หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

การซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า

การซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้ามีหลักการสำคัญที่ควรพิจารณา ดังนี้

1. เลือกใช้วิธีการซ่อมแซมและดัดแปลงให้เหมาะสม

เสื้อผ้าที่ชำรุดเป็นรอยขาด อาจจะถูกหนามเกี่ยวขาดเป็นรูปปากฉลาม ถูกเตารีดร้อนจัดเป็นรอยไหม้ ก่อนที่เราจะซ่อมแซมรอยขาดเหล่านี้จะต้องตัดรอยขาดนั้นทิ้ง แล้วเปลี่ยนผ้าใหม่เข้าไปแทน เป็นการดัดแปลงแบบใหม่ก็ได้ ทั้งนี้ควรดูตำแหน่งที่ขาดประกอบการพิจารณาด้วย

2. ออกแบบให้เหมาะสมกับวัยของผู้ใช้

การ นำเสื้อผ้าเก่าหรือเสื้อผ้าชำรุดมาดัดแปลง ควรคำนึงถึงวัยของผู้สวมใส่ด้วย เช่น เสื้อผ้าผู้ใหญ่ จากเดิมเป็นเสื้อคอกลมแขนสั้นธรรมดา เมื่อนำมาดัดแปลงเป็นเสื้อผ้าสำหรับเด็กก็ควรติดลูกไม้ จีบ ระบาย เปลี่ยนแขนทรงกระบอกเป็นแขนพอง ทำโบติดที่คอเสื้อ หรือผูกเอว จะช่วยให้แลดูเหมาะสมกับวัยเด็กมากขึ้น

3. เลือกใช้อุปกรณ์ตกแต่งให้เหมาะกับเนื้อผ้า

ก่อน ที่จะซ่อมแซมหรือดัดแปลงเสื้อผ้า ควรเลือกหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ให้เหมาะกับเนื้อผ้าที่ชำรุด เพื่อให้ส่วนที่ซ่อมแซมหรือดัดแปลงขึ้นใหม่มีสภาพกลมกลืนกับเสื้อผ้าตัวเดิม มากที่สุด เช่น เลือกกระดุม สีและแบบเดียวกับเม็ดเดิมที่หลุดหายไป ใช้ด้ายสีเดียวกันกับผ้าที่จะซ่อม ใช้เศษผ้าที่มีเส้นใยชนิดเดียวกันมาปะกับรอยผ้าที่ขาด เป็นต้น

4. เตรียมเครื่องมือให้พร้อม

เครื่องมือที่ ใช้ในการซ่อมแซมและดัดแปลงเสื้อผ้า เช่น เข็ม ด้าย จักร กรรไกร ควรเตรียมไว้ให้พร้อม ตรวจดูให้อยู่ในสภาพดี ใช้งานได้ นำไปจัดวางไว้ใกล้บริเวณที่จะปฏิบัติงาน เพื่อให้หยิบใช้ได้สะดวก และช่วยให้การทำงานรวดเร็วขึ้น

5. คำนึงถึงความคุ้มค่า

สิ่งสำคัญที่ควรจะนำมาพิจารณาก่อนที่จะซ่อมแซมหรือดัดแปลงเสื้อผ้า คือ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการซ่อมแซมดัดแปลงเสื้อผ้าชิ้นนั้น ๆ คุ้มค่ากับเวลา เงิน แรงงาน ที่ต้องเสียไปหรือไม่ ถ้านำเสื้อผ้าที่ซ่อมแล้วไปใส่เพียงครั้งเดียวแล้วเลิกใช้ ก็ไม่คุ้มค่า แต่ถ้านำไปใส่อีกนานนับปีถือว่าเป็นการคุ้มค่า นอกจากนี้ยังควรนำสิ่งตกแต่งเสื้อผ้าที่มีอยู่แล้วมาใช้ ไม่ควรซื้อสิ่งใหม่ที่มีราคาแพงก็จะช่วยประหยัดได้อีกทางหนึ่ง

