพตน้ –ใบ ผา่ นเกณฑ์
2. การสือ่ สาร การส่อื ความหมาย และการนาเสนอ เรอื่ ง แผนภาพต้น–ใบ

3. การเชอื่ มโยงความรตู้ า่ งๆ ทางคณิตศาสตร์

3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) สังเกตความมีวนิ ยั แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
1. มวี นิ ยั คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์
2. ใฝเ่ รยี นรู้ ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมัน่ ใน
การทางาน อันพึงประสงค์
3. มุง่ มัน่ ในการทางาน

33

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน คดิ เป็นรอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรยี นการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นกั เรยี นจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ..................... คน

ไมผ่ า่ นจดุ ประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเข้าใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื .........................................................
(นางสาวธิดารตั น์ บญุ ปก)
ตาแหน่ง ครอู ตั ราจา้ ง

34

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่
 มีองค์ประกอบครบ
 มอี งคป์ ระกอบยังไม่ครบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั มาใชใ้ นการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ที่

 นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ
 ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชือ่ ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 35
กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
รายวชิ า ค 22102 คณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน โรงเรยี นโคกโพธิ์ไชยศกึ ษา
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 สถิติ (2) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2
จานวน 18 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง แผนภาพต้น – ใบ (4) เวลาสอน 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิและใชค้ วามรทู้ างสถติ ใิ นการแกป้ ญั หา

ตัวชี้วัด
ค 3.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้ความร้ทู างสถติ ิในการนาเสนอข้อมลู และวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแผนภาพจดุ แผนภาพต้น –ใบ

ฮสิ โทแกรมและ คา่ กลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมทงั้ นาสถติ ิไปใช้ในชวี ติ จริงโดยใช้เทคโนโลยที ี่เหมาะสม
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

แผนภาพตน้ – ใบ เป็นอกี รปู แบบหนงึ่ ของการนาเสนอขอ้ มูลเชิงปรมิ าณท่ีมกี ารเรยี งลาดับขอ้ มูลและช่วยให้เห็นภาพรวม

ของข้อมลู ได้รวดเรว็ ยิง่ ขึ้น หลักการง่าย ๆ ในการนาเสนอข้อมลู ดว้ ยแผนภาพตน้ – ใบ คือการแบง่ ตวั เลขท่ีแสดงขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ
ออกเปน็ สว่ นที่เรยี กวา่ สว่ นลาต้น และ ส่วนใบ โดยในทนี่ ้ีสว่ นใบจะเป็นตวั เลขท่อี ย่ขู วามอื สุดสว่ นตัวเลขทเี่ หลอื จะเปน็ สว่ นลาต้น

เช่น 159 จะมี 9 เปน็ สว่ นใบ และ 15 เป็นสว่ นลาต้น
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ (K)

อ่านและแปลความหมายของข้อมูลทีน่ าเสนอด้วยแผนภาพตน้ –ใบ
ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ (P)

1. การใหเ้ หตุผล
2. การสือ่ สาร การสื่อ ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์

ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1. มีวนิ ัย

2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุ่งม่นั ในการทางาน
4. สาระการเรยี นรู

แผนภาพต้น – ใบ
5. กระบวนการจัดการเรียนรู้

1. ครูทบทวนความร้เู ดมิ จากเรยี นผ่านมาโดยร่วมกันอภิปรายเรื่องแผนภาพต้น-ใบ และถาม-ตอบร่วมนักเรียนเก่ียวกับ
เนอ้ื หาท่ีเรยี นผ่านมาแลว้

2. ครูใหน้ กั เรียนจับกลมุ่ กลุ่มละ 3 – 4 เพ่ือให้นกั เรยี นศกึ ษาตัวอยา่ งในหนงั สอื เรียน โดยมีครคู อยใหค้ าแนะนา และ

อธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในสว่ นท่นี ักเรียนไมเ่ ข้าใจ
3. ครูให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ทากิจกรรม อวบอว้ น ผอมเพรยี ว โฉบเฉี่ยวหุ่นดี ในหนงั สือเรยี น

4. ครูส่มุ ตัวแทนแต่ละกล่มุ ออกมานาเสนอผลของการดาเนนิ กิจกรรมในหนังสือเรยี น โดยทกุ กล่มุ จะได้นาเสนอผลงาน
6. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเก่ียวกบั เนอื้ หาทีเ่ รยี นในเร่อื งแผนภาพตน้ –ใบ แลว้ ใหน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดในหนังสือเรียน

36

6. สอ่ื และอปุ กรณก์ ารเรียนรู้ วิธีการวดั เคร่อื งมอื ทใ่ี ชว้ ัด เกณฑก์ ารประเมิน
1. หนงั สอื เรียน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 แบบฝกึ หัด แบบฝกึ หัด
2. แบบฝึกหัดเรอื่ ง แผนภาพต้น–ใบ ร้อยละ 60
ตรวจแบบฝกึ หัด ผา่ นเกณฑ์
3. กิจกรรมอวบอ้วน ผอมเพรียว โฉบเฉ่ยี วหนุ่ ดี
7. การวัดและการประเมนิ ผล สังเกตความมวี ินัย ซักถามพร้อมอธบิ าย รอ้ ยละ 60
ใฝ่เรยี นรู้ และมุ่งมั่น ผ่านเกณฑ์
จุดประสงค์การเรยี นรู้
ในการทางาน แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2
1. ด้านความรู้ (K) คณุ ลกั ษณะ ผา่ นเกณฑ์
อา่ นและแปลความหมายของขอ้ มูลทน่ี าเสนอด้วย
อนั พงึ ประสงค์
แผนภาพตน้ –ใบ

2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)
1. การใหเ้ หตุผล
2. การสื่อสาร การสอ่ื ความหมาย และการนาเสนอ
3. การเชอ่ื มโยงความรู้ต่างๆ ทางคณติ ศาสตร์

3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. มีวนิ ัย
2. ใฝ่เรียนรู้
3. มุง่ ม่ันในการทางาน

37

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน คิดเปน็ รอ้ ยละ .........................
สรุปผลการเรียนการสอน คิดเป็นรอ้ ยละ .........................
1. นักเรียนจานวน ..................... คน
ผ่านจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ..................... คน

ไม่ผา่ นจุดประสงค์ .................................. คน

2. ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………

3. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………

4. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………….………………………….…………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………

ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข

………………………………………………………………………………………………………………….……………………………………….…………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

ข้อแนะนา
………………………………………….……………………………………………………………………………………………………………….…………………
………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………

ลงช่ือ .........................................................
(นางสาวธิดารัตน์ บุญปก)
ตาแหน่ง ครูอัตราจ้าง

38

ความเห็นของหวั หนา้ สถานศกึ ษา/ผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมาย

ได้จดั ทาการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ................ รายวชิ าคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน (ค22102)
แล้วมีความคิดเห็นดงั นี้

1. เปน็ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี
 มีองคป์ ระกอบครบ
 มอี งค์ประกอบยงั ไมค่ รบ ควรเพมิ่ เตมิ ..................................................................................................................

2. การจัดกิจกรรมได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้
 เน้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั มาใช้ในการสอนได้อยา่ งเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

3. เปน็ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่

 นาไปใชไ้ ดจ้ ริง
 ควรปรบั ปรงุ ก่อนนาไปใช้

4. ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………….…………………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
………………………….…………………………………………………………………………………………………………….……………………………………

ลงชือ่ ..............................................................
(นางลดั ดา ผาพนั ธ)์

ผู้อานวยการโรงเรียนโคกโพธไ์ิ ชยศึกษา

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8 39

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรยี นโคกโพธไิ์ ชยศึกษา
รายวิชา ค 22102 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 สถติ ิ (2) จานวน 18 ชว่ั โมง
เวลาสอน 1 ชว่ั โมง
แผนการจดั การเรยี นรู้ เรอื่ ง ฮสิ โทแกรม (1)

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิตแิ ละใช้ความร้ทู างสถิติในการแกป้ ญั หา

ตัวช้ีวดั
ค 3.1 ม.2/1 เขา้ ใจและใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอขอ้ มูลและวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากแผนภาพจุด แผนภาพตน้ –ใบ

ฮิสโทแกรมและ ค่ากลางของข้อมูล และแปลความหมายผลลพั ธ์ รวมท้งั นาสถิติไปใช้ในชีวติ จรงิ โดยใชเ้ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม
2. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

ฮิตโทแกรม (histogram) มีลักษณะคล้ายแผนภูมิแท่งส่ีเหล่ียมมุมฉากแสดความถ่ีหรือความถ่ีสัมพัทธ์ของข้อมูลเชิง