ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ pdf

�������� �������������������.indd 1 11/23/19 1:37 PM

เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ รหัสวิชา ๔๐๒ ๓๐๑
(Introduction to Public Administration)

จัดท�าโดย พระมหาประกาศิต สิริเมโธ(ฐิติปสิทธิกร),ดร.
ป.ธ.๘, พธ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๑), พธ.ม.(การพัฒนาสังคม), พธ.ด.(การพัฒนาสังคม)
อาจารย์ประจ�ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขิง พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม

ISBN 978-616-565-174-5

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณากลั่นกรอง (Peer Review)
๑. รศ.ดร.ธัชนันท์ อิศรเดช มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒. ผศ.ดร.ภูริวัจน์ ปุณยวุฒิปรีดา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๓. ผศ.ดร.สมปอง สุวรรณภูมา มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ
พิสูจน์อักษร อาจารย์สัญญา สดประเสริฐ, นางสาวเครือวัลย์ โพธิ์ทองค�า
ออกแบบ พระมหาประเสริฐ รชฺชปุญฺโญ(อุตรา)
จัดพิมพ์โดย วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี
วัดไร่ขิง พระอารามหลวง เลขที่ ๕๑ หมู่ที่ ๒ ต�าบลไร่ขิง อ�าเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม โทรศัพท์/โทรสาร ๐๓๔-๓๒๖๙๑๒ WWW.RK.MCU.AC.TH
ลิขสิทธิ์ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
ห้ามลอกเลียนแบบหรือท�าการคัดลอกใด ๆ ทั้งสิ้น
เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้จัดท�าเป็นลายลักษณ์อักษรแล้วเท่านั้น

พิมพ์ครั้งที่ ๑ (๒๐ มกราคม ๒๕๖๑) จ�านวน ๑๐๐ เล่ม
ราคา ๒๐๐ บาท

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ

พิมพ์ที่
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๙๗ หมู่ ๑ ต.ล�าไทร อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา ๑๓๑๗๐
โทรศัพท์ ๐๓๕ ๒๔๘ ๐๐๐ ต่อ ๘๗๗๙ http://pbs.mcu.ac.th/

�������� �������������������.indd 2 11/23/19 1:37 PM

(๑)

คํานํา

เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์ (๔๐๒ ๓๐๑)
(Introduction to Public Administration) เล่มนี้ มีจุดประสงค์เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน
ระดับปริญญาตรี ในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวด ี
ผู้เรียบเรียงได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร และวารสารภายในประเทศ และต่างประเทศ ประกอบกับ

ประสบการณ์สอนในรายวิชา

เพ่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในรายวิชา จึงได้แบ่งเน้อหาของเอกสารประกอบการสอน

นี้ออกเป็น ๑๐ บท คือ
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

บทที่ ๒ ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

บทที่ ๓ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
บทที่ ๔ การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย
บทที่ ๕ รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารและการพัฒนา

บทที่ ๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารและการเมือง
บทที่ ๗ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ

บทที่ ๘ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผน
บทที่ ๙ การวางแผนและการควบคุมงานบริหาร

บทที่ ๑๐ การจัดการภาครัฐแนวใหม่


ในการจัดท�าและเรียบเรียงเอกสารประกอบการสอนคร้งน้ ส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี ต้องขอ
ขอบพระคุณคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยสงฆ์ ตลอดถึงผู้ที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนให้ค�า
แนะน�าและค�าปรึกษาในเนื้อหาหัวข้อต่าง ๆ เป็นอย่างดียิ่ง หากจะมีข้อความและเนื้อหาส่วนใดผิด
พลาดคลาดเคลื่อนไปบ้าง ถ้าท่านผู้อ่านจะได้กรุณาชี้ข้อบกพร่องและข้อผิดพลาดต่าง ๆ ให้ทราบ
ก็ยินดีเป็นอย่างยิ่งพร้อมที่จะแก้ไข เพื่อจะได้ปรับปรุงในโอกาสต่อไป

พระมหาประกาศิต สิริเมโธ,ดร.
อาจารย์ประจ�าวิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี

รวบรวม/ เรียบเรียง ๒๕๖๑

�������� �������������������.indd 3 11/23/19 1:37 PM

(๒)

สารบัญ

หน้า
ค�าน�า ๑
สารบัญ ๒

สารบัญตาราง ๗
สารบัญภาพ ๗

แผนบริหารการสอน ๘
แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๑ ๑

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ ๓
๑.๑ ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ ๓
๑.๒ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ “รัฐประศาสนศาสตร์” ๘

๑.๓ สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ ๑๒
๑.๔ รัฐประศาสนศาตร์กับการบริหารธุรกิจ ๑๖
๑.๕ ขอบข่ายการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ๑๘

สรุปท้ายบท ๒๓
ค�าถามท้ายบทที่ ๑ ๒๔

เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๒๕

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๒ ๒๗
บทที่ ๒ ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ๒๙

๒.๑ ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ ๓๐
๒.๒ มุมมองของรัฐประศาสนศาสตร์ ๓๒
๒.๓ เนื้อหาวิชาของรัฐประศาสนศาสตร์ ๔๓

สรุปท้ายบท ๔๖
ค�าถามท้ายบทที่ ๒ ๔๘
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๔๙

�������� �������������������.indd 4 11/23/19 1:37 PM

(๓)

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๓ ๕๑

บทที่ ๓ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ๕๓
๓.๑ ความหมายของทฤษฎี ๕๓
๓.๒ ประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ๕๔

๓.๓ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗ - ๑๙๕๐ ๕๖

๓.๔ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ ๖๗
๓.๕ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่

ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๖๐ - ๑๙๗๐ ๗๖
๓.๖ แนวคิดทฤษฏีทางรัฐประสาสนศาสตร์สมัยใหม่
ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๐ - ปัจจุบัน ๗๘

สรุปท้ายบท ๘๓
ค�าถามท้ายบทที่ ๓ ๘๔
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๘๕

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๔ ๘๗

บทที่ ๔ การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ๘๙
๔.๑ การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ๘๙
๔.๒ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ๙๑

๔.๓ วิธีสอนรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ๑๐๐
๔.๔ คุณลักษณะของนักศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

ที่พึงประสงค์ ๑๐๓
๔.๕ เป้าหมายของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ยุคใหม่ ๑๐๗
สรุปท้ายบท ๑๐๙

ค�าถามท้ายบทที่ ๔ ๑๑๐
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๑๑๑

�������� �������������������.indd 5 11/23/19 1:37 PM

(๔)

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๕ ๑๑๓
บทที่ ๕ รัฐประศาสนศาสตร์กับการบริหารและการพัฒนา ๑๑๕
๕.๑ แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาการเมืองในต่างประเทศ ๑๑๗

๕.๒ แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาการเมืองในประเทศไทย ๑๒๘
๕.๓ การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ ๑๓๒
๕.๔ การบริหารและการพัฒนา ๑๓๗

สรุปท้ายบท ๑๔๗
ค�าถามท้ายบทที่ ๕ ๑๔๘
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๑๔๙

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๖ ๑๕๑

บทที่ ๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารและการเมือง ๑๕๓
๖.๑ แนวทางการศึกษาของนักรัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหาร และการเมือง ๑๕๕

๖.๒ แนวคิดการบริหารแยกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด ๑๕๕
๖.๓ แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารคือการเมือง ๑๖๑

๖.๔ โครงสร้างและบทบาท อ�านาจหน้าที่ของระบบการเมืองและ
ระบบบริหาร ๑๖๔
สรุปท้ายบท ๑๗๘

ค�าถามท้ายบทที่ ๖ ๑๗๙
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๑๘๐

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๗ ๑๘๑
บทที่ ๗ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะ ๑๘๓
๗.๑ ความหมายของนโยบายสาธารณะ ๑๘๓

๗.๒ ความส�าคัญของนโยบายสาธารณะ ๑๘๖
๗.๓ ขอบข่ายของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ ๑๘๗

๗.๔ กระบวนการนโยบายสาธารณะ ๑๙๐
๗.๕ ประเภทของนโยบายสาธารณะ ๑๙๒
๗.๖ จุดเริ่มต้นของการศึกษานโยบายสาธารณะ ๑๙๔

�������� �������������������.indd 6 11/23/19 1:37 PM

(๕)

๗.๗ การศึกษานโยบายสาธารณะในยุคหลัง ๑๙๖
๗.๘ สถาบันที่มีบทบาทก�าหนดนโยบายสาธารณะในประเทศไทย ๑๙๙

๗.๙ มิติการมองนโยบายสาธารณะ ๑๙๙
๗.๑๐ ตัวแบบของการวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ ๒๐๒
สรุปท้ายบท ๒๐๙

ค�าถามท้ายบทที่ ๗ ๒๑๐
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๒๑๑

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๘ ๒๑๓
บทที่ ๘ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวางแผน ๒๑๕

๘.๑ ความหมายของการวางแผน ๒๑๕
๘.๒ ความส�าคัญของการวางแผน ๒๑๗
๘.๓ การวางแผนกับการบริหารเวลา ๒๑๙

๘.๔ ประเภทของการวางแผน ๒๒๑
๘.๕ กระบวนการวางแผน ๒๒๒
๘.๖ ประโยชน์ของการวางแผน ๒๒๔

๘.๗ ปัญหาในการวางแผนกับเทคนิคการปรับปรุงแผนงาน
และโครงการ ๒๒๕

๘.๘ ประเภทของแผน ๒๒๗
๘.๙ วิธีการวางแผน ๒๓๐
๘.๑๐ เครื่องมือในการวางแผน ๒๓๒

สรุปท้ายบท ๒๓๕
ค�าถามท้ายบทที่ ๘ ๒๓๖

เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๒๓๗

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๙ ๒๓๙

บทที่ ๙ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการวางแผนและควบคุมงานบริหาร ๒๔๑
๙.๑ ความหมาย ความส�าคัญของการวางแผนและควบคุมงานบริหาร ๒๔๑
๙.๒ โครงสร้างการวางแผน ๒๕๒

๙.๓ โครงสร้างการควบคุมงานบริหาร ๒๕๔

�������� �������������������.indd 7 11/23/19 1:37 PM

(๖)

สรุปท้ายบท ๒๖๑

ค�าถามท้ายบทที่ ๙ ๒๖๒
เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๒๖๓

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๑๐ ๒๖๕
บทที่ ๑๐ การจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๖๗

๑๐.๑ จุดเริ่มต้นของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๖๗
๑๐.๒ ข้อเสนอในการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๖๘
๑๐.๓ การเปลี่ยนแปลงตามแนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๗๒

๑๐.๔ ทฤษฎีของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๗๗
๑๐.๕ การแพร่กระจายของการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๗๙

๑๐.๖ ข้อวิพากษ์ที่มีต่อการจัดการภาครัฐแนวใหม่ ๒๘๐
สรุปท้ายบท ๒๘๒
ค�าถามท้ายบทที่ ๑๐ ๒๘๓

เอกสารอ้างอิงประจ�าบท ๒๘๔

ประวัติผู้เขียน ๒๘๕

�������� �������������������.indd 8 11/23/19 1:37 PM

(๗)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

๓.๑ เปรียบเทียบลักษณะของคนตามทฤษฎี X และทฤษฎี Y ๗๓
๔.๑ หลักสูตรปริญญาตรีทางรัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย ๙๓
๔.๒ เปรียบเทียบหลักสูตรปริญญาโททางรัฐประศาสนศาสตร์ของสถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๙๘

สารบัญภาพ

แผนภาพที่ หน้า
๖.๑ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างฝายบริหารและฝายการเมือง ตามแนวคิด
การบริหารแยกจากการเมือง ๑๖๕

๖.๒ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างฝายบริหารและฝายการเมือง
ตามแนวคิดของการบริหารคือการเมือง ๑๖๖
๙.๑ โครงสร้างองค์การจากหลักขอบข่ายการควบคุมอย่างแคบ ๒๕๒

�������� �������������������.indd 9 11/23/19 1:37 PM

(๘)

แผนบริหารการสอน
รายวิชา “ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์”
(Introduction to Public Administration)

หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขิง พระอารามหลวง
จังหวัดนครปฐม

คณะ : คณะสังคมศาสตร์
หลักสูตร/สาขาวิชา : รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
๑. รหัสและชื่อรายวิชา
(๔๐๒ ๓๐๑) ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

(Introduction to Public Administration)

๒. จ�านวนหน่วยกิต
๓ หน่วยกิต ๓ (๑-๒-๖)

๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาแกนทางรัฐประศาสนศาสตร์

๔. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

พระมหาประกาศิต สิริเมโธ(ฐิติปสิทธิกร),ดร.
ป.ธ.๘, พธ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๑),พธ.ม.(การพัฒนาสังคม),พธ.ด.(การพัฒนาสังคม)

๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๑/๒๕๖๑ ชั้นปีที่ ๒

๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

ไม่มี
๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
ไม่มี

๘. สถานที่เรียน

วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขิง พระอารามหลวง นครปฐม
๙. วันที่จัดท�าหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด


สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบ ในคราวประชุมครั้งท ๘/๒๕๕๙ เม่อ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๙

�������� �������������������.indd 10 11/23/19 1:37 PM

(๙)

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา


เพ่อให้นักศึกษามีความร ความเข้าใจเก่ยวกับ ขอบข่าย สถานภาพ แนวทางการศึกษา

ู้
ทิศทาง และวิวัฒนาการของรัฐประศาสนศาสตร์
๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
- เพื่อให้เข้าใจถึงทฤษฎี แนวความคิด พัฒนาการ สถานภาพ และแนวโน้ม ตลอดจน
ระเบียบวิธีการศึกษาและวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ และการบริหาร
การพัฒนา

- เพ่อให้เข้าใจจุดมุ่งหมาย ขอบเขต และแนวศึกษาเปรียบเทียบทางรัฐประศาสนศาสตร์
ทั้งในอดีตและปัจจุบัน

- เพื่อให้สามารถอธิบายแนวคิด จุดมุ่งหมาย ขอบเขตและวิธีการบริหารการพัฒนาใน
ระดับต่างๆ ทั้งมหภาคและจุลภาค

หมวดที่ ๓ ลักษณะการด�าเนินการ

๑. ค�าอธิบายรายวิชา

ความหมาย ขอบข่าย สถานภาพ แนวทางการศึกษา ทิศทาง และวิวัฒนาการของ
รัฐประศาสนศาสตร์ สภาพแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจ กระบวนการบริหาร ความ
สัมพันธ์ระหว่างระบบการบริหาร ระบบการเมือง และระบบสังคม โดยเน้นคุณธรรม
จริยธรรมทางการบริหาร

๒. จ�านวนชั่วโมงที่ใช้/ภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง

ภาคสนาม/การฝึกงาน

๔๕ ชั่วโมง สอนเสริมตามความ ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน ๙๐ ชั่วโมง
ต่อภาคการศึกษา ต้องการของนักศึกษา ภาคสนาม ต่อภาคการศึกษา
(๓ ช่วโมง x ๑๕ สัปดาห์) เฉพาะราย (๖ ช่วโมง x ๑๕ สัปดาห์)




๓. จานวนช่วโมงต่อสัปดาห์ท่อาจารย์จะให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล



- อาจารย์ประจ�ารายวิชาจัดเวลาให้ค�าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความ
ต้องการ ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

�������� �������������������.indd 11 11/23/19 1:37 PM

(๑๐)

หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

๑. คุณธรรม จริยธรรม
๑.๑ คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

- สามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรมและความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ท่ได้รับกับ
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
- มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
- มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา
- มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่น รวมท้งเคารพในคุณค่าและศักด์ศรีของความ



เป็นมนุษย์
๑.๒ วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางรัฐประศาสนศาสตร์










- ใหนักศึกษาคนควาทารายงานเกยวกับการนาความรทางรัฐประศานศาสตร์มาใชในการบรหาร


จัดการพร้อมทั้งอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
๑.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน
- ประเมินจากพฤติกรรมการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- ประเมินจากเอกสารอ้างอิงท่ได้นามาทารายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม



- ประเมินผลการวิเคราะห์และอภิปรายร่วมกันในช้นเรียน
๒. ความรู้

๒.๑ ความรู้ท่ต้องได้รับ

- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงทฤษฎ แนวความคิด พัฒนาการสถานภาพ และวิวัฒนาการ
ของรัฐประศาสนศาสตร์
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงสภาพแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจกระบวนการบริหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบการบริหาร ระบบการเมือง และระบบสังคม โดยเน้นคุณธรรม
จริยธรรมทางการบริหาร
๒.๒ วิธีการสอน
- บรรยายและให้ทาแบบฝึกหัด


- ให้นักศึกษาค้นคว้าทารายงานพร้อมท้งอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
๒.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบกลางภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดด้วย
หลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากการทารายงานและอภิปรายร่วมกันในช้นเรียน

�������� �������������������.indd 12 11/23/19 1:37 PM

(๑๑)

๓. ทักษะทางปัญญา
๓.๑ ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติไปสู่การอธิบายได้
- สามารถพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์เพื่อการป้องกัน
และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการบริการอย่างสร้างสรรค์

๓.๒ วิธีการสอน
- การมอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าท�ารายงานด้วยตนเองและน�าเสนอผลการศึกษา
- อภิปรายกลุ่ม

๓.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากการทารายงาน

- ประเมินจากการอภิปรายร่วมช้นในช้นเรียน


๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
๔.๑ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบท่ต้องพัฒนา

- สามารถพัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน

- สามารถพัฒนาความเป็นผู้นาและผู้ตามในการทางานเป็นทีม


- สามารถพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผิดชอบในงานท่มอบหมายให้ครบถ้วน
ตามกาหนดเวลา

๔.๒ วิธีการสอน
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
- สอดแทรกประสบการณ์และเหตุการณ์จริงท่เกิดข้นในระหว่างการเรียนการสอน


๔.๓ วิธีการประเมิน

- ประเมินจากการอภิปรายร่วมกันในช้นเรียน

- ประเมินจากการเข้าเรียนและพฤติกรรมในช้นเรียนของนักศึกษา ความรับผิดชอบ

- ประเมินจากความตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงานท่ได้รับมอบหมาย

- ประเมินจากคาตอบข้อสอบเชิงวิเคราะห์ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๕.๑ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ต้องพัฒนา


- นักศึกษาสามารถใช้ทักษะในการส่อสารท้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียนโดยการทา


รายงานและการนาเสนอในช้นเรียน


- นักศึกษาสามารถพัฒนาในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา

�������� �������������������.indd 13 11/23/19 1:37 PM

(๑๒)

- นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต

- นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการส่อสาร

เช่น การส่งงานทางอีเมลล์
- นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เคร่องมือและเทคโนโลย ี


ท่เหมาะสม
๕.๒ วิธีการสอน

- บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน
- น�าเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

- มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าศึกษาด้วยตนเองจาก website ส่อการสอน e-learning
และท�ารายงาน โดยมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

๕.๓ วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
- ประเมินจากค�าตอบข้อสอบเชิงวิเคราะห์
- ประเมินจากการจัดท�ารายงานและน�าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล

๑. แผนการสอน

สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จ�านวน กิจกรรมการเรียน ผู้สอน
ชั่วโมง การสอน สื่อที่ใช้

๑ แนะน�าการรียนการสอน ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต

-แนะน�ารายละเอียดวิชา ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
-ขอบเขตวิชา/ขอบเขตการ สื่อ
ศึกษา Power Point
-การวัดผลประเมินผล -จัดกิจกรรมเรียนรู้

-ทดสอบความรู้เบ้องต้นใน ด้วยการท�างานกลุ่ม
ประเด็นของรายวิชา -อภิปรายแลกเปล่ยน

ความคิดเห็น

�������� �������������������.indd 14 11/23/19 1:37 PM

(๑๓)







๒ บทท ๑ ความรู้เบ้องต้นเกยว ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต
กับรัฐประศาสนศาสตร์ ยกตัวอย่างประกอบสอ สิริเมโธ,ดร.


๑.๑ ความหมายของ Power Point
รัฐประศาสนศาสตร์ -จัดกิจกรรมเรียนรู้





๑.๒ แนวคดพนฐานเกยว ด้วยการท�างานกลุ่ม
กับ“รัฐประศาสนศาสตร์” -อภิปรายแลกเปล่ยน

๑.๓ สถานภาพของ ความคิดเห็น
รัฐประศาสนศาสตร์
๑.๔ รัฐประศาสนศาตร์กับ
การบริหารธุรกิจ
๑.๕ ขอบข่ายการศึกษา
วิชารัฐประศาสนศาสตร์



๓ บทท ๒ ขอบข่ายของ ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต
รัฐประศาสนศาสตร์ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
๒.๑ ขอบข่ายการศึกษา สื่อ Power Point
รัฐประศาสนศาสตร์ -จัดกิจกรรมเรียนรู้
๒.๒ มุมมองของรัฐศาสน ด้วยการท�างานกลุ่ม
ศาสตร์ - อภิปรายแลกเปล่ยน

๒.๓ เนื้อหาวิชา ความคิดเห็น
รัฐประศาสนศาสตร์

๔ บทที่ ๓ แนวคิดทฤษฎี ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต

ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
๓.๑ ความหมายของทฤษฎ ี สื่อ Power Point
๓.๒ ประเภทของทฤษฎี -จัดกิจกรรมเรียนรู้
รัฐประศาสนศาสตร์ ด้วยการท�างานกลุ่ม
๓.๓ แนวคิดทฤษฎีทาง - อภิปรายแลกเปล่ยน


รัฐประศาสนศาสตร์ ระหวาง ความคิดเห็น
ค.ศ. ๑๘๘๗ – ๑๙๕๐
๓.๔ แนวคิดทฤษฎีทาง

รฐประศาสนศาสตรระหวาง


ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐
๓.๕ แนวคิดทฤษฎีทาง
รัฐประศาสนศาสตร์สมัย
ใหม่ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๖๐
–๑๙๗๐

�������� �������������������.indd 15 11/23/19 1:37 PM

(๑๔)

๕ บทที่ ๔ การศึกษารัฐประ- ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศิต
ศาสนศาสตรในประเทศไทย ยกตัวอย่างประกอบสอ สิริเมโธ,ดร.



๔.๑ การศึกษารัฐประ- Power Point

ศาสนศาสตรในประเทศไทย -จัดกิจกรรมเรียนรู้
๔.๒ หลักสูตรรัฐประ- ด้วยการท�างานกลุ่ม

ศาสนศาสตรในประเทศไทย -อภิปรายแลกเปล่ยน

๔.๓ วิธีสอนรัฐประศาสน- ความคิดเห็น
ศาสตร์ในประเทศไทย
๔.๔ คุณลักษณะของนักศึกษา



รฐประศาสนศาสตร์ทพง

ประสงค์
๔.๕ เป้าหมายของการ
ศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
ยุคใหม่



๖ บทท ๕ รัฐประศาสนศาสตร์ ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต
กับการบริหารและการ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
พัฒนา สื่อ
๕.๑ แนวคดทฤษฎการ Power Point


พัฒนาการเมืองในต่าง -จัดกิจกรรมเรียนรู้
ประเทศ ด้วยการท�างานกลุ่ม


๕.๒ แนวคดทฤษฎการ - อภิปรายแลกเปล่ยน

พัฒนาการเมืองในประเทศไทย ความคิดเห็น
๕.๓ การศึกษารัฐประ-
ศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ
๕.๔ การบริหารและการ
พัฒนา


๗ บทที่ ๖ ความรู้เบื้องต้น ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต

เกยวกบการบริหารและ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.


การเมือง สื่อ Power Point
๖.๑ แนวทางการศึกษาของ -จัดกิจกรรมเรียนรู้
นักรัฐประศาสนศาสตร์เก่ยว ด้วยการท�างานกลุ่ม


กับความสัมพันธ์ระหว่าง - อภิปรายแลกเปล่ยน
การบริหาร และการเมือง ความคิดเห็น

�������� �������������������.indd 16 11/23/19 1:37 PM

(๑๕)

๖.๒ แนวคิดการบริหาร
แยกจากการเมืองอย่างเด็ด
ขาด
๖.๓ แนวคิดเก่ยวกับการ

บริหารคือการเมือง
๖.๔ โครงสร้างและบทบาท



อานาจหน้าท่ของระบบ
การเมืองและระบบบริหาร

๘ สอบกลางภาค สอบกลางภาค





๙-๑๐ บทท ๗ ความรู้เบ้องต้น ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต
เก่ยวกับนโยบายสาธารณะ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.

๗.๑ ความหมายของนโยบาย สื่อ Power Point
สาธารณะ -จัดกิจกรรมเรียนรู้
๗.๒ ความสาคัญของนโยบาย ด้วยการท�างานกลุ่ม


สาธารณะ - อภิปรายแลกเปล่ยน
๗.๓ ขอบข่ายของการ ความคิดเห็น
วิเคราะห์นโยบายสาธารณะ
๗.๔ กระบวนการนโยบาย
สาธารณะ
๗.๕ ประเภทของนโยบาย
สาธารณะ
๗.๖ จุดเร่มต้นของการ

ศึกษานโยบายสาธารณะ
๗.๗ การศึกษานโยบาย
สาธารณะในยุคหลัง
๗.๘ สถาบันท่มีบทบาท

กาหนดนโยบายสาธารณะ

ในประเทศไทย
๗.๙ มิติการมองนโยบาย

สาธารณะ
๗.๑๐ ตวแบบของการ

วิเคราะห์นโยบายสาธารณะ

�������� �������������������.indd 17 11/23/19 1:37 PM

(๑๖)




๑๑-๑๒ บทท ๘ ความรู้เบ้องต้น ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต


เก่ยวกับการวางแผน ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
๘.๑ ความหมายของการ ส่อ Power Point

วางแผน -จัดกิจกรรมเรียนรู้ด้วย
๘.๒ ความสาคัญของการ การทางานกลุ่ม


วางแผน - อภิปรายแลกเปล่ยน

๘.๓ การวางแผนกับการ ความคิดเหน

บริหารเวลา
๘.๔ ประเภทของการวางแผน
๘.๕ กระบวนการวางแผน
๘.๖ ประโยชน์ของการ
วางแผน
๑๓ บทที่ ๙ ความรู้ทั่วไปเกี่ยว ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศิต
กับการวางแผนและควบคุม ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
งานบริหาร สื่อ Power Point
๙.๑ ความหมาย ความ -จัดกิจกรรมเรียนรู้

สาคัญของการวางแผนและ ด้วยการท�างานกลุ่ม
ควบคุมงานบริหาร -อภิปรายแลกเปล่ยน

๙.๒ โครงสร้างการวางแผน ความคิดเห็น
๙.๓ โครงสร้างการควบคุม
งานบริหาร

๑๔ บทที่ ๑๐ การจัดการภาค ๓ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศิต
รัฐแนวใหม่ ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
๑๐.๑ จุดเร่มต้นของการ สื่อ Power Point

จัดการภาครัฐแนวใหม่ -จัดกิจกรรมเรียนรู้
๑๐.๒ ข้อเสนอในการจัดการ ด้วยการท�างานกลุ่ม
ภาครัฐแนวใหม่ -อภิปรายแลกเปล่ยน


๑๐.๓ การเปล่ยนแปลง ความคิดเห็น
ตามแนวคิดการจัดการภาค
รัฐแนวใหม่
๑๐.๔ ทฤษฎของการจดการ


ภาครัฐแนวใหม่
๑๐.๕ การแพร่กระจายของ
การจดการภาครฐแนวใหม ่


๑๐.๖ ข้อวิพากษ์ท่มีต่อการ

จัดการภาครัฐแนวใหม่

�������� �������������������.indd 18 11/23/19 1:37 PM

(๑๗)

๑๕ - สรุปบทเรียน ๒ -บรรยาย อธิบาย และ พระมหาประกาศต


- นิสิตนาเสนอประมวล ยกตัวอย่างประกอบ สิริเมโธ,ดร.
ความรู้ ส่อ Power Point

- อภิปรายกลุ่ม/นาเสนอ - อภิปรายแลกเปล่ยน





รายงาน ความคดเหนในประเดน

ท่เก่ยวข้อง

๑๖ สอบปลายภาค สอบปลายภาค
๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

ที่ ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการ
ประเมินผล


๑ ๑.๑, ๑.๖, ๑.๗, ๒.๑, ๒.๔- ทดสอบยอยครง ้ ั ๙ ๕ %
๒.๖, ๓.๒ ที่ ๑ ๘ ๑๐ %
สอบกลางภาค ๑๒ ๕ %

ทดสอบยอยครง ั ้ ๑๖ ๕๐ %
ที่ ๒
สอบปลายภาค


๒ ๑.๑, ๑.๖, ๑.๗, ๒.๑, วิเคราะห์กรณ ตลอดภาคการศึกษา ๒๐ %
๒.๔-๒.๖, ๓.๒, ๔.๑- ศึกษา ค้นคว้า

๔.๖,๕.๓-๕.๔ การนาเสนอ

รายงานการทางาน
กลุ่มและผลงาน
การอ่านและสรุป

บทความการส่ง
งานตามท่มอบ

หมาย
๓ ๑.๑-๑.๗, ๓.๑ การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ %

การมีส่วนร่วม
อภิปราย เสนอ
ความคิดเห็น
ในชั้นเรียน

�������� �������������������.indd 19 11/23/19 1:37 PM

(๑๘)

๕.๒ การประเมินผลการเรียนรู้

ที่ ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการ
ประเมินผล

๑ บทที่ ๑ แนะน�ารายวิชา/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๑ -

๒ บทที่ ๒ ทดสอบระหว่างเรียน ๒ -

๓ บทที่ ๓ ทดสอบระหว่างเรียน ๓

๔ บทที่ ๔ ทดสอบระหว่างเรียน ๔-๕ ๕

๕ บทที่ ๕ ทดสอบระหว่างเรียน ๖ -

๖ ทดสอบหลังบทเรียน (กลางภาค) ๗ ๒๐

๗ บทที่ ๖ ทดสอบระหว่างเรียน ๘ -

๘ บทที่ ๗ ทดสอบหลังบทเรียน ๙-๑๐ ๕

๙ บทที่ ๘ ทดสอบระหว่างเรียน ๑๑-๑๒ ๕

๑๐ บทที่ ๙ ทดสอบระหว่างเรียน ๑๓

๑๑ บทที่ ๑๐ ทดสอบระหว่างเรียน ๑๔

๑๒ บทที่ ๑-๑๐ สรุปเนื้อหาสาระ/แนะแนวข้อสอบ ๑๔-๑๕ ๕

คะแนนรายงาน กิจกรรม จิตพิสัย - ๒๐
พุทธิพิสัย และทักษะพิสัย

๑๔ บทที่ ๑-๑๐ สอบปลายภาค ๑๖ ๔๐

รวม ๑๐๐

�������� �������������������.indd 20 11/23/19 1:37 PM

(๑๙)

๕.๓ เกณฑ์การประเมินผลและระดับคะแนน

เกณฑ์คะแนน ความหมาย ระดับ ค่าระดับ

๙๐ ขึ้นไป ดีเยี่ยม A ๔.๐

๘๕-๙๕ ดีมาก B+ ๓.๕

๘๐-๘๔ ดี B ๓

๗๕-๗๙ พอใช้ C+ ๒.๕

๗๐-๗๔ ค่อนข้างพอใช้ C ๒.๐

๖๕-๖๙ ค่อนข้างอ่อน D+ ๑.๕

๖๐-๖๔ อ่อน D ๑.๐

ต�่ากว่า ๖๐ ไม่ผ่าน F ๐

หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

๑. เอกสารและต�าราประกอบการเรียนการสอน



คณาจารย์ภาควิชาบริหารรัฐกิจ. ๒๕๓๖. การบริหารรัฐกิจเบ้องต้น. พิมพ์คร้งท ๔.กรุงเทพมหานคร:

ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค�าแหง.
เฉลิมพล ศรีหงษ์.(๒๕๔๕).เอกสารประกอบการศึกษา PS ๖๐๔. แนวความคิดเชิงทฤษฎ ี
ในการบริหารรัฐกิจ.กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง.



พิทยา บวรวัฒนา.(๒๕๔๗).ทฤษฎีองค์การสาธารณะ.พิมพ์คร้งท ๘.กรุงเทพมหานคร: ศักด ิ

โสภาการพิมพ์.
พิทยา บวรวัฒนา.(๒๕๒๖).รัฐประศาสนศาสตร์ในประเทศไทย:ผลงานของนักวิชาการไทย
สมัยใหม่.กรุงเทพมหานคร: ส�านักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

�������� �������������������.indd 21 11/23/19 1:37 PM

(๒๐)

พิทยา บวรวัฒนา.(๒๕๔๖).รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและแนวการศึกษา(ค.ศ.๑๘๘๗-ค.ศ.

๑๙๘๐).พิมพ์ครั้งที่ ๑๐.กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรเดช จันทรศรและอัจฉราพรรณ เทศะบุรณะ.(๒๕๔๓).รัฐประศาสนศาสตร์:ทฤษฎ และ




การประยุกต์.พิมพ์คร้งท ๕.กรุงเทพมหานคร:โครงการเอกสารและตารา สมาคม

รัฐประศาสนศาสตร์.


วีระศักด เครือเทพ (บรรณธิการ).(๒๕๔๗).รัฐประศาสนศาสตร์:ขอบข่ายและการประยุกต์
ใช้องค์ความรู้.กรุงเทพมหานคร:ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.

สันสิทธ ชวลิตธารง.(๒๕๔๖).หลักการบริหารรัฐกิจกับระบบราชการไทย.กรุงเทพมหานคร:บริษัท


อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด (มหาชน).

สัมฤทธ ยศสมศักด์.(๒๕๔๗).หลักรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎี.กรุงเทพมหานคร:


ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด เวิลด์เทรด ประเทศไทย.

สร้อยตระกูล(ติวยานนท์)อรรถมานะ.(๒๕๔๓).สาธารณบริหารศาสตร์.พิมพ์คร้งท ๔.กรุงเทพฯ:


โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัมพร ธารงลักษณ์(บรรณาธิการแปล).(๒๕๔๖).แปลงรูปเปล่ยนรากบริหารรัฐกิจในศตวรรษ

ที่ ๒๑.กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
Riggs W.Fred. ๑๙๖๔. Administration in Developing Countries:The Theory of

Prismatic Society.USA.Houghton Mifflin Company Boston.

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการด�าเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดท�าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน�าแนวคิดและ
ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน

- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านอีเมลล์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

�������� �������������������.indd 22 11/23/19 1:37 PM

(๒๑)

๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
- อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง
- ดูผลการเรียนของนักศึกษา

- ท�ารายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา
- ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงายวิชา

๓. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยจัดกิจกรรมในการ

ระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน

- ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับนักศึกษารุ่นต่อไป

๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ในรายหัวข้อตามท่คาดหวัง

จากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวม
ถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผล
สัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ

ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ�าหลักสูตร







- มีการตงคณะกรรมการในสาขาวชา ตรวจสอบผลการประเมนการเรยนร้ของนกศึกษา โดย
- ตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕. การด�าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินและทวนผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ ์ ิ

ตาม ข้อ ๔


- เปล่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพ่อให้นักศึกษามีมุมมองในเร่องการประยุกต์ความรู้น ี ้

กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ

�������� �������������������.indd 23 11/23/19 1:37 PM

บันทึกช่วยจ�า

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

�������� �������������������.indd 24 11/23/19 1:37 PM

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๑
เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

ก. เนื้อหาสาระที่ศึกษา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์
๑. ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์

๒. แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ “รัฐประศาสนศาสตร์”

๓. สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์
๔. รัฐประศาสนศาตร์กับการบริหารธุรกิจ

๕. ขอบข่ายการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ข. วัตถุประสงค์ของการศึกษา

เมื่อได้ศึกษาบทที่ ๑ จบแล้ว ผู้ศึกษามีความสามารถ
๑. อธิบายความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์ได้

๒. อธิบายแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ “รัฐประศาสนศาสตร์” ได้
๓. อธิบายสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ได้
๔. อธิบายรัฐประศาสนศาตร์กับการบริหารธุรกิจได้

๕. อธิบายขอบข่ายการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้

ค. กระบวนการเรียนรู้













๑. อาจารย์ผ้สอนยกตวอย่างงานวจยตามความสนใจของนสต และ เกรนนาความร้เบอง
ต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์มีความหมายอย่างไร
๒. อาจารย์ผู้สอนกล่าวเปิดประเด็นซักถามผู้เรียนให้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้เก่ยวกับการ

วิจัย โดยการตอบปากเปล่า เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ตื่นตัวอยู่เสมอ
๓. ค�าถามใดที่ผู้เรียนตอบแล้วไม่ชัดเจนพอ ผู้สอนควรอธิบายประเด็นนั้น ๆ เพิ่มเติมเพื่อ
ให้ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง

๔. ก่อนสอนทุกคร้ง อาจารย์ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความอยากรู้อยากเห็น



๕. อาจารย์ผู้สอนเสนอแนะให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพ่มเติมจากหนังสืออ่น ๆ หรืองานวิจัยอ่น ๆ
๖. เม่อศึกษาแต่ละบทจบแล้ว อาจารย์ผู้สอนมอบหมายงานให้ผู้เรยนทุกคนไปทาคาถาม




ท้ายบทแล้วน�ามาส่งในสัปดาห์ต่อไป

�������������������.indd 1 11/23/19 1:35 PM

๗. อาจารย์ผู้สอนอธิบายสรุป “ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์” อีกครั้ง เพื่อ



เป็นการทบทวนเน้อหาสาระ แล้วผู้สอนสอบถามผู้เรียนในประเด็นท่ได้เรียนมาแล้ว เพ่อเป็นการ
ประเมินผู้เรียนว่ามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด
ง. แหล่งการเรียนรู้

๑. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย


๒. หนังสือหรือตาราเก่ยวกับรัฐศาสตร์/รัฐประศาสนศาสตร์ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ
วารสารอื่น ๆ เป็นต้น
๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

จ. สื่อการเรียนการสอน


๑. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู้เบ้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์
๒. บอร์ดความรู้, หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, Internet, Website, งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ
วารสาร เป็นต้น


๓. ใบงาน/งานท่มอบหมายอ่น ๆ

ฉ. การวัดผลและประเมินผล
ู้
๑. ด้านความร : ประเมินจากการตอบคาถาม/แสดงความคิดเห็น



๒. ด้านทักษะ : ประเมินด้วยการสังเกตการนาเสนอผลงานเด่ยว/งานกลุ่ม
๓. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม : ประเมินการสังเกตพฤติกรรม/การร่วมกิจกรรม/การแสดง
ความคิดเห็นในช้นเรียน

๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบท่ต้องพัฒนา : ประเมินผลการนา �

เสนอรายงานเป็นทีม และพฤติกรรมการทางานเป็นทีม



๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ต้องพัฒนา :

ประเมินผลการค้นคว้า การอ้างอิง การทารายงาน เน้นข้อมูลเชิงตัวเลขและคาอธิบาย

�������������������.indd 2 11/23/19 1:35 PM

บทที่ ๑
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) คือ การด�าเนินการทั้งปวงของฝายบริหาร

ยกเว้นอ�านาจของฝายนิติบัญญัติและตุลาการ โดยมีจุดมุ่งหมายให้นโยบายของรัฐท่วางไว้บรรลุผล

อาจมองได้ทั้งเป็นการปฏิบัติการและการเป็นสาขาวิชาแขนงหนึ่ง ในการบริหารและจัดการภาครัฐ










จะไม่เหมอนการบรหารธรกจทเน้นกาไรสงสด (Profit Maximize) แต่เป็นการเน้นการให้บรการ


ท่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือ ประชาชนท่มาใช้บรการ และต้องเป็นการให้บริการต่อทุกคน

อย่างเป็นธรรม สาหรบคาว่า “รฐประศาสนศาสตร์” แปลมาจากคาภาษาองกฤษว่า “Public








Administration” อย่างไรกตาม คาภาษาองกฤษดงกล่าวอาจแปลเป็นชออนได้ เช่น “สาธารณ






บริหารศาสตร์” หรืออาจมีผู้แปลเป็น “การบริหารราชการแผ่นดิน” “การบริหารรัฐกิจ” “การบริหาร

จดการภาครฐ” หรือ “การบรหารงานสาธารณะ” สงทปรากฏเห็นได้ชดและมักก่อให้เกดความเขาใจ









สับสนแก่ผู้ที่เพิ่งเข้ามา ศึกษาได้แก่ การเรียกชื่อคณะวิชา หรือภาควิชา ในสถาบันอุดมศึกษาของ

เมืองไทย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใช้ช่อว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” อยู่ในสังกัดคณะรัฐศาสตร์

และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ใช้ช่อว่า “คณะรัฐประศาสนศาสตร์” ในขณะท่มหาวิทยาลัย















ธรรมศาสตร และมหาวทยาลยรามคาแหง มการใชชอวา ภาควชาบรหารรัฐกจ ในสงกดคณะรฐศาสตร ์

เป็นต้น
๑.๑ ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ มาจากค�าว่า Public Administration ในภาษาอังกฤษโดยค�าว่า

Public หมายถึง ข้าราชการ กิจกรรมต่างๆ ท่รัฐพึงปฏิบัติส่วนค�าว่า Administration หมายถึงความ
พยายาม ในการที่จะร่วมมือกันด�าเนินการในองค์การ
ค�าว่า Administration แตกต่างจากค�าว่า Management หรือ การบริหาร โดย Herbert
A Simon กล่าวว่า การบริหาร หมายถึง กิจกรรมของกลุ่มบุคคลที่ร่วมมือร่วมแรงร่วมใจกันปฏิบัติ


เพ่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ต้งไว้ร่วมกันหรือ Ernest Dale กล่าวว่า การบริหาร หมายถึง การท�างาน

ให้ส�าเร็จลุล่วงไปโดยใช้ผู้อื่นเป็นผู้กระท�า
การบริหาร มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน ว่า “Administrate” ซึ่งหมายถึง ช่วยเหลือหรือ

อ�านวยการ การบริหารมีความสัมพันธ์หรือมี ความหมายใกล้เคียงกับค�าว่า “Minister” ซ่งหมายถึง
การรับใช้หรือผู้รับใช้หรือผู้รับใช้รัฐ อาจหมายถึง รัฐมนตรี ส�าหรับความหมายด้งเดิมของค�าว่า










Administer หมายถง การตดตามดแลสงต่าง ๆ และคาจ�ากดความงายๆ ททันสมยก็คอ “การทางาน




ให้ส�าเร็จ” การบริหาร บางครั้งเรียกว่า การบริหารจัดการ นิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ
ระบบราชการ หมายถึง การด�าเนินงาน หรือการปฏิบัติงานใดๆ ของหน่วยงานของรัฐ และ/หรือ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ ถ้าเป็นหน่วยงานภาคเอกชน หมายถึงของหน่วยงาน และ/หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
กับคน สิ่งของและหน่วยงาน
�������������������.indd 3 11/23/19 1:35 PM

4
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


วินิต ทรงประทุม ได้กล่าวว่า “รัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ในที่นี้จะ





ใช้ความหมายรวมเช่นเดียวกับค�าต้นศพท์ในภาษาอังกฤษ คือ หมายถึงทงการศกษา การบรหาร
ราชการ และการกระท�า หรือกิจกรรมการบริหารราชการ เพราะความหมายทั้งสอง คือ การศึกษา
และการกระท�าทางด้านการบริหาราชการนั้นเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด”
อุทัย เลาหวิเชียร ได้ให้ความหมายของการบริหารรัฐกิจว่าหมายถึง กิจกรรม (Activity)

ซ่งนิยมเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า “Public Administration” (โปรดสังเกตตัวอักษร “p” และอักษร

“a” ซึ่งอยู่หน้าค�าทั้งสองค�าเขียนเป็นตัวเล็ก) ส่วนค�าว่า รัฐประศาสนศาสตร์ มีความ หมายถึงวิชา








ทเก่ยวกับการบรหารรัฐกจ จึงมความหมายถงลักษณะวชา (Discipline) นยมเขียนว่า “Public

Administration” (โปรดสังเกตตัวอักษร “P” และอักษร “A” ซึ่งอยู่หน้าค�าทั้งสองเขียน เป็นตัว

อักษรใหญ่) อุทัย กล่าวต่อไปว่า ภาษาอังกฤษจะใช้ค�าเหล่าน้โดยไม่มีการสับสนเวลาท่กล่าวถึง

“รัฐประศาสนศาสตร์”จะเขียนว่า “Public Administration” เวลากล่าวถึง “การบริหารรัฐกิจ”
จะเขียนว่า “Public Administration” ผู้อ่านก็ไม่เกิดความสับสน แต่ในประเทศไทยมีการใช้ค�า
สองค�านี้ อย่างสับสน





วีระศักด์ เครือเทพ กล่าวว่ารัฐประศาสนศาสตร์คืออะไรน้น เป็นค�าตอบท่ยากท่จะหา
ค�าตอบท่ยอมรับร่วมกันท้งในแง่ของเน้อหา (Content) และในแง่ของระเบียบวิธีการศึกษา



(Methodology) ดังนี้
๑. ในด้านเน้อหา รัฐประศาสนศาสตร์ หมายความถึงการศึกษาหาความรูในทุก เร่องท่จาเปน







ต้องใช้ในการบริหารงานภาครัฐ การให้ความหมายเร่องน้มีส่งท่ต้องอธิบายใน ๒ ประเด็นคือ



๑.๑ ท�าไมจึงต้องมีการบริหารงานภาครัฐ หากเร่มต้นต้งแต่การถือก�าเนิดรัฐ (The


Origin Of The State) ท่เกิดข้นจากการใช้ชีวิตร่วมกันของปัจเจกชนในสังคม มีการ ด�าเนินกิจกรรม


ร่วมกัน (Collective Action) เพ่อตอบสนองต่อความต้องการของส่วนรวมใน เร่องใดเร่องหน่ง





ปัจเจกชนจึงยอมเสียสละเสรีภาพส่วนบุคคลบางประการให้แท่ส่วนรวม รัฐจึงถือก�าเนิดข้นเพ่อเป็น
กลไกในการใช้อ�านาจที่ไต้มาจากเสรีภาพของปัจเจกชนเหล่านั้น ในการน�าไปสู่การด�าเนินกิจกรรม



สาธารณะ ท่ตอบสนองต่อความต้องการของปัจเจกชน โดยรวม โดยนัยน้การใช้อ�านาจรัฐเพ่อให้
ความต้องการสาธารณะไต้รับการน�าไปปฏิบัติให้พึง บังเกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม จึงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น
ตามมาและสิ่งนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้น ดังนั้น หาก จะกล่าวอย่างย่อแล้ว รัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นเรื่อง
๑ วินิต ทรงประทุมและวรเดช จันทรศร, การประสานแนวคิดและขอบข่ายของรัฐประศาสนศาตร์, พิมพ์คร้ง ั

ท่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๙), หน้า ๑๗.
๒ อุทัย เลาหวิเชียร, ค�าบรรยายวิชารัฐประศาสนศาสตร์, (มหาวิทยาลัยรามค�าแหง : ม.ป.พ. ๒๕๕๑), หน้า ๘.

๓ วีระศักด์ เครือเทพ, รัฐประศาสนศาสตร์ : ขอบข่ายและการประยุกต์ใช้องค์ความรู้, (กรุงเทพมหานคร :
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗), หน้า ๑-๕.
�������������������.indd 4 11/23/19 1:35 PM

5
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

เกี่ยวกับ "กิจการสาธารณะ" (Public Affairs) ที่มุ่งศึกษาว่าจะมีวิธีด�าเนินกิจกรรมที่ท�าร่วมกันใน
สังคมอย่างไรให้เกิดประโยชน์ สูงสุดตามวัตถุประสงค์ที่ปัจเจกบุคคลแต่ละคนต้องการนั้นเอง


๑.๒ ความรู้ในทุกเร่องได้แก่ ความรู้ในเร่องอะไรบ้างหากการถือก�าเนิดของรัฐ

มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของปัจเจกชนในสังคมแล้ว องค์ความรู้ใดก็
๑.๓ ตามท่มุ่งสนองผลประโยชน์ของส่วนรวม จึงเป็นองค์ความรู้ท่จ�าเป็นต่อการท�าความ













เข้าใจ การบรหารงานภาครฐด้วยกนทงสน องค์ความร้เหล่านอาจรวมถงความร้ความเข้าใจเรอง



สังคมวิทยา การเมืองการปกครอง เศรษฐศาสตร์ การบริหาร กฎหมาย และบางครั้งอาจ รวมถึง
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกอบเข้าด้วยกัน ส่งเหล่าน้คือวิทยาการในสาขาต่าง ๆ


ที่นักรัฐประศาสนศาสตร์ควรมีความเข้าใจเป็นอย่างดี
๒. ในด้านระเบียบวิธีการศึกษา การศึกษาส�าหรับรัฐประศาสนศาสตร์นั้นสามารถ กระท�า
ได้ในหลายลักษณะวิธีวิเคราะห์ (Approach) เช่น การวิเคราะห์หลายส่วนท่เช่อมกัน (Cross-


Sectional) การวิเคราะห์เชิงพัฒนาการ (Historical) และการวิเคราะห์เชิงกฎหมาย (Legal) เป็นต้น
ถึงแม้ว่าวิธีวิเคราะห์มีความหลากหลายเช่นน้ แต่ทว่าสามารถถ่ายทอดให้ เห็นถึงองคาพยพของ

รัฐประศาสนศาสตร์ได้เป็นอย่างดี ท�าให้ขอบข่ายองค์ความรู้ท่ได้รับ จากการวิธีวิเคราะห์แต่ละ

ประเภทนั้นต่อเติมเสริมซึ่งกันและกัน และช่วยให้เกิดความเข้าใจ รัฐประศาสนศาสตร!ต้อย่างเป็น
องค์รวมมากขึ้น
สัมฤทธ้ ยศสมศักด ให้ความหมายว่ารัฐประศาสนศาสตร์มี ความหมายในทางวิชาการ



การศึกษา หรือสาขาวิชาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการด�าเนินงาน หรือการบริหารงานของรัฐ ซึ่งมักจะ
เขียนเป็นภาษาอังกฤษด้วยอักษรน�าหน้าตัว P และ A ใหญ่ คือ Public Administration แม้จะมี
นักวิชาการบางรายจะแปลค�าภาษาอังกฤษนี้เป็น ไทยว่า "สาธารณบริหารศาสตร์" ก็มีความหมาย
ในความเข้าใจของนักวิชาการไทยและ ผู้สนใจทั่วไปไม่แตกต่างจากค�าว่า "รัฐประศาสนศาสตร์"

เท่าใดนัก ส�าหรับการบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารราชการ ถือเป็นส่วนท่เก่ยวข้องกับการด�าเนิน

งานกิจกรรมต่าง ๆ ที่รัฐควร ปฏิบัติเพื่อส่วนรวมหรือเพื่อประชาชน นิยมใช้ภาษาอังกฤษเป็นอักษร

น�าหน้าตัว P และ a ตัวเล็ก คือ Public Administration ซ่งมีความหมายเดียวกันกับการบริหารรัฐกิจ
การบริหาร สาธารณกิจ การบริหารราชการ หรือการบริหารราชการแผ่นดิน




๔ สัมฤทธ์ ยศสมศักด์, หลักรัฐประศาสนศาสตร์แนวคิดและทฤษฏี, พิมพ์คร้งท่ ๒, (กรุงเทพฯ : รัตนพรชัย.

๒๕๔๘). หน้า ๑๙.

�������������������.indd 5 11/23/19 1:35 PM

6
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ตัวอย่างค�านิยามวิชารัฐประศาสนศาสตร์ข้างด้น ย่อมเป็นประจักษ์พยานดีว่าวิชา
รัฐประศาสนศาสตร์ มีความหมายและขอบเขตได้หลายอย่าง สุดแล้วแต่นักวิชาการแต่ละ คนจะ
มองและตีความวิชารัฐประศาสนศาสต'!ไปในแง่ใด และวิธีตังกล่าวเป็นที่ยอมรับใน วงการวิชาการ
มากน้อยแค่ไหน แต่จากการรวบรวมค�านิยามของรัฐประศาสนศาสตร์ ที่กล่าว มาข้างด้น ในความ
เห็นของผู้เรียบเรียงสรุปได้ว่า ค�าว่า "รัฐประศาสนศาสตร์" เป็นค�าแปลมา จากค�าในภาษาอังกฤษ
ว่า Public Administration ในภาษาอังกฤษมีความหมาย ๒ นัยคือ


๑. Public Administration As Field Of Study มีความหมายท่เก่ยวกับวิทยาการ สาขาวิชา



หรือการศึกษาวิชาท่เก่ยวกับการบริหารราชการ วิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือ วิชาการบริหารรัฐกิจ
ทั้งนี้มองในฐานะที่เป็นศาสตร์ (science) ศาสตร์ในทัศนะของ นักวิชาการทางสังคมศาสตร์ มีความ
เห็นแตกต่างกันหลากหลาย นักวิชาการบางกลุ่มมอง ศาสตร์เป็นองค์แห่งความรู้ที่ได้มาโดยวิธีการ


ทางวิทยาศาสตร์ท่เคร่งครัด และเป้าหมายของ ศาสตร์ คือการสร้างทฤษฎี เพ่อเข้าใจ พรรณนา
อธิบาย และพยากรณ์ ปรากฏการณ์หรือ กิจกรรมต่าง ๆ แต่บางกลุ่มมองศาสตร์ไม่เคร่งครัดเหมือน
กับศาสตร์ในวิทยาศาสตร์ ธรรมชาติ แด่มองว่าศาสตร์เป็นวิชาการที่รวบรวมเป็นระบบ มีหลักการ
มีกฎเกณฑ์ที่ สามารถศึกษาได้ และน�ามาถ่ายทอดกันได้ ซึ่งผู้เรียบเรียงก็เห็นด้วยกับทัศนะนี้และมี
ความเห็นว่ารัฐประศาสนศาสตร์ จะมีลักษณะเป็นศาสตร์อย่างอ่อน (Soft Science) ต่างจาก
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ซึ่งเป็นศาสตร์อย่างแข็ง (Hard Science) ดังนั้นรัฐประศาสนศาสตร์ไม่อาจ

จะเป็นศาสตร์ท่ต้องอาศัยการศึกษาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่เคร่งครัดเหมือน วิทยาศาสตร์

ธรรมชาติได้


๒. Public Administration As An Activity มีความหมายท่เก่ยวกับกิจกรรมต่าง ๆ ท่ด�าเนิน

การโดยรัฐหรือทางราชการ เป็นการบริหารราชการหรือระเบียบวิธีและกระบวนการ ในการบริหาร
ราชการ ทั้งนี้มองในฐานะที่เป็นศิลป (Art) หมายถึงการใช้ศิลปะ ในการอ�านวยงาน จัดให้มีการร่วม
มือประสานงาน และควบคุมคนจ�านวนมากเพ่อให้ใต้ผลงานบรรลุ จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์

บางประการที่ตั้งไว้โดยนักบริหารจะต้องใช้ความสามารถที่จะ น�าเอาทรัพยากรในการบริหารมาใช้


ในระบบการบริหาร เพ่อให้งานบรรลุผลส�าเร็จตาม วัตถุประสงค์ท่ต้องการ คือการท�าให้นโยบาย

แห่งรัฐบรรลุผลส�าเร็จเป็นจุดหมายปลายทาง ท้งน้จะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์

(Experience) และทักษะ (Skills) ของ นักบริหารแต่ละคนเข้ามาเป็นเครื่องช่วย
Public Administration แม้จะมองไต้เป็น ๒ ด้านคือ ความเป็นศาสตร์ และเป็นศิลป
ก็ตามแต่ก็มีความสัมพันธ์กันอย่างยิ่ง ถ้าหากว่านักบริหารมีความรูในวิชาการบริหารรัฐกิจ หรือ
รัฐประศาสนศาสตร์ จะช่วยให้เกิดความฉลาดปราดเปรื่อง (Intelligence) ในการบริหารงาน จะส่ง
ผลให้การบริหารรัฐกิจมีประสิทธิภาพ แต่ในตัวนักบริหารน้นแม้จะมีคุณลักษณะของนักบริหารอยู่

อย่างเลอเลิศหรือไม่ก็ตาม การศึกษาถึงวิธีการบริหารงานที่ ถูกต้องจะช่วยให้เป็นนักบริหารที่ดีขึ้น
กว่าเดิม โดยน�าเอาหลักวิชาไปประยุกต์หรือปรับใช้กับ การปฏิบัติงานของตนให้ผลงานมีคุณค่า

ยิ่งขึ้น ซึ่งได้ว่าเป็นผู้มีศิลปในการบริหาร

�������������������.indd 6 11/23/19 1:35 PM

7
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


จากความหมายท่นักวิชาการได้กล่าวมาข้างต้น อาจกล่าวได้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์มี ความหมาย













ในทางวชาการ การศึกษา หรือสาขาวชาหนงทศกษาเกยวกบการดาเนินงาน หรอการบรหารงาน
ของรัฐ ซึ่งมักจะเขียนเป็นภาษาอังกฤษด้วยอักษรน�าหน้าตัว P และ A ใหญ่ คือ Public Adminis-
tration แม้จะมีนักวิชาการบางรายจะแปลค�าภาษาอังกฤษน้ เป็นไทยว่า สาธารณบริหารศาสตร์


ก็มีความหมายในความเข้าใจของนักวิชาการไทยและผู้สนใจท่วไปไม่แตกต่างจากค�าว่า รัฐประศาสนศาสตร์
เท่าใดนักส�าหรับ ส�าหรับการบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารราชการ ถือเป็นส่วนท่ เก่ยวข้องกับ




การด�าเนินงาน กิจกรรมต่างๆ ท่รัฐควรปฏิบัติเพ่อส่วนรวม หรือเพ่อประชาชน นิยมใช้ภาษาอังกฤษ

เป็นอักษรน�าหน้าตัว p และ a ตัวเล็กคือ Public Administration ซึ่งมีความหมายเดียวกันกับ
การบริหารรัฐกิจ การบริหารสาธารณกิจ การบริหารราชการ หรือการบริหารราชการ แผ่นดิน

อย่างไรก็ตาม ยังไม่อาจเป็นข้อสรุปได้ชัดเจนว่า การศึกษาหาความรู้ หรือสาขาวิชาท่เรียกว่า
รัฐประศาสนศาสตร์ จะใช้ค�าภาษาอังกฤษว่า Public Administration และส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ

ด�าเนินงาน กระบวนการ กิจกรรรมต่างๆ ท่รัฐควรปฏิบัติเพ่อส่วนรวมหรือเพ่อประชาชน จะใช้ค�าว่า


Public Administration เสมอไป ผู้เขียนเห็นว่าเป็นเพียงความพยายามของนักวิชาการท่หาแนวทาง







ร่วมกัน เพ่อเกิดความเข้าใจดีย่งข้นเท่าน้น ความสับสนคลุมเครือจะยังคงเกิดข้นเม่อต้องการใช้
ความหมาย ท้งสองอย่างไปพร้อมๆกัน ในขณะท่วอลโด (Waldo) ใช้ค�าว่า Public Administration



เม่อต้องการ หมายถึงท้งการศึกษาหรือสาขาวิชาและกระบวนการหรือกิจกรรมในการบริหารงาน


สาธารณะ แต่มารินี (Marini) กลับใช้ค�าว่า Public Administration ในความเห็นของ ผู้เขียน โดยท ี ่
การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ต้องมีการอ้างอิงกับต�าราต่างประเทศเสมอ ดังน้น เพ่อให้เกิด


ความเข้าใจร่วมกันและไม่ก่อให้เกิดความสับสนในการแปลความหมายของภาษาอังกฤษ ในเอกสาร

ค�าสอนเล่มน้จะใช้ค�าว่า รัฐประศาสนศาสตร์ เม่อต้องการใช้ความหมายท้งสองอย่างไปพร้อมกัน



กล่าวคือ รัฐประศาสนศาสตร์ ครอบคลุมความหมายภาษาอังกฤษท้ง Public Administration และ
Public Administration



๕ สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, สาธารณบริหารศาสตร์, พิมพ์คร้งท่ ๓. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐), หน้า ๙.

�������������������.indd 7 11/23/19 1:35 PM

8
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๑.๒ แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ “รัฐประศาสนศาสตร์”





การท่จะศึกษารัฐประศาลนศาสตร์น้น ควรท�าความเช้าใจแนวคิดพ้นฐานเก่ยวกับ


รัฐประศาสนศาสตร์ก่อน เพ่อช่วยป้องกันความเช้าใจคลาดเคล่อน สับสนอีกทั้งยังมีส่วน





ช่วย เพ่มความเช้าใจในการศึกษา แนวคิดพ้นฐานเก่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ท่จะกล่าวถึงในท่น ี ้

ประกอบด้วย
๑. การรวมกันเปนกลุ่มของมนุษย์
มนุษย์โดยธรรมชาติย่อมอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ไม่อยู่อย่างโดดเดี่ยว การอยู่ รวมกันเป็นกลุ่ม
ของมนุษย์อาจมีได้หลายลักษณะและเรียกชื่อต่างกันเป็นด้นว่า ครอบครัว (Family) เผ่า (Tribe)
ชุมชน (Community) สังคม (Society) และประเทศ (Country) เมือมนุษย์ อยู่รวมกันเป็นกลุ่มย่อม


เป็นธรรมชาติอีกท่ในแต่ละกลุ่มจะต้องมี "ผู้น�ากลุ่ม" รวมท้งมี "การควบคุมดูแลกันภายในกลุ่ม"

เพ่อให้เกิดความสุขและความสงบเรียบร้อย โดยผู้น�ากลุ่ม ขนาดใหญ่ เช่น ในระดับประเทศของ
ภาครัฐ ในปัจจุบันอาจเรียกว่า "ผู้บริหาร" ขณะที่การ ควบคุมดูแลกันภายในกลุ่มนั้น อาจเรียกว่า
"การบริหารราชการ" หรือรัฐประศาสนศาสตร์ ด้วยเหตุผลเช่นนี้ มนุษย์จึงไม่อาจหลีกเลี่ยงจากการ
บริหารภาครัฐ การบริหารราชการ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ได้ง่าย และท�าให้กล่าวได้อย่างมั่นใจ
ดังค�าที่ว่า “ที่ใดมีประเทศ ที่นั้นย่อม มีการบริหารราชการหรือรัฐประศาสนศาสตร์”

๒. การให้ความหมายของค�าว่ารัฐประสาสนศาสตร์
ในปัจจุบันยังไม่มีนักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญคนใดที่สามารถให้ความหมาย ค�าว่า "รัฐประ



คาสนศาสตร์" และ "แนวคิดทางรัฐประคาสนศาสตร์" อย่างเป็นสากลหรอเป็นท ยอมรับของทุกฝาย
ได้ดังนั้นการให้ความหมายของค�านี้ จึงอาจเหมือนกันหรือแตกต่างกันได้ ขึ้นอยู่กับนักวิชาการหรือ
ผู้รู้แต่ละคน

๓. การยอมรับรัฐประศาสนศาสตร์Iนความเปนแนวคิดหรือทฤษฎี

ก่อนหน้าน้ผู้เรียบเรียงไม่เคยมีข้อกังขาในเร่องน้ แต่เม่อได้ศึกษาความคิดเห็น ของวิรัช วิรัช



นิภาวรรณ ซ่งมีความเห็นในเร่องน้ว่า รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นเพียงแนวคิดทางรัฐประคาสนศาสตร์





แทนท่จะใช้ค�าว่า ทฤษฎีทางรัฐประคาสนศาสตร์ เน่องจากรัฐประศาสนศาสตร์เป็นเพียงแนวคิด

หรือความคิดที่มีแนวทางปฏิบัติเท่านั้น โดยเป็นเพียง ความคิดที่ยังไม่อาจพิสูจ'นได้ว่าเป็นจริงและ
ไม่อาจน�าไปอ้างอิงต่อไปได้ อีกทั้งโต้แย้งได้ง่าย ยังไม่มีความชัดเจน และไม่ได้รับการยอมรับอย่าง
มากเพียงพอที่จะเป็นทฤษฎีได้ ทั้งนี้ด้วย เหตุผล ๕ ข้อประกอบกัน ด้งนี้คือ

๖ วรัชยา เช้อจันทึก, ความรู้เบ้องต้นเก่ยวกับวิขารัฐประศาสนศาสตร์, (นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏ


นครราชสีมา, ๒๕๕๐), หน้า ๘-๑๓
๗ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ, รัฐประศาสนศาสตร์ : แนวคิดและกระบวนการ, (กรุงเทพมหานคร : ธรรกมลการพิมพ์,
๒๕๔๙), หน้า ๗๒-๗๗.

�������������������.indd 8 11/23/19 1:35 PM

9
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


๓.๑ “ทฤษฎี” หมายถึง ข้อความท่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิง เพ่อ

พิสูจน์ข้อความอื่นได้ ขณะที่ “แนวคิด” หมายถึง ความคิดที่มีแนวทางปฏิบัติ เมื่อน�าความหมาย

ของค�าท่กล่าวมาน้มาพิจารณาก็จะพบว่า ความรู้ทางรัฐประคาสนศาสตร์แม้ในทางปฏิบัติได้น�าไป

ใช้หรือปรับใช้กันอย่างกว้างขวางแพร่หลาย แต่ในทางวิชาการ ยังไม่อาจพิสูจน์ได้ว่าได้เกิดทฤษฎ ี
ทางรัฐประศาสนศาสตร์ขึ้นแล้วอย่างชัดเจน เนื่องจากยังไม่อาจ พิสูจน์ข้อความในทฤษฎีนั้นว่าเป็น
จริงเสมอไป และยังไม่อาจน�าไปใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ เรื่องอื่น ๆ ต่อไปได้อีกด้วย กล่าวโดยย่อ
รัฐประคาสนศาสตร์ยังเป็นเพียงความคิด ซึ่งไม่ชัดเจนเพียงพอที่จะเป็นทฤษฎี
๓.๒ เม่อพิจารณาความหมายของรัฐประคาสนศาสตร์ อาจสรุปได้ว่า หมายถึง วิชา

ความรู้ที่เกี่ยวกับการบริหารภาครัฐที่เน้นด้านการปฏิบัติ (Study Of Practice) มากกว่าการเน้น
ด้านทฤษฎี (Study Of Theory)

๓.๓ ศาสตร์ (Science) หรือวิชาความรู้ โดยทั่วไปแบ่งเป็น ๒ แขนงใหญ่ ๆ คือ วิชา
ความรู้ทางสังคมศาสตร์ (Social Science) และวิชาความรู้ทางศาสตร์ธรรมชาติ (Natural Science)


ความรู้ทางสังคมศาสตร์ ซ่งหมายถึง ความรู้ท่เป็นระบบท่เก่ยวกับสังคม วิชาความรู้ทางสังคมศาสตร์


นี้มีลักษณะไม่ตายตัว ดิ้นได้ง่าย โต้แย้งได้ง่าย ไม่อาจสัมผัส พิสูจน์ และตรวจสอบได้ง่าย ไม่เป็นที่


ยอมรับของทุกฝาย และไม่เป็นสูตรส�าเร็จ (Ready Formula) ท่น�าไปใช้ได้ทุกสถานการณ์ ท่เป็นเช่นน ้ ี




ส่วนหน่งสืบเน่องมาจากสังคมศาสตร์เป็นวิชาความรู้ ท่เก่ยวข้องกับความรู้สึกนึกคิด การคาดการณ์

คาดคะเน หรือการคาดว่าจะเป็น อีกท้งอคติ หรือความรู้สึกนึกคิดของผู้ให้ความหมายหรือผู้ตัดสินใจ
สามารถเข้าไปสอดแทรกอยู่ใน ความหมายหรือในการตัดสินท่ให้ไว้ได้ง่าย ความรู้ทางศาสตร์ธรรมชาต ิ

ซึ่งหมายถึง ความรู้ ที่เป็นระบบเกี่ยวกับธรรมชาติ และโลกทางวัตถุที่ชัดเจนและจับต้องได้ (The
Systematized Knowledge Of Nature And The Physical World) เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์
พฤกษศาสตร์ และธรณีวิทยาที่มีลักษณะแน่นอน ตายตัว สัมผัสได้ เป็นระบบ ทดสอบและพิสูจน์ได้
ง่ายกว่า ศาสตร์แขนงแรก
ไม่เพียงเท่านั้น “แนวทางการศึกษา” ทางรัฐประศาสนศาสตร์ เช่น การศึกษาค้นคว้า
หรือท�าวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ส่วนใหญ่จะเป็นแนวปทัสถาน (Normative Approach)

ซงหมายถง แนวทศกษาปรากฏการณตาง ๆ ตวอยางเชน การ ศกษาวจยเพอพฒนาขดความสามารถ


















ของหน่วยงานของรัฐและเจ้าหน้าท่ของรัฐ จะให้ ความส�าคัญกับการแสดงความเห็น ความคิด

ความรู้สึก ความเช่อ และค่านิยมของกลุ่ม ตัวอย่างท่น�ามาศึกษา โดยสนใจในเร่องข้อมูลหรือ





หลักฐานท่ชัดเจนซ่งทดสอบและพิสูจน์ได้ น้อย ผลการศึกษาวิจัยตามแนวน้จึงออกมาในลักษณะ
ท่ว่ากลุ่มตัวอย่างมีความเห็น หรือได้ แสดงความคิดเห็นว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยต่อเร่องหรือ


ปรากฏการณ์ท่ศึกษาในจ�านวน มากน้อยเพียงใด กล่าวได้ว่า แนวน้สอดคล้องกับวิชาความรู้


ทางสังคมศาสตร์ดังกล่าวแล้วข้างต้น
�������������������.indd 9 11/23/19 1:35 PM

10
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

แนวปทัสถานน้ค่อนข้างจะตรงกันข้ามกับ แนวโพสิตีฟ (Positive Approach) หรืออาจ

เรียกว่า แนวปฏิฐานนิยม ซึ่งเป็นแนวที่ศึกษาปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดย ยึดถือความมีเหตุมีผล ยึดถือ






ข้อมลหรือหลกฐานทแน่นอน ชัดเจน สมผสไต้ พิสจน์ได้ และตรวจสอบไต้โดยปราศจากอคต ิ

(Value Free) หรือความล�าเอียงของผู้ศึกษาเข้ามาเกี่ยวข้อง กับการศึกษาไต้น้อยมาก อีกทั้งยังเน้น
การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Approach) กล่าวไต้ว่า แนวนี้สอดคล้องกับวิชาความรู้
ทางศาสตร์ธรรมชาติตังกล่าวแล้วข้างต้น
ในเรื่องเกี่ยวกับแนวทางการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ของทั้ง ๒ แนว นี้ พึงท�าความ
เข้าใจด้วยว่า ทั้ง ๒ แนวนี้ล้วนเป็นศาสตร์ (Science) กล่าวคือ ล้วนเป็นวิชาความรู้ หรือวิชาการ
ที่มีระเบียบ มีระบบ มีขั้นตอน มีการทดสอบ ศึกษาค้นคว้า และพิสูจน์ เป็นสากล มีระเบียบวิธีวิจัย
ท่ทันสมัย และสามารถน�าไปประยุกต์หรือปรับใช้ได้เสมอ แต่ แนวทางการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

ส่วนใหญ่ จะเน้นแนวแรก คือ แนวปทัสถาน
๓.๔ ข้อเท็จจริงยังปรากฏอีกว่า วิชาการทางรัฐประคาสนศาสตร์ โดยเฉพาะใน ส่วนที่
ปัจจุบันยังไม่มีทฤษฎีหลัก (GrandTheory) ทางรัฐประศาสนศาสตร์ของตนเอง ซึ่งเป็น ที่ยอมรับ
กันโดยทั่วไปอย่างชัดเจน แต่เป็นการน�าแนวคิดหรือทฤษฎีของวิชาการด้านอื่น ๆ เช่น สังคมวิทยา

จิตวิทยาหรือเศรษฐศาสตร์ มาปรับใช้ ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucracy Theory)
หรือ ระบบราชการตามอุดมคติ (An Ideal Type Bureaucracy) ของ แม็กซ์ เว็บเบอร์ (Max

Weber) เป็นทฤษฎีด้านสังคมวิทยา ทฤษฎีล�าดับข้นความต้องการ ของมนุษย์ (Theory Of
Hierarchy Of Human Needs) หรือทฤษฎีการจูงใจมนุษย์ ของ อับรา อัม มาสโลว์ (Theory Of
Human Motivation By Abraham Maslow) เป็นทฤษฎีด้านจิตวิทยา โดยผู้ศึกษาทาง
รัฐประศาสนศาสตร์ใต้น�ามาปรับใช้เป็นแนวทางในการศึกษาระบบ ราชการ ไม่เพียงเท่าน้น ในส่วน



ท่เก่ยวกับการศึกษาวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ ยังได้มีการ น�าทฤษฎีการวิจัยมาปรับใช้ด้วย
อันมิใช่ทฤษฎีการศึกษาวิจัยของรัฐประศาสนศาสตร์เอง ตัวอย่างเช่น ทฤษฎีการพรรณนาและอธิบาย
ปรากฏการณ์ (Descriptive-Explanation Theory) ทฤษฎีปทัสถาน หรือทฤษฎีการคาดการณ์

คาดคะเน (Normative Theory) ทฤษฎีการ ต้งสมมติฐานเก่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์และสถาบัน


(Assumptive Theory) และทฤษฎีการ แสวงหาเครื่องมือเทคนิค หรือวิธีการเพื่อน�ามาใช้ในการ
วิจัย (Tnstrumental Theory)
๓.๕ แม่ในทางปฏิบัติ รัฐประศาสนศาสตร์ได้มีวิวัฒนาการมาช้านาน นับแต่มีรัฐบาล



หรอผู้บริหารประเทศในแต่ละประเทศ แต่ในทางวิชาการ รัฐประศาสนศาสตร์เป็น วิชาการท่เกิด
ขึ้นอย่างชัดเจนในภายหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แต่เติมรัฐประศาสนศาสตร์ ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของ



ด้านรัฐศาสตร์ (Political Science) ด้งน้นจึงอาจเป็นสาเหตุส�าคัญ ประการหน่ง ท่ท�าให้
รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีทฤษฎีของตนเองดังกล่าว

�������������������.indd 10 11/23/19 1:35 PM

11
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

อย่างไรก็ตามผู้เรียบเรียงมีความคิดเห็นว่า การให้ความหมายของค�าศัพท์ทาง รัฐประศาสนศาสตร์

น้น ไม่อาจตัดสินใจได้อย่างเด็ดขาดว่าถูกหรือผิด ดีหรือไม่ดี หรือจะท�าให้เป็นท่ยอมรับของ




นักวิชาการทุกฝายได้ ด้งน้นในเร่องน้ ผู้เรียบเรียงจึงยังจะไม่ขอสรุป ณ เวลาน้ เม่อเวลาผ่านไป


ค�าตอบนี้จะชัดเจนขึ้นในหมู่ชุมชนนักวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ในที่สุด
๔. การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ส่วนหนึ่งนี้เปนการศึกษาประสิทธิภาพใน การบริหาร
หน่วยงานของรัฐ
ประสิทธิภาพในการบริหารหน่วยงานของรัฐ และ/หรือเจ้าหน้าท่ของรัฐ แนวทางท่นัก


วิชาการได้เขียนไว้โดยแต่ละแนวทางอาจมีจุดเน้น มีขั้นตอน การด�าเนินงาน วิถีทาง หรือมรรควิธี
(Means) ที่คล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันได้ แต่อย่างไรก็ดี ทุกแนวทางล้วนมี “จุดร่วม” ที่เหมือน
หรอคล้ายคลึงกันประการหน่งคอ “มีจุดหมายปลายทาง (End) เพ่อ เพ่มประสิทธิภาพในการบริหาร





ของหน่วยงานของรัฐ และ/หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ” โดย จุดหมายปลายทางนั้น อาจมีจุดหมายปลาย
ทางเดียวหรือหลายจุดหมายปลายทาง (Ends) ก็ได้ตัวอย่างเช่น การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์



หรือการบรหารภาครัฐตามแนวทางการบรหารกิจการบ้านเมองท่ด (Good Governance) และการ


บริหารภาครัฐตามแนวทางการจัด ระเบียบบริหารราชการจังหวัดแบบบูรณาการเพ่อการพัฒนา

หรือเรียกสั้น ๆ ว่า “จังหวัด ชีอีโอ” โดยมี “ผู้ว่าฯ ซีอีโอ” เป็นผู้บริหารสูงสุดของจังหวัด ชีอีโอ

ล้วนมีจุดหมายปลายทาง เพ่อช่วยเพ่มประสิทธิภาพในการบริหารราชการของหน่วยงานของรัฐ

และ / หรือ เจ้าหน้าที่ ของรัฐทั้งสิ้น
๕. การผสมผสานของความเปนศาสตร์และศิลปของรัฐประศาสนศาสตร์

โดยส่วนท่เป็นศาสตร์ หมายถึง การบริหารภาครัฐในบางกรณี (เช่น การศึกษาวิจัยทาง





รฐประศาสนศาสตร์เชงปรมาณอย่างเคร่งครด) มลกษณะเป็นรปธรรม (Concrete) เป็นวชาการ



เป็นวิชาความรู้ เป็นทฤษฎี หรือเป็นหลักการท่ชัดเจน โดยเป็นความรู้ในส่วนท่มองเห็นและสัมผัสได้


เทียบได้กับเรื่องทางวัตถุ พิสูจน์และทดสอบได้ (Testable) เป็นระบบ (Systematic) ซึ่งหมายถึง
มีระเบียบและสอดคล้องกัน และปราศจาก อคติ (Value Free) โดย ผู้เกี่ยวข้องไม่อาจน�าอคติ หรือ

ไม่อาจน�าความล�าเอียงของตนเองเข้า ไปเก่ยวข้องในการบริหารภาครัฐได้ง่าย.ในส่วนท่เป็นศิลป

หมายถึง การบริหารภาครัฐในบาง กรณี (เช่นการใช้มนุษยสัมพันธ์ หรือการตัดสินใจของผู้บริหาร)
มีลักษณะเป็นนามธรรม (Abstract) เป็นประสบการณ์โดยเป็นความรู้ในส่วนที่มองเห็นและสัมผัส
ได้ยาก อาจเทียบได้ กับเรื่องทางจิตใจ พิสูจน์และทดสอบได้ยาก ไม่เป็นระบบที่ชัดเจน และมีอคติ


โดยผู้เก่ยวข้อง น�าอคติหรือน�าความล�าเอียงของตนเข้าไปเก่ยวข้องในการบริหารภาครัฐได้ง่าย

เม่อการบริหารภาครัฐเป็นท้งศาสตร์และศิลปดังกล่าว รัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารภาครัฐ

จึงมิใช่สูตรส�าเร็จที่จะน�าไปใช้แก้ไขปัญหาได้ทุกปัญหา หรือทุกกรณี

�������������������.indd 11 11/23/19 1:35 PM

12
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๖. การเปนวิชาชีพที่มั่นคง

รัฐประศาสนศาสตร์มีแนวโน้มท่จะเป็นวิชาชีพเพ่มมากข้น แต่การเป็นวิชาชีพ ท่ม่นคงจะ




เกี่ยวข้องกับความเป็นมืออาชีพ (Professional) ที่ท�าประโยชน์เพื่อสังคมหรือ ส่วนรวม ในลักษณะ

ของการให้บริการสาธารณะ และอ�านวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ท้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัต ิ
อย่างแท้จริง ในทางทฤษฎี เช่น นักวิชาการทางรัฐประศาสน ศาสตร์ ต้องเปิดกว้างท้งด้านจิตใจและ




การปฏิบัติงาน หนทางหน่งท่แสดงถึงการเปิดกว้างคือ การสร้างหรือส่งเสริมการผลิตผลงานท่ม ี
ลักษณะหรือมีเอกลักษณ์ทางรัฐประศาสนศาสตร์ ท่เน้นประโยชน์ของประชาชนและสังคมอย่าง

ชัดเจน ซึ่งบางเรื่องอาจแตกต่างจากแนวคิด เดิม ๆ ในอดีต ส่วนในทางปฏิบัติ เช่น สนับสนุนให้
นักบริหารจัดการหรือผู้บริหารมีภาวะ ผู้น�า หรือมีความเป็นมืออาชีพและมีความภาคภูมิใจในความ
เป็นมืออาชีพที่ท�าประโยชน์เพื่อ ส่วนร่วม
๗. การเปนสหวิทยาการของรัฐประศาสนศาสตร์
















วชาความรทเกยวกบรฐประศาสนศาสตรหรอการบรหารภาครฐมลักษณะ เปนสหวทยาการ
(Multi-Discipline) ซึ่งหมายถึง รัฐประศาสนศาสตร์ได้น�าวิทยาการของหลาย ๆ สาขาวิชามาปรับ
ใช้หรือประยุกต์ใช้ รัฐประศาสนศาสตร์ยังมีความคล่องตัวในการ หยิบยืมหรือเลือกสรรวิชาความรู้
ที่เป็นประโยชน์จากสาขาวิชาอื่น ๆ มาปรับใช้

ท่กล่าวมาน้นเป็นแนวคิดพ้นฐานเก่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์ท่ผู้ศึกษาควรท่จะน�าความ





เข้าใจร่วมกัน แต่บางประเด็นอาจจะยังไม่สามารถสรุปได้ ณ ช่วงเวลาน้ คงจะต้อง ให้เวลากับชุมชน

นักวิชาการเพื่อหาข้อสรุปที่เป็นสากลต่อไป
๑.๓ สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์
นอกจากการให้ค�าจ�ากัดความและความหมายของ รัฐประศาสนศาสตร์ จะก่อให้เกิดข้อ
สงสัย ถกเถียงในแวดวงวิชาการแล้ว ยังส่งผลต่อเนื่องไปถึงเรื่องสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์
จะเป็น อย่างไร ระหว่าง “ศาสตร์” ที่มีหลักการทฤษฎีที่แน่นอนชัดเจน หรือ “ศิลป” ที่เป็นการ

ปฏิบัติท่ สามารถยืดหยุ่นได้ จากการศึกษาสถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ มีนักวิชาการได้กล่าว

ไว้แตกต่างกัน โดยนักวิชากลุ่มหน่งได้เน้นสถานภาพของการบริหารงานซ่งเป็นหลักท่วไปและถือ




















เปนอกสวนหนึง รฐประศาสนศาสตร วาเปนทงศาสตรและศลป แตกยงมนกวชาการกลมหนงทเหน










ว่ารัฐประศาสนศาสตร์ซ่งมีความหมายกว้างขวางกว่าหลักการบริหารไม่เป็นท้งท้งศาสตร์และศิลป

ซึ่งผู้เขียนจะได้กล่าวโดยสังเขปให้เห็นถึงความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ดังนี้

สมพงษ์ เกษมศิลป ได้อธิบายโดยละเอียดและค่อนข้างชัดเจนว่า ในกรณีท่ พิจารณาว่าการ

บริหารเป็นศาสตร์นั้น ประการแรกจะต้องศึกษาหาขอบเขตของศาสตร์เสียก่อนว่าเป็น ประการใด
ศาสตร์ หมายถึง แนวคิดท่มุ่งหมายไว้และเจาะจงให้ได้ผลออกมามีค่าในทางคณิตศาสตร์ ซ่งสามารถ



๘ สมพงศ์ เกษมสิน, การบริหาร, พิมพ์คร้งท่ ๔, (กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพาณิช, ๒๕๑๗), หน้า ๑๕-๑๗.

�������������������.indd 12 11/23/19 1:35 PM

13
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ถอดสมการได้ หรือศาสตร์เป็นวิทยาการท่มีกฎเกณฑ์และหลักการท่สามารถน�าไปพิสูจน์ได้






เสมอในความหมายน้การบริหารก็จะไม่เป็นศาสตร์ แต่ถ้าพิจารณาในแง่ท่ศาสตร์หมายถึงส่งท่ม ี
ลักษณะเป็นความรู้ อันเกิดจากจากประสบการณ์จากการสังเกตการณ์ และจากสิ่งที่เป็นความจริง

ซ่ง บุคคลผู้ปฏิบัติจนช�านาญมีความแน่นอนเช่อถือได้ และได้น�าความจริงเหล่าน้มาจัดให้เป็นระเบียบ



เพ่อให้มีการศึกษาถ่ายทอดกันได้อย่างเป็นระบบจนสามารถท�านายพฤติกรรมและการบริหารงานได้
ในลักษณะเช่นนี้การบริหารย่อมมีลักษณะเป็นศาสตร์
ส่วนความพยายามท่จะศึกษาพิจารณาว่า การบริหารมีลักษณะเป็นศาสตร์โดยแท้น้น ประการ


แรก จักต้องงยอมรับว่าการบริหารมิได้เป็นวิทยาศาสตร์พิสุทธิ์ทางธรรมชาติ แม้ว่าจะมี นักวิชาการ

บางท่านพยามยามยืนยันให้เห็นว่า การบริหารเป็นการจัดการเชิงศาสตร์ ท่มีกฎเกณฑ์ สามารถ

พิสูจน์ได้โดยวิธีการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ เพ่อหาวิธีท่ดีท่สุดในการท�างาน และจัด ด�าเนินการตาม


วิธีการขั้นมูลฐานของการจัดระบบวิทยาศาสตร์คือ พัฒนาหลักการท�างาน (Development Prin-
Ciple Of Work) วางมาตรฐานในการท�างาน (Standard Of Work) และการ ควบคุมการท�างาน
(Control Of Work)










จากความพายามดงกล่าวน้ในทสดกพ่ายกบความจรงประการทว่าการบรหารไม่มลกษณะ




เป็นวิทยาศาสตร์พิสุทธ์ท่มีกฎเกณฑ์อันสามารถค�านวณหาค่าในทางคณิตศาสตร์ได้โดยแน่นนอน

ตายตัว เพราะการบริหารเป็นการศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและวิธีปฏิบัติงานของบุคคล ซึ่งมีความ
แตกต่างกนเป็นอนมาก ยากจะหากฎเกณฑ์ตายตัวส�าหรบใช้ในการปฏบัตให้เป็นหลักแน่นอนได้





ฉะนั้น การพิจารณาว่าการบริหารเป็นศาสตร์ จึงอาจเป็นไปได้ในความหมายของศาสตร์ทางสังคม
เท่านั้นแต่มิใช่เป็นวิทยาศาสตร์พิสุทธิ์



ในส่วนท่พจารณาว่าการบริหารมลักษณะเป็นศิลป ในทางปฏิบัตก็พบว่านักศึกษาและ

นักบริหารต่างมีความประทับใจในลักษณะอันสามารถยืดหยุ่นของการสร้างสรรค์ ในการบริหาร
น�าไปสู่ความส�าเร็จ และด้วยลักษณะท่ไม่สามรถก�าหนดได้ตายตัว การบริหารไม่เป็นศาสตร์ แต่เป็น

ศิลป และ การบริหารน่าจะเป็นศิลปอย่างเดียวจะเป็นอย่างอื่นไม่ได้ ข้อส�าคัญคือ ศิลป เป็นสิ่งที่
ถ่ายทอดกันได้ ยากไม่เหมือนศาสตร์เพราะขาดระบบอันเป็นระเบียบ
สมพงศ์ กล่าวต่อไปว่าอันท่จริงแล้ว การบริหารเป็นการน�าประสบการณ์และความรู้ท่ได้


ศึกษาเล่าเรียนไปประยุกต์ใช้จึงมีลักษณะเป็นศิลป นักบริหารหรือผู้บังคับบัญชาจะบริหารงานโดย
จะถือกฎเกณฑ์ตายตัวหาได้ไม่ แม้จะวางระเบียบไว้เข้มงวดเพียงใดก็ตามการบริหารจะไม่บรรล ุ
ถึงจุดประสงค์ได้ ถ้าไม่รู้จักศิลปในการบริหาร ไม่รู้จักการยืดหยุ่นหรืออ่อนตัวให้เหมาะสมกับ
กฎเกณฑ์ต่างๆ ในการบริหารงานผู้บริหารต้องมีความสามารถ มีประสบการณ์ มีทักษะเฉพาะของ

แต่ละบุคคล มิใช่ว่าผู้ท่มีต�าแหน่งเหมือนกันแล้วจะท�างานได้เท่ากันหมดก็หาไม่ หากแต่ต้องมีอ�านาจ

จูงใจ ให้ผู้อ่น ปฏิบัติงานและให้ความร่วมมือได้ แม้บางคนมีรูปร่างไม่ดีแต่มีความสามารถในการ
พูดจาปราศรัย ก็ เป็นเหตุจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามได้ การศึกษาศิลปในการบริหารจึงเป็น
เรื่องเกี่ยวกับบุคคล เวลา สถานที่ สถานการณ์และกรณีแวดล้อมอื่นเป็นส�าคัญ

�������������������.indd 13 11/23/19 1:35 PM

14
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์







ผสสด สัตยมานะ มความเหนในทางเดยวกันกบ สมพงศ์ เกษมศลป โดยกล่าวว่า การ


บริหารเป็นทั้งศาสตร์และศิลปพร้อมกันในตัวเอง การบริหารในแง่ที่เป็นศาสตร์ (Science) หมาย
ถึงวิชาท่อาจเรียนรู้ได้จากต�าราการค้นคว้าหาหลักเกณฑ์และทฤษฎีท่พึงเช่อถือได้ไว้ใช้ในการ บริหาร



งาน หรือเป็นการศึกษาพฤติกรรมและวิธีการปฏิบัติงานของคนซ่งมีความแตกต่างกัน แต่ท้งน้ก็ มิใช่



เป็นกฎเกณฑ์ตายตัว ส�าหรับใช้ในการปฏิบัติเป็นหลักแน่นอน ฉะน้น จึงอาจนับเร่องวิชาการ บริหาร


เข้าอยู่ในขอบเขตของศาสตร์ทางสังคม (Social Science)
ส่วนการมองการบริหารในแง่ของศิลป (art) น้น หมายถึง การบริหารลักษณะของการ ปฏิบัต ิ




งานท่ต้องอาศยความร้ความสามารถ และประสบการณ์ของแต่ละบคคลเข้ามาประกอบกัน

การ บริหารเป็นกรน�าความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนไปประยุกต์ใช้ จึงมีลักษณะเป็นศิลป นักบริหารจะ

บริหาร โดยยึดถือกฎเกณฑ์หรือระเบียบแบบแผนตายตัวไม่ได้ ซ่งศิลปในการบริหารก็ได้แก่ความ

สามารถ พิเศษและบุคลิกลักษณะส่วนตัว ซ่งสามารถน�ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับงานและ
สามารถโน้มน้าว จิตใจให้ผู้ปฏิบัติงานร่วมมือกับตน ให้บรรลุผลส�าเร็จได้


๑๐
อุทัย เลาหวิเชียร ได้ช้ให้เห็นสถานภาพของรัฐประศาสนศาตร์ท่ขาด เอกลักษณ์ของ
ลักษณะวิชา โดยกล่าวว่า รัฐประศาสนศาตร์ไม่ได้มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ และไม่ได้เป็นศิลปเช่น
กัน และยังไม่มีสถานะเป็นวิชาชีพในความหมายที่แท้จริงด้วย เพราะยังไม่มีใบอนุญาตให้ ประกอบ
วิชาชีพเป็นนักบริหารขาดจรรยาบรรณส�าหรับควบคุมสมาชิก ขาดมาตรฐานร่วมกันของ วิชาชีพ
และขาดเอกลักษณ์ของวิชาชีพในกลุ่มผู้ปฏิบัติ นอกจากนี้ อุทัยยังเห็นว่า รัฐประศาสนศาตร์ ไม่ใช่



สาขาหนงของสงคมศาสตร และกไมใชสาขาหนงของรฐศาสตรเชนกน ในความเหนของอทย รฐประ














ศาสนศาตร์คือ จุดสนใจในการศึกษา (Focus Of Study) เป็นสหวิทยาการ (Interdisciplinary)
เป็นสังคมศาสตร์ประยุกต์ (Applied Social Science) และเป็นกึ่งวิชาชีพ (Quasi Professional)
๑๑
ศิริพงศ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา กล่าวในเชิงสนับสนุนความเห็นของอุทัย เลาหวิเชียร โดย
กล่าวว่าการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์แม้จะมีกรอบเค้าโครง แนวคิดและทฤษฎีต่างๆ ที่ อาจศึกษา
ได้ก็ตาม แต่ก็มีลักษณะของการศึกษาเป็นแบบสังคมศาสตร์ หรืออาจเรียกว่า วิทยาศาสตร์ ทาง
สังคมเท่านั้น กล่าวคือการศึกษาทางสังคมศาสตร์ หรืออาจเรียกว่า วิทยาศาสตร์ทางสังคมเท่านั้น
กล่าวคือการศึกษาทางสังคมศาสตร์นั้นแม้จะมีคุณสมบัติที่ชัดเจน มีทฤษฎี มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน
และท�านายได้ก็จริง แต่ผลของการศึกษาจะมีลักษณะของแนวโน้มหรือความน่าจะเป็นเท่านั้น เช่น

หลักหรือกฎเกณฑ์ทางการบริหารท่นักวิชาการศึกษาค้นคว้าก�าหนดข้นมาเป็นหลัก POSDCORB

๙ ผุสสดี สสัตยมานะ, การบริหารรัฐกิจ, พิมพ์คร้งท่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : มงคลการพิมพ์, ๒๕๑๗), หน้า ๑-๒.



๑๐ อุทัย เลาหวิเชียร, ค�าบรรยายวิชารัฐประศาสนศาสตร์, (มหาวิทยาลัยรามคาแหง (ไม่ปรากฏท่พิมพ์) (๒๕๕๑)
หน้า ๔๔-๔๘
๑๑ ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา, ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์, (เชียงใหม่ : ภาควิชารัฐศาสตร์คณะ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๒), หน้า ๒-๗.
�������������������.indd 14 11/23/19 1:35 PM

15
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


ว่า เป็นหลักการบริหารท่เป็นสากล สามารถใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการบริหารงานในองค์การต่างๆ

















ไดทกชนด ทกขนาด ทกประเภท ไดอยางมประสทธภาพสงสด ซงกฎหรอหลกเกณฑทางการบรหาร




อันน้ถือ ว่ามีความชัดเจนและสามารถท�านายได้ แต่ผลท่ได้รับอาจไม่เป็นจริงเสมอไป น่นคือบาง
ครั้งไม่สามารถ น�าเอาหลักเกณฑ์นี้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด คือผลงานที่ได้รับอาจไม่เท่ากัน





ซงผดกบกฎของ วิทยาศาสตร์ทสามารถท�านายผลทจะเกิดข้นได้อย่างถกต้องทกคร้งโดยไม่มข้อ








ยกเว้น
ศิริพงษ์ อธิบายเพิ่มเติมต่อไปว่า ถ้ารัฐประศาสนศาตร์ไม่มีฐานะทางวิทยาศาสตร์แล้ว รัฐ
ประศาสนศาสตร์จะมีฐานะเป็นศิลปหรือไม่ ในความเห็นของศิริพงษ์ค�าว่า ศิลป หมายถึง การท�างาน
ที่ต้องอาศัยความสามารถ ของแต่ละคนในการสอดแทรกอารมณ์ลงไปในผลงานของตนอย่างเต็มที่



เพ่อจะให้ได้งานท่ดีท่สุดออกมา ส่วนนักบริหารน้นจะมีลักษณะแตกต่างจากศิลปิน บทบาทท่ส�าคัญ



ของนักบริหารก็คือการบริหารงานให้บรรลุเป้าหมายท่ก�าหนดไว้ ถ้ามีปัญหานักบริหารก็ต้องเสาะหา


วิธีการท่จะน�ามาใช้ในการแก้ไขปัญหาให้หมดส้นไปโดยเร็ว เพราะฉะน้นการปฏิบัติงานของนักบริหาร

จะเป็นเครื่องวัดว่า เป็นนักบริหารที่ดีหรือไม่ดี ประสบความส�าเร็จหรือไม่ ก็วัดได้จากงานที่เขาท�า
ว่า เขาสามารถบริหารงานให้บรรลุตามเป้าหมายท่ก�าหนดไว้ อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ ซ่งผลงาน


ที่ ปรากฏสามารถวัดได้ง่ายกว่าผลงานของศิลปิน
ดังน้น จึงได้สรุปว่า รัฐประศาสนศาสตร์ไม่ใช่ ศิลป รัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะเป็น

สหวิทยาการประกอบไปด้วยองค์ความรู้ท่กระจัดกระจายโดย รวบรวมเอามาจากหลายสาขาวิชา

สุดแต่ผู้ศึกษาจะให้ความสนใจในเรื่องใดหรือมีพื้นความรู้มาอย่างไร
๑๒
สร้อยตระกูล อรรถมานะ ได้อธิบายให้เกิดความกระจ่างชัดว่า ในความเป็น จริงศาสตร์





นนมหลายประเภทซงอาจแบ่งประเภทซงอาจแบ่งกว้างๆ ได้เป็นวทยาศาสตร์ธรรมชาต และ






สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์เป็นศาสตร์ท่ว่าด้วยเร่องของสังคมมนุษย์โดยเฉพาะสาขาวิชาสาธารณ
บริหารศาสตร์นั้น จ�าเป็นต้องเกี่ยวข้องกับค่านิยม เชิงปทัสถาน (Normative Value) พฤติกรรม
ของ มนุษย์ซึ่งยากจะท�านายได้ และสภาพจ�าเพาะของแต่ละสังคม ซึ่งเป็นสถานที่ที่มีพรมแดนและ

ต�าแหน่ง ท่แตกต่างกัน และมีประสบการณ์ทางประวัติศาสตร์ของตนโดยเฉพาะ ลักษณะเหล่าน ี ้
ท�าให้การบริหารราชการไม่มีลักษณะของศาสตร์
ศาสตร์ในเชิงปฏิบัตของการบริการประกอบไปด้วย ข้อเสนอท่ว่าบคคลควรจะประพฤต ิ



ปฏิบัติอย่างไร ถ้าเขาปรารถนาจะให้กิจกรรมของเขาบรรลุวัตถุประสงค์ในการบริหาร ได้มากที่สุด
ศาสตร์ประยุกต์หรือศาสตร์เชิงปฏิบัติในทางบริหารหรือสังคมศาสตร์ประยุกต์น้ จะต้องพยายาม



ศึกษา ข้อเสนอเชิงประจักษ์อันเป็นระบบซ่งเป็นศาสตร์บริสุทธ์หรือสังคมวิทยาการบริหารได้สร้างข้น

ทั้งนี้ เพื่อน�าไปปรับใช้ในระบบที่สมบูรณ์ระบบใดระบบหนึ่ง อาจพิจารณาได้ว่า เรื่องของการปรับ
ใช้ศาสตร์ ในทางปฏิบัติซึ่งต้องเป็นไปอย่างมีศิลปะนั่นเอง

๑๒ สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, สาธารณบริหารศาสตร์, พิมพ์คร้งท่ ๓. (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐), หน้า ๑๑.๒๔.
�������������������.indd 15 11/23/19 1:35 PM

16
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

เม่อได้มีการพิจารณาความคิดเห็นของนักวิชาการดังท่กล่าวมา ผู้อ่านอาจเกิดความสับสน



ใน สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ อย่างไรก็ตาม จะเห็นว่าประเด็นท้งความเป็นศาสตร์และศิลป
นั้น ขึ้นอยู่กับการให้ค�าจ�ากัดความว่า “ศาสตร์” และ “ศิลป” ของนักวิชาการแต่ละราย ผู้เขียนเอง

เห็นว่า มิได้มีความขัดแย้งกันแต่ประการใด การท่รัฐประศาสนศาตร์จะเป็นท้งศาสตร์และศิลป หรือ

เป็นสห วิทยาการ ขึ้นอยู่กับสมมติฐานเบื้องต้นในการให้ค�าจ�ากัดความของค�าว่า ศาสตร์ และ ศิลป
ว่ามี ความหมายและขอบเขตเป็นอย่างไร การพิจารณาให้เหตุผลถึงสถานภาพของรัฐประศาสนศาต



ร์ของ นักวิชาการท้งหลาย ย่อมก่อให้เกิดมุมมองท่หลากหลาย และก็ต่างเก้อกูลก่อให้เกิดประโยชน์
ใน ความรู้ความเข้าใจรัฐประศานศาสตร์มากยิ่งขึ้น ในที่นี้ผู้เขียนเห็นว่า ความเป็นศาสตร์ น่าจะมี
ความหมายในแง่สาขาวิชา ซึ่งเกี่ยวโยงถึงทฤษฎีทางสังคม แนวความคิด หรือหลักการ เพื่อใช้เป็น
แนวปฏิบัติในโลกของความเป็นจริง ส่วนความเป็นศิลป น่าจะมีความหมายในแง่กิจกรรมหรือ
กระบวนการบริหารงานจริง ซึ่งต้องอาศัยความเป็นศิลปของนักบริหาร เพื่อที่จะท�างานให้ประสบ
ความส�าเร็จ โดยนักวิชาการทางด้านรัฐประศาสนศาตร์จะสามารท�าการศึกษาวิจัยและน�า ประสบการณ์
ของผู้บริหารที่มีความแตกต่างในเรื่องบุคคล สถานที่ เวลา และสภาพแวดล้อม กลับมา ปรับปรุง

แก้ไขเพิ่มเติมทฤษฎีทางสังคม แนวความคิด หรือหลักการที่มีอยู่ ให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น

๑.๔ รัฐประศาสนศาตร์กับการบริหารธุรกิจ
รัฐประศาสนศาสตร์เป็น “สหวิทยาการ” (Interdisplinary) หมายถึง รัฐประศาสนศาสตร์
คือ การสอนท่มีความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา จิตวิทยา


เป็นต้น รวมวิชาความรู้ หรือวิทยาการเหล่าน้นประกอบเข้ากันเป็นสหวิทยาการ จัดเป็นสังคมศาสตร์
ประยุกต์ เพ่อน�าความรู้ไปประยุกต์ใช้ปรับปรุงองค์กร โดยท่รัฐประศาสนศาสตร์ไม่มีฐานะเป็นศาสตร์










หรอเป็นจดเลกๆ ทน่าสนใจในการศกษา ถ้าต่อกนจะเป็นศาสตร์ทสมบรณ์ เนอหากว้างขวาง




ซับซ้อน จึงไม่สามารถใช้ศาสตร์เดียวศึกษาได้
การบริหารภาครัฐ เรียกตามรูปศัพท์ว่า การบริหารรัฐกิจ (Public Administration) คือ
การด�าเนินการท้งปวงของฝายบริหาร (ยกเว้นอ�านาจของฝายนิติบัญญัติและตุลาการ) โดยมีจุด







มงหมายใหนโยบายของรฐทวางไวบรรลผล อาจมองไดทงเปนการปฏบตการ และการเป็นสาขาวชา










แขนงหนึ่ง การบริหารและจัดการภาครัฐจะไม่เหมือนการบริหารธุรกิจที่เน้นก�าไรสูงสุด แต่เป็นการ
เน้นการ ให้บริการที่ให้ลูกค้าพึงพอใจ โดยลูกค้าก็คือประชาชนที่มาใช้บริการ และต้องเป็นการให้
บริการต่อ (ลูกค้า) ทุกคนอย่างเป็นธรรม





ค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” เป็นช่อทางการท่ใช้มาก่อนต้งแต่เร่มก่อต้งรกราก เป็นสถาบัน

การศึกษาข้นมา โดยแรกเร่มเดิมทีน้นใช้ค�าว่า “รัฐประศาสนศึกษา” ก่อนแล้ว เปล่ยนเป็น



“รัฐประศาสนศาสตร์” แต่อย่างไรก็ตามค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” ที่ใช้อยู่ใน สมัยแรกเริ่มนั้น
เป็นที่เช้าใจว่าน่าจะหมายถึงการศึกษาทางด้าน “รัฐศาสตร์” มากกว่า เพราะมีความหมายถึงวิชา







ว่าด้วยการเมอง แต่เนองจากในระยะแรกนนยงไม่มคาว่า “รัฐศาสตร์” ใช้จึงได้ใช้คาว่า


�������������������.indd 16 11/23/19 1:35 PM

17
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



“รัฐประศาสนศาสตร์” เพราะมีความหมายท่เข้าใจกันโดยท่วไป ว่า “การเมืองการปกครอง”
จวบจนกระทั่งราว ๆ พ.ศ. ๒๔๗๖ จึงได้มีค�าว่า “รัฐศาสตร์” เริ่มใช้อย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก
โดยการบัญญัติศัพท์ของพระองค์เจ้าวรรณ ไวทยากร เพื่อจะแปลค�าว่า “Political Science” และ
ถึงแม้ว่าในระยะหลังต่อมา เมื่อคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้มีการปรับปรุงหลักสูตร

ชั้นปริญญาตรี เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ ซึ่งปรากฏว่าทางคณะฯ ได้ตั้งสาขาบริหารรัฐกิจขึ้นมาเป็นสาขา


หน่งในจ�านวนส่สาขาของ คณะฯ และในขณะท่ได้มีการพิจารณาหลักสูตรสาขาบริหารรัฐกิจของ

คณะฯในระดับทบวงฯ ได้มีผู้แทนจากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เสนอว่าควรใช้ค�าว่า
“รัฐประศาสนศาสตร์” แทน “บริหารรัฐกิจ” โดยให้เหตุผลว่าหากหลักสูตรมุ่งอบรมนักศึกษาในแง่
ทฤษฎี แล้ว ก็น่าจะใช้ค�าว่า "รัฐประศาสนศาสตร์" มากกว่า เพราะค�าว่า "รัฐประศาสนศาสตร์" มี
ความหมายถึงลักษณะวิชาตรงกับค�าภาษาอังกฤษว่า Public Administration ส่วนค�าว่า “บริหาร
รัฐกิจ” หมายถึงกิจกรรมการบริหาร ซึ่งตรงกับค�าภาษาอังกฤษว่า Public Management แต่ใน


ท้ายท่สุดก็ปรากฏว่าคณะฯ ยังยืนยันใช้ค�าว่า “บริหารรัฐกิจ” จนถึงปัจจุบันน้ จากกรณีนับได้ว่าเป็น


ตัวอย่างหน่งของความขัดแย้งกันทางความคิดเห็นเก่ยวกับ การท่จะเลือกใช้ค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”

หรือ “บริหารรัฐกิจ”
วิชารัฐประศาสนศาสตร์ หรือบริหารรัฐกิจน้ได้มีการริเร่มศึกษากันอย่างเป็นระบบ ระเบียบ


จริงจังเป็นคร้งแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท้งน้โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรม





วงศ์เธอ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ เป็นหัวเร่ยวหัวแรงคนส�าคัญใน ฐานะท่เป็นต้นคิดริเร่มด�าเนินการ

และมีเจ้าพระยาพระเสด็จ (ม.ร.ว.เปย มาลากุล) ซ่งเวลา น้นยังเป็นพระยา'วิสุทธิสุริยศักด์ เป็นก�าลัง




ส�าคญอีกคนหน่งท่ช่วยจัดการมาแต่ต้นจนส�าเร็จ ในการจัดต้งสถาบันการศึกษาเพ่อฝกฝนอบรม




คนไทยส�าหรับเข้ารับราชการ และอันเน่องมาจากการท่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด�ารง




ราชานุภาพ ไต้ทรงริเร่มปลูกฝังและพัฒนาระบบการบริหารรัฐกิจสมัยใหม่ข้นในประเทศไทยน้เอง

จึงส่งผล ให้พระองค์ทรงไต้รับการยกย่องให้เป็น “บิดาแห่งการบริหารรัฐกิจสมัยใหม่ของไทย”


จากนักวิชาการท้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ และนอกจากน้พระองค์ยังทรงไต้รับการยกย่อง
ว่าเป็นผู้มีความรู้ความสามารถอย่างมากในต้านการบริหารราชการจากพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้า
๑๓
เจ้าอยู่หัว ให้เลื่อนกรมพระยาด�ารงราชานุภาพ เป็นสมเด็จกรมพระยาด�ารงราชานุภาพ
โดยใจจริงแล้วผู้เรียบเรียงรู้สึกพึงพอใจค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” มากกว่า ค�าว่า “บริหาร

รัฐกิจ” ท้งน้อาจจะเป็นเพราะเหตุผลง่าย ๆ ว่าคุ้นเคยกับค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” มาก่อน

อีกทั้งค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์” มีภาพของความเป็นวิชาการดีกว่า ตรงที่มีค�าว่า “ศาสตร์” พ่วง
ท้ายอยู่ด้วย ท�านองเดียวกับ สาขาวิชาอื่น ๆ ส่วนใหญ่ เช่น รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์
ศึกษาศาสตร์ แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ฯลฯ
๑๓ เฉลิมพล ศรีหงส์, เอกสารทางวิชาการ พัฒนาการของสาขาวิชาการบริหารรัฐกิจ, (กรุงเทพมหานคร : คณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, ๒๕๓๙), หน้า ๔๔-๔๘.

�������������������.indd 17 11/23/19 1:35 PM

18
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๑.๕ ขอบข่ายการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์


รัฐศาสตร์ (Political Science) เป็นสาขาวิชาท่เกิดข้นในราวศตวรรษที่ ๑๙ ซ่งนักรัฐศาสตร์




ยุคแรกน้นพัฒนากระบวนวิชาข้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทา
นิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ
การปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (Empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์
ที่พยายามแสวงหา และท�าความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์
ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การ
ปกครอง (government) หรือการเมือง


กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหน่งซ่งแบ่งการศึกษาออก

เป็น สาขาต่างๆ อาทิปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง
ทฤษฎี การเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ
รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบัน
ทางการเมือง,การเมองระหว่างประเทศ การปกครองและการบรหารรฐ (National Politics),



การเมือง การปกครองท้องถิ่น (Local Politics) เป็นต้น [๓] ซึ่งสาขาต่างๆ เหล่านี้อาจแปรเปลี่ยน
ไปตามแต่ละ สถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวน


วิชาใดน้นเป็น รัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ข้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ “การเมือง”
เป็นมโนทัศน์ หลัก (Crucial Concept/key Concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา
(Scholar) น้น รัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยท่เป็นหลักอย่างน้อย ๓ สาขา คือ สาขาการปกครอง


(Government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (Public Administration) และความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ (International Relation)




รัฐศาสตร์ คือ ศาสตร์ท่ว่าด้วยรัฐ อันเป็นสาขาหน่งของวิชาสังคมศาสตร์ ท่กล่าวถึงเร่องราว


เก่ยวกับรัฐ ว่าด้วยทฤษฎีแห่งรัฐ การวิวัฒนาการ มีก�าเนิดมาอย่างไร สถาบันทางการเมืองท่ท�าหน้าท ่ ี

ด�าเนินการปกครองมีกลไกไปในทางใด การจัดองค์การต่างๆ ในทางปกครอง รูปแบบของรัฐบาล
หรือสถาบันทางการเมืองที่ต้องออกกฎหมายและรักษาการณ์ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความ
สัมพันธ์ ของเอกชน (Individual) หรือกลุ่มชน (Group) กับรัฐ และความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ
ตลอดจน แนวคิดทางการเมืองท่มีอิทธิพลต่อโลก ตลอดจนการแสวงหาอ�านาจของกลุ่มการเมือง

หรือภายใน กลุ่มการเมือง หรือสถาบันการเมืองต่างๆ เพื่อการปกครองรัฐให้เป็นไปด้วยดีที่สุด
จากความหมายดังกล่าว รัฐศาสตร์จึงมีความเก่ยวพันกับสังคมศาสตร์ทุกสาขาวิชาอย่างแยก

ไม่ออก การท่เราจะศึกษาวิชารัฐศาสตร์จ�าเป็นต้องก�าจัดขอบเขต โดยวิชารัฐศาสตร์จะมุ่งเน้นศึกษา

เป็นพิเศษใน ๓ หัวข้อ คือ
๑. รัฐ (State)

๒. สถาบันการเมือง (Political Institutions)

๓. ปรัชญาการเมือง (Political Philosophy)

�������������������.indd 18 11/23/19 1:35 PM

19
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๑. รัฐ (State) เป็นหัวใจของวิชารัฐศาสตร์ เราจ�าเป็นท่จะต้องศึกษาว่า รัฐคืออะไร

ความหมายและองค์ประกอบของรัฐ ก�าเนิดของรัฐ และวิวัฒนาการของรัฐ และแนวคิดต่างๆ
ที่ เกี่ยวข้องกับรัฐ




๒. สถาบันทางการเมือง (Political Institutions) หมายถึง องค์กรหรือหน่วยงานท่ ก่อต้งข้น


เพอประโยชน์ในการปกครองและดาเนนกจการต่างๆ ของรฐทงภายในและภายนอกประเทศ








ซ่งอาจจะก่อต้งข้นโดยกฎหมายของรัฐ หรืออาจก่อต้งข้นโดยการร่วมใจกันของเอกชน หรือตาม



ประเพณีก็ได้ สถาบันทางการเมืองมี สภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐบาล พรรคการเมือง เป็นต้น
๓. ปรัชญาทางการเมือง (Political Philosophy) คือ ความคิดความเชื่อของบุคคล กลุ่ม



ใดกลุ่มหน่ง ในยุคใดยุคหน่ง อันเป็นรากฐานของระบบการเมืองท่เหมาะสมกับส่งแวดล้อมและ


ความต้องการของตน หมายความรวมถึง อุดมการณ์หรือเป้าหมายท่จะเป็นแรงผลักดันในมนุษย์

ปฏิบัติการต่างๆ เพ่อให้บรรลุเป้าหมายน้นๆ เช่น ผู้บริหารประเทศไทยมีปรัชญาทางการเมืองท่มุ่ง


ในทางพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าทางด้านอุตสาหกรรมและทางกสิกรรม กับปรารถนาให้




ประชาชาติมีการกินดีอยู่ดี ซ่งส่งเหล่าน้เป็นวัตถุประสงค์ (Objective or Ends) แต่การท่จะปฏิบัติ (Means)

น้นอาจจะใช้ระบบประชาธิปไตยแบบไทยๆ ซ่งก็เป็นวิถีทางท่อาจจะน�ามาถึงจุดมุ่งหมาย น้นๆ ก็ได้



รัฐประศาสนศาสตร์กับกรบริหารธุรกิจมีท้งความคล้ายคลึงและความแตกต่างกันหลาย




ประการ ในส่วนท่มีความคล้ายคลึงกันน้นจะเห็นได้ว่า ท้งสองฝายมีจุดร่วมท่ต่างฝายก็มุ่งเน้นในเร่อง


การบริหารงาน ซึ่งเกี่ยวข้องในเรื่องของการร่วมมือด�าเนินการหรือปฏิบัติการของกลุ่มบุคคลที่มุ่งสู่
การบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ก�าหนดขึ้น อย่างไรก็ตาม รัฐประศาสนศาสตร์ก็มีเอกลักษณ์
ของ ตนเองแตกต่างจากการบริหารธุรกิจในเร่องส�าคัญหลายประการ การบริหารงานสาธารณะ

(Unique Consideraions In Public Sector Administration) ในหัวข้อ ต่อไปนี้คือ
๑. วัตถุประสงค์และความต้องการความช�านาญ (Agency Objectives And Skill
Requirements)
๒. ความสัมพันธ์ระหว่างความอยู่รอดกับผลการปฏิบัติงาน (Linkage Between
Survival And Performance)
๓. การขาดการวัดผลการปฏิบัติงาน (Lack Of Performance Measures)
๔. ข้อจ�ากัดต่างๆของการบรรลุวัตถุประสงค์ (Constraints On The Achievement
Of Objective)

๕. มาตรฐานการปฏิบัติงานและผลประโยชน์ท่ขัดกัน (Performance Standards And
Conflicting Interests)
๖. การขาดความรับผิดชอบ (Lack Of Accountability)
๗. ผลกระทบจากการขาดความเป็นมืออาชีพ (Impact Of Nonprofessionals)
๘. เรื่องปลีกย่อยอื่นๆ (Miscellaneous Considerations)

�������������������.indd 19 11/23/19 1:35 PM

20
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

สร้อยตระกูล อรรถมานะ ได้ชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างของภาคสาธารณะซึ่ง เน้นในเรื่อง
๑๔
ของสาธารณะ และโดยากจะอยู่ในแวดดวงของราชการกับภาคเอกชนซ่งเน้นในเร่อง ส่วนตัวหรือ


ส่วนบุคคลในประเด็นส�าคัญต่างๆ ดังต่อไปนี้
๑. การเป็นไปตามกฎหมาย
๒. งบประมาณ
๓. ขอบเขตและผลกระทบ
๔. เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
๕. การตรวจสอบและสอดส่องดูแลทางสาธารณะ
๖. ความเกี่ยวข้องทางการเมือง
๗. ทัศนคติ
๘. ความมันคงและความต่อเนื่อง
๙. ความคาดหวังของประชาชน

๑๕
Gordon And Milakovich ได้อธิบายความ คล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างการ
บริหารงานภาคสาธารณะกับภาคเอกชน (Public And Private Administration: Similarities
And Differences) ความคล้ายคลึงกันได้แก่การบริหารงานท่มีการออกแบบและก�ากับให้บรรล ุ

วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพในการทรัพยากร และก่อให้เกิด ผลกระทบท่มีประสิทธิผลส�าหรับ

ความแตกต่างมีหลายประการ เช่น สภาพแวดล้อมการบริหารที่แตกต่างกัน การวัดผลการปฏิบัติ
งาน การค�านึงถึงแรงกดดันทางการเมืองและระเบียบราชการ ความรับผิดชอบในผลของการบริหาร
งาน การตรวจสอบและสอดส่องดูแลจาสาธารณชนในความเห็นของ กอร์ดอน และมิลาโควิช
(Gordon And Milakovich) ท้งภาครัฐและเอกชนเร่มมีความสัมพันธ์เพ่ม มากข้นในปัจจุบัน เน่องจาก





การที่ภาครัฐเริ่มที่จะมีการมมอบหมายหรือจ้างภาคเอกชนให้ท�าหน้าที่ใน บางเรื่องแทน เช่น การ
รักษาความปลอดภัย การรักษาความสะอาด เป็นต้น
ความคล้ายคลึงในการบริหารงานภาครัฐและการบริหารงานภาคเอกชนอยู่ท่เร่องการบริหาร



จัดการทรัพยากรขององค์การอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของ
องค์การที่ตั้งไว้ นักบริหารทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมีบทบาทคล้ายคลึงกัน กล่าวคือต้องใช้ความรู้
และ ความช�านาญด้านการบริหาร เพื่อบริหารจัดการกิจการของหน่วยงานให้บรรลุผลส�าเร็จอย่าง


มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดความพึงพอใจกับทุกฝายท่เก่ยวข้อง ในส่วนของความ

แตกต่างน้น ผู้เขียนจะได้อธิบายพอสังเขปถึงความแตกต่างระหว่างการบริหารงานภาคสาธารณะ
และ การบริหารภาคเอกชน โดยประมวลจากแนวคิดต่างๆ ของนักวิชาการที่กล่าวมาข้างต้น

๑๔ สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, สาธารณบริหารศาสตร์, หน้า ๒๔-๒๙.
๑๕ Gordon, George, J., & Milakovich, Michael, E., Public administration in America 5thed, (New
York : St. Martin's Press. 1955), p.18-20.

�������������������.indd 20 11/23/19 1:35 PM

21
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๑. ข้อจ�ากัดเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ

หน่วยงานภาครัฐถูกสร้างข้นมาโดยกฎหมาย จึงจ�าเป็นท่จะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ระเบียบ







ข้อบังคับท่กฎหมายน้นๆ ก�าหนดข้น กฎหมายท่จัดต้งหน่วยงานภาครัฐอาจเป็นพระราชบัญญัต ิ
พระราชกฤษฎีกา หรือกฎข้อบังคับอ่นๆ ท่อาศัยอ�านาจของกฎหมาย ส�าหรับหน่วยงานเอกชน


จัดตั้งขึ้น ด้วยความยินยอมพร้อมใจของเจ้าของทุน เพื่อด�าเนินธุรกิจ แม้การจัดตั้งนิติบุคคลในรูป
บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วน จะต้องด�าเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมายก็ตาม แต่หน่วยงานธุรกิจก็สามารถ

ก�าหนด กฎเกณฑ์ข้อบังคับในการบริหารธุรกิจของตนเองได้ ซ่งรวมถึงการก�าหนดหรือปรับปรุง
โครงสร้างของ หน่วยงานไม่ยาก ในขณะที่หน่วยงานภาครัฐจะปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานได้
ยาก เพราะต้องการด�าเนินให้ถูกต้องตามกฎหมาย
๒. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
หน่วยงานภาครัฐด�าเนินงานเพ่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ท่ก�าหนดข้นโดยกฎหมาย วัตถุประสงค ์













หลกของการบรหารงานภาครฐคอการให้บรการสาธารณะกับชมชน ไม่ใช่เพ่อหาผลกาไร ดงนน



จึงเป็นการยากท่จะวัดผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐในรูปของตัวเงิน ซ่งแตกต่างจากองค์การ

ธุรกิจท่แสวงหาผลก�าไร โดยอาจมีการก�าหนดเป้าหมายในการรับผลก�าไรจากการประกอบการใน
แต่ละป และสามารถปฏิบัติงานในรูปของตัวเงินได้ หน่วยงานของภาคเอกชนสามารถก�าหนดนโยบาย
ของตนเอง และผ่อนคลายระยะเวลาในการปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ก�าหนดขึ้นได้ ซึ่งผิด

กับ หน่วยงานภาครัฐท่อาจจะต้องด�าเนินการกิจการบางอย่างด้วยความรวดเร็ว เน่องจากถูกแรง

กดดัน จากกลุ่มผลประโยชน์ หรือการเรียกร้องจาสังคมให้แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
๓. ความรับผิดชอบ
ผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐจะต้องรับผิดชอบในการบริหารงานกับผู้บังคับบัญชาตาม
กฎหมาย และยังต้องค�านึงถึงบุคคลฝายต่างๆ เช่นนักการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ประชาชนที่มาใช้



บรการ และสาธารณชน สาหรบผบรหารในหนวยงานภาคเอกชนจะตองรบผดชอบโดยตรงตอผถอหน













แม้ว่าจะต้องค�านึงถึงความต้องการของลูกค้าบ้างก็ตาม แต่ก็มีความรับผิดชอบน้อยว่าผู้บริหารภาครัฐ
๔. การควบคุมการท�างานของผู้ใต้บังคับบัญชา





เปนทปรากฏชดเจนวาผบรหารงานในหนวยงานภาครฐมขอจากดในทางกฎหมายทจะบงคบ













บัญชาลูกน้องในหน่วยงานได้น้อยกว่าผู้บริหารในหน่วยงานภาคเอกชน เนื่องจากข้อจ�ากัดเกี่ยวกับ
การ บริหารงานบุคคลภาครัฐที่มีกฎหมายคุ้มครองอยู่
๕. ค่าใช้จ่ายที่ใช้ในการด�าเนินงานของภาครัฐและภาคเอกชน
โดยทั่วไปหน่วยงานของรัฐได้รับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายประจ�าปจากรัฐบาล ใน

ขณะท่หน่วยงานภคเอกชน ได้รับเงินค่าใช้จ่ายจากเงนลงทุนของบรรดาผู้ลงทุน หรือรายได้จากการ

ขายสินค้าและบริการ อย่างไรก็ตาม ในขณะนี้ รัฐบาลได้ให้เงินช่วยเหลือภาคเอกชนเพิ่มขึ้นในบาง


กิจกรรมท่เห็นว่าภาคเอกชนสามารถด�าเนินการเองได้และเข้ามารับผิดชอบในการบริการสงคมแทน
�������������������.indd 21 11/23/19 1:35 PM

22
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

หน่วยงานภาครัฐ ในขณะเดียวกันหน่วยงานของรัฐบาลอาจขอรับเงินบริจาคสนับสนุนจากภาค



เอกชน เพ่มย่งข้นกว่าเดิม เช่น กรณีรัฐบาลสนับสนุนเงินการศึกษาให้กบโรงเรียนเอกชน ตามนโยบาย

การจัดการศึกษาข้นพ้นฐาน ๑๒ ป โดยไม่ต้องให้นักเรียนหรือผู้ปกครองสามารถเสียค่าใช้จ่าย เป็นต้น

๖. ความเกี่ยวข้องและความสัมพันธ์กับกระบวนการทางการเมือง


การบริหารงานภาครัฐเก่ยวข้องกับการบริการประชาชน ซ่งในการบริหารหน่วยงานภาครัฐ

จะต้องเข้าไปเก่ยวข้องในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และอาจมีบุคคลฝายต่างๆ เข้ามาเก่ยวข้อง

ในการบริหารงานภายในหน่วยงาน ซึ่งได้แก่ประชาชน นักการเมือง ส่วนราชการอื่นๆ ฉะนั้นในการ

ตัดสินใจเร่องใดๆ ของผู้บริหารในหน่วยงานภาครัฐอาจต้องค�านึงถึงสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สังคม และการเมืองมากว่าผู้บริหารในหน่วยงานภาคเอกชน
อย่างไรก็ตาม แนวโน้มในปัจจุบัน รัฐบาลได้เริ่มลดบทบาทของภาครัฐลงและใช้บริการของ
ภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น ธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์ ได้ชี้แจงว่า ในการปฏิรูประบบราชการ รัฐบาลได้
๑๖
ให้ความเห็นชอบในการจัดกลุ่มงานออกเป็น ๖ กลุ่ม กลุ่มแรก คืองานท่ต้องด�าเนินการโดยส่วน



ราชการ เป็นงานต้องใช้อ�านาจรัฐ เป็นงานท่ต้องมีการบังคับ หรือว่าเป็นงานท่ต้องอ�านวยความ
ยุติธรรม เป็นงานที่ต้องด�าเนินงานในรูปของส่วนราชการ กลุ่มที่ ๒ เป็นงานในเชิงพาณิชย์ หรือเชิง
อุตสาหกรรม เป็นงานที่หารายได้เข้ารัฐ เป็นงานที่หาก�าไร เป็นงานที่อาจมีโบนัสมาแบ่งกันได้ ก็ให้
ด�าเนินการในรูปของรัฐวิสาหกิจ กลุ่มท่ ๓ เป็นการบริการสาธารณะที่รัฐเป็นผู้ด�าเนินการ แต่ไม่

สามารถหาก�าไรเข้ารัฐในเชิงพาณิชย์หรือเชิงอุตสาหกรรม แต่มีความจ�าเป็นต้องมีความคล่องตัวใน
การบริหารจัดการสูงกว่างานราชการทั่วไป ให้ด�าเนินการในรูปองค์การมหาชน กลุ่มที่ ๔ คืองานที่
ควร ให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นรับไปท�า แต่ต้องได้รับการสนับสนุนดูแลจากรัฐบาล กลุ่มที่ ๕







คองานท่ จ�าเป็นต้องทา แต่มีหน่วยงานอนสามารถทางานแทนรฐได้ ก็ควรให้องค์กรเอกชน หรือ

องค์การ ประชาชนรับไปด�าเนินการ และกลุ่มท่ ๖ งานท่รัฐไม่ควรจะด�าเนินการต่อไป เพราะว่า


เอกชน ด�าเนินการเองได้ ควรจะมอบหรือถ่ายโอนให้เอกชนรับไปด�าเนินการ

๑๖ ธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์, “องค์การมหาชนตามแนวปฏิรูประบบราชการไทย” ใน อาหารเสริมสมองนักบริหาร,

พิมพ์คร้งท่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : ประชาชน, ๒๕๔๓), หน้า ๗๖-๗๗.

�������������������.indd 22 11/23/19 1:35 PM

23
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

สรุปท้ายบท

รัฐประศาสนศาสตร์มาจากค�าในภาษาอังกฤษคือ “Public Administration” และ/หรือ
“Public Administration” จากการศึกษา ค�านิยามและความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์จาก

นักวิชาการท่ได้กล่าวมาข้างต้น จะพบว่าเป็นเร่องยากท่จะสรุปความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์




ออกมาให้ได้ใจความท่กะทัดรัด อย่างไรก็ตาม อาจเป็นท่ยอมรับได้ในระดับหน่งว่า รัฐประศาสน

ศาสตร์มีความหมายที่เกี่ยวข้องกับ สาขาวิชา หรือการศึกษาการด�าเนินงาน การบริหารงานของรัฐ


ท่มีหลักการ ทฤษฎีหรือกฎเกณฑ์ต่างๆ อย่างชัดเจน เพ่อใช้เป็นแนวทางให้กับนิสิต นักศึกษา




นักวิชาการ หรือผู้ท่สนใจ ศึกษาหาความรู้ โดยจะมช่อเรียกว่า “รฐประศาสนศาสตร์” หรือ “สาธารณ
บริหาร” และการใช้ภาษาอังกฤษว่า “Public Administration” ที่มีอักษรน�าหน้าเป็นตัว P และ


A ตวใหญ่ ส่วนความหมายทเกยวข้องกบกจกรรม การบรหารงานของรฐบาล ซ่งเป็นด้านความ








สามารถของผู้บริหารท่จะด�าเนินกิจกรรมให้ประสบผลส�าเร็จตามวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายของ

องค์กรได้ จะเรียกว่า “การบริหารราชการ” หรือ “การบริหารรัฐกิจ” และใช้ภาษาอังกฤษว่า
“Public Administration” ที่มีอักษรน�าหน้าเป็นตัว p และ a ตัวเล็ก อย่างไรก็ตาม ในเอกสารค�า

สอนน้ รัฐประศาสนศาสตร์จะครอบคลุมท้ง Public Administration และ Public Administration

เม่อพิจารณาสถานภาพของความเป็นศาสตร์หรือศิลป ของวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จะเห็น

วา การบริหารงานของรัฐ เป็นศาสตร์ทางสังคม อันรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ อย่างเป็นระบบ มีหลักเกณฑ์

ท่สามารถศึกษาได้ สามารถน�าไปถ่ายทอดความรู้แก่กันได้ อย่างไรก็ตาม เม่อมองทางดานของ





การปฏิบัติงาน รัฐประศาสนศาสตร์ซ่งหมายถึงการบริหารราชการ การบริหารสาธารณกิจ การบรหารรฐ

กิจหรือการบริหารสาธารณะ จะเป็นการใช้ศิลปะในการบริหาร โดยใช้ความสามารถในการเก่ยวกับ

รัฐประศาสนศาสตร์ประยุกต์ใช้ความรู้ ความช�านาญ และประสบการณ์ในอดีต เพ่อบริหารทรัพยากร

ที่มีอยู่ให้ผลงาน บรรลุจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์บางประการที่ตั้งไว้
นักวิชาการบางท่านเห็นว่าพรมแดนของการบริหารท้งสองประเภทน้ก�าลังเลือนลางมากข้น



ทุกที อย่างไรก็ดีมีนักวิชาการไม่น้อยที่ชี้ให้เห็นว่า การบริหารรัฐกิจและการบริหารธุรกิจมี ลักษณะ
ที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด ความเห็นดังกล่าวจึงเป็นทางสองแพร่ง ในทรรศนะ ของผู้เรียบเรียง
มีความเห็นว่า การบริหารรัฐกิจและการบริหารธุรกิจมีความแตกต่างกัน มากกว่าความคล้ายคลึง
กันอย่างมีนัยส�าคัญ หัวข้อท่ส�าคัญอีกประการหน่งคือความสัมพันธ์ ระหว่างวิชารัฐประคาสนศาสตร์




กับการศึกษาวิชาสาขาอ่น ๆ ท่มีส่วนช่วยอ�านวยให้การศึกษา วิชารัฐประศาสนศาสตร์ก้าวหน้า
ยิ่งขึ้น อาทิเช่น รัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา บริหารธุรกิจ เป็นต้น

�������������������.indd 23 11/23/19 1:35 PM

24
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ค�าถามท้ายบทที่ ๑

๑. จงอธิบายความหมายของค�าว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”

๒. จงอธิบายความหมายของค�าว่า “Public Administration”

๓. จงสรุปค�านิยามและความหมายของ “รัฐประศาสนศาสตร์” โดยอ้างอิงจากนักวิชาการ
ต่างประเทศ ๑ ท่าน และในประเทศ ๒ ท่าน
๔. การบริหารรัฐกิจหรือรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารธุรกิจ มีประเด็นใดท่เหมือนกัน

และมีประเด็นใดต่างกันบ้าง

๕. ตามความเห็นของนักรัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองกับการบริหารมีความสัมพันธ์กัน
อย่างไร
๖. ค�าที่ว่า “รัฐประศาสนศาสตร์เป็นสหวิทยาการ” มีหมายความว่าอย่างไร

๗. ท่านมีความเห็นอย่างไร เกี่ยวกับการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่ต้องศึกษาศาสตร์
อย่างอื่นควบคู่ไปด้วย

�������������������.indd 24 11/23/19 1:35 PM

25
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

เอกสารอ้างอิงประจ�าบท


เฉลิมพล ศรีหงส. เอกสารทางวิชาการ พัฒนาการของสาขาวิชาการบริหารรัฐกิจ. กรุงเทพมหานคร
: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, ๒๕๓๙.
ธีรยุทธ์ หล่อเลิศรัตน์. “องค์การมหาชนตามแนวปฏิรูประบบราชการไทย” ใน อาหารเสริม
สมองนักบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : ประชาชน, ๒๕๔๓.





วินิต ทรงประทุม และวรเดช จันทรศร. การประสานแนวคดและขอบขายของ รฐประศาสนศาตร.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์, ๒๕๓๙.










วีระศักด์ เครือเทพ. รฐประศาสนศาสตร : ขอบขายและการประยกตใชองคความร.กรุงเทพมหานคร
: ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗.
วรัชยา เชื้อจันทึก. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิขารัฐประศาสนศาสตร์. นครราชสีมา : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครราชสีมา, ๒๕๕๐.
วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. รัฐประศาสนศาสตร์ : แนวคิดและกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร : ธรรก
มลการพิมพ์, ๒๕๔๙.
ศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา. ทฤษฎีและแนวคิดทางรัฐประศาสนศาสตร์. เชียงใหม่ : ภาควิชา
รัฐศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๒.




สัมฤทธ์ ยศสมศักด์. หลักรัฐประศาสนศาสตร์แนวคิดและทฤษฏี. พิมพ์คร้งท่ ๒. กรุงเทพฯ :
รัตนพรชัย, ๒๕๔๘.
สร้อยตระกูล ติวยานนท์ อรรถมานะ. สาธารณบริหารศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร
: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๐.
อุทัย เลาหวิเชียร. ค�าบรรยายวิชารัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัยรามค�าแหง ไม่ปรากฏ
ที่พิมพ์, ๒๕๕๑.

Gordon. George. J.. & Milakovich. Michael. E, Public administration in America
5thed. New York: St. Martin's Press, 1955.

�������������������.indd 25 11/23/19 1:35 PM