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

การซ่อมแซมตะเข็บเสื้อผ้าด้านข้าง

ตะเข็บเสื้อผ้าด้านข้างที่เนื้อผ้าขาดหายไปจะปรากฏบ่อยมากกับนักเรียนที่สวมเสื้อผ้าชุดที่ใช้ในการเรียนวิชาพลานามัย ซึ่งส่วนใหญ่เสื้อลักษณะนี้ จะออกแบบผ้าด้านข้าง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนไหว จึงทำให้เสื้อส่วนที่ผ่ามีโอกาสชำรุดได้มาก ซึ่งถ้ามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อเสื้อตัวใหม่ และได้ผลงานที่สวยงามประณีต

๑.) อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน

๑. ด้ายสีเดียวกับผ้าหรือใกล้เคียงกับผ้า

๒. กรรไกรตัดผ้า

๓. เข็มหมุด

๔. ที่เลาะด้าย

๕. ด้ายเนา

๖. เศษผ้าสีใกล้เคียงกับสีเสื้อให้มีขนาดใหญ่กว่ารอยขาด

๗. จักรเย็บผ้าในกรณีที่ซ่อมแซมด้วยจักร

๒.) ขั้นตอนการปฏิบัติ

๑. เย็บปะด้านในตรงส่วนที่เสื้อผ้าขาดหายไปเหมือนกับการซ่อมแซมกระเป๋าเสื้อที่ขาดหายไป

๒. กลัดเข็มหมุดเพื่อยึดผ้า และเนาผ้าให้ติดกันและเย็บตะเข็บตามรอยเย็บเดิมหรือรอยเนา

๓. รีดแบะตะเข็บและเนาด้านในตามแนวพับเดิม

๔. เย็บรอยพับตามแนวรอยเย็บเดิม

๕. เลาะด้ายเนาออกและรีดให้เรียบ

การเปลี่ยนยางยืด

ยางยืด มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาดเป็นเมตรหรือแผง ใช้เย็บสอยเข้าไปในขอบแขน ขอบขา ขอบเอวกางเกง หรือในส่วนของเสื้อผ้าที่ต้องการ ยางยืดมีหลายขนาดตั้งแต่เส้นกลมเหมือนลวดจนถึงแผ่นกว่างเป็นนิ้ว มีหน้าที่ใช้สอยต่างๆ กันและมีความแข็งแรงต่างกัน ถ้าเส้นเล็กจะมีกำลังยืดน้อย ถ้าเส้นใหญ่มีกำลังยืดมากและให้ได้ทนทานกว่าในการเปลี่ยนยางยืดที่ชำรุดควรเลือกยางที่มีขนาดเท่าเดิมการเปลี่ยนยางยืดมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้

๑. เลาะรอยเย็บที่ของกางเกงออกประมาณ ๓ นิ้ว

๒. ติดยางยืดเส้นใหม่ยาวเท่ากับรอบเอวลบ ๓ นิ้ว

๓. ตัดยางยืดเก่าให้ขาด เลาะและดึงออก

๔. สอดยางยืดใหม่เข้าไป และเย็บปลายให้ติดกันด้วยจักรหรือด้นถอยหลังถี่ๆ ให้แน่น

๕. เนารอยเลาะที่ขอบกางเกงให้เรียบร้อย เย็บด้วยจักรหรือด้นถอยหลังด้วยมือ

การซ่อมแซมเสื้อผ้า

การซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด เป็นการแก้ไขดัดแปลงเสื้อผ้าให้อยู่ในสภาพที่สามารถใช้งานได้เช่น การซ่อมแซมตะเข็บ การซ่อมแซมปลายแขน ขอบขากางเกง ชายเสื้อและกระโปรง การซ่อมแซมเนื้อผ้าขาด การซ่อมแซมเครื่องตกแต่งต่างๆ เช่น ซิป ตะขอ กระดุม เป็นต้น การซ่อมแซมเสื้อผ้ามีความจำเป็นสำหรับครอบครัวเพราะเป็นการช่วยประหยัดรายจ่ายของครอบครัว และช่วยยืดเวลาให้สามารถสวมใส่เสื้อผ้าได้นาน เสื้อผ้าเมื่อใช้ไปนานๆ หลายครั้งอาจชำรุด  และมีข้อบกพร่องในการสวมใส่ เช่น คับ หลวม  ชำรุด  ขาด ซึ่งส่วนที่ชำรุดบ่อย เช่นตะเข็บ ซิป  ตะขอ  เป็นต้น  การตกแต่งเสื้อผ้าเป็นวิธีการที่ทำให้เสื้อผ้าเดิมดูแปลกใหม่ขึ้น  สวยงามขึ้น

        การตกแต่งเสื้อผ้ามีหลักเกณฑ์ดังนี้

๑.             คำนึงถึงผู้ใช้  กล่าวคือ เมื่อซ่อมแซมหรือแก้ไขดัดแปลงเสื้อผ้าแล้ว  ผู้ใช้ยินดีที่สวมใส่หรือไม่

๒.           คำนึงถึงสภาพวัสดุที่ต้องการดัดแปลงโดยพิจารณาว่าเสื้อผ้าเก่าหรือเสื้อผี่ชำรุดมีพอที่จะนำมาซ่อมแซมหรือแก้ไขดัดแปลงใหม่ตามที่ต้องการได้หรือไม่

๓.            คำนึงถึงค่าใช้จ่ายหรืองบประมาณ  เป็นการพิจารณาว่าเมื่อดำเนินการซ่อมแซมหรือแก้ไขดัดแปลงแล้วจะคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไปหรือไม่

๔.            คำนึงถึงเวลา โดยพิจารณาว่าต้องใช้เวลามากน้อยเพียงใดในการซ่อมแซม และเมื่อซ่อมแซมแล้ว สามารถใช้ต่อไปได้อีกนานหรือคุ้มค่ากับเวลาหรือแรงงานที่เสียไปหรือไม่

๑.๑  การซ่อมแซมกระเป๋าเสื้อ

                  ในการซ่อมแซมกระเป๋าเสื้อต้องคำนึงถึงความทนทานต่อการใช้งานบริเวณที่ทำการซ่อมแซมจะต้องเรียบและสวยงาม  โดยให้มองเห็นผ้าส่วนที่ขาดน้อยที่สุด  การเป๋าเสื้อนักเรียนหรือเสื้อที่ใช้เรียนวิชาพลานามัยซึ่งนักเรียนสวมใส่ทุกสัปดาห์จะฉีกขาดได้ง่าย ก่อนการซ่อมแซมต้องพิจารณาว่าเป็นรอยขาดแบบใด  ถ้ารอยตะเข็บด้ายเย็บขาดเพียงอย่างเดียว ก็ทำการซ่อมแซมได้ง่าย โดยการเย็บส่วนที่ขาดให้ติดกับตัวเสื้อ  แต่ถ้าบริเวณที่กระเป๋าขาด  เนื้อผ้าชำรุด  หรือขาดหายไป  จะต้องทำการปะชิ้นที่ขาดให้เรียนร้อยก่อนที่จะเย็บกระเป๋าให้ติดกับตัวเสื้อ ซึ่งมีวิธีการทำ ดังนี้

๑.) อุปกรณ์การปฏิบัติงาน

๑.      ด้ายสีเดียวกับผ้าหรือใกล้เคียงกับผ้า

๒.    กรรไกรตัดผ้า

๓.    เข็มหมุด

๔.    ที่เลาะด้าย

๕.    ด้ายเนา

๖.     เศษผ้าที่มีสีใกล้เคียงกับสีเสื้อและควรมีขนาดใหญ่กว่ารอยด้าย

๗.    จักรเย็บผ้าในกรณีที่ซ่อมแซมด้วยจักร

๒.   ) ขั้นตอนการซ่อมแซมกระเป๋าเสื้อ

๑.     ตัดเย็บผ้าเป็นรูปสีเหลี่ยมให้มีขนาดใหญ่กว่ารอยขาดและกันลุ่ยริมโดยรอบ

๒.   ตัดเส้นด้ายบริเวณรอยขาดให้เรียบและเลาะเส้นด้ายหลุดลุ่ยที่ปากกระเป๋าให้เรียบร้อย

๓.    เนาเศษผ้าวางทาบด้านผิดและเนา ตามแนวริมที่ขาดและแนวริมเศษผ้าที่ปะ

๔.    เย็บด้านในที่ติดกับรอยลุ่ยโดยวิธีคิทเวิร์ค

๕.    ริมลุ่ย ควรสอยแบบดำน้ำถี่ๆ  ตามรอยเนา

๖.     นำไปรีดให้เรียบ

๗.    ตลบปากกระเป๋า  ทับรอยปะ  และจัดผ้าให้เรียบ

๘.    กลับเข็มหมุดยึดปากกระเป๋าให้ติดกับตัวเสื้อและเนาตามรอยเนวเย็บเดิม

๙.     เย็บตามรอยเนาหรือแนวเส้นเดิม ถ้าเป็นการเย็บด้วยมือ ควรด้นถอยหลังให้ระยะห่างเท่าฝีเข็มของจักรที่เป็นรอยเย็บเดิม

๑๐. เลาะด้ายเนาและตัดด้ายให้เรียบร้อยและรีดให้เรียบ

๑.๒  การซ่อมแซมตะเข็บเสื้อผ้าด้านข้าง

               ตะเข็บเสื้อผ้าด้านข้างที่เนื้อผ้าขาดหายไปจะปรากฏบ่อยมากกับนักเรียนที่สวมเสื้อผ้าชุดที่ใช้ในการเรียนวิชาพลานามัย  ซึ่งส่วนใหญ่เสื้อลักษณะนี้  จะออกแบบผ้าด้านข้าง  เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนไหว จึงทำให้เสื้อส่วนที่ผ่ามีโอกาสชำรุดได้มาก  ซึ่งถ้ามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจะทำให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อเสื้อตัวใหม่ และได้ผลงานที่สวยงามประณีต

๑.) อุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน

๑.      ด้ายสีเดียวกับผ้าหรือใกล้เคียงกับผ้า

๒.    กรรไกรตัดผ้า

๓.    เข็มหมุด

๔.    ที่เลาะด้าย

๕.    ด้ายเนา

๖.     เศษผ้าสีใกล้เคียงกับสีเสื้อให้มีขนาดใหญ่กว่ารอยขาด

๗.    จักรเย็บผ้าในกรณีที่ซ่อมแซมด้วยจักร

๒.)           ขั้นตอนการปฏิบัติ

๑.      เย็บปะด้านในตรงส่วนที่เสื้อผ้าขาดหายไปเหมือนกับการซ่อมแซมกระเป๋าเสื้อที่ขาดหายไป

๒.    กลัดเข็มหมุดเพื่อยึดผ้า  และเนาผ้าให้ติดกันและเย็บตะเข็บตามรอยเย็บเดิมหรือรอยเนา

๓.    รีดแบะตะเข็บและเนาด้านในตามแนวพับเดิม

๔.    เย็บรอยพับตามแนวรอยเย็บเดิม

๕.    เลาะด้ายเนาออกและรีดให้เรียบ

๑.๓ การเปลี่ยนยางยืด

             ยางยืด  มีขายอยู่ทั่วไปตามท้องตลาดเป็นเมตรหรือแผง  ใช้เย็บสอยเข้าไปในขอบแขน  ขอบขา  ขอบเอวกางเกง  หรือในส่วนของเสื้อผ้าที่ต้องการ  ยางยืดมีหลายขนาดตั้งแต่เส้นกลมเหมือนลวดจนถึงแผ่นกว่างเป็นนิ้ว  มีหน้าที่ใช้สอยต่างๆ  กันและมีความแข็งแรงต่างกัน  ถ้าเส้นเล็กจะมีกำลังยืดน้อย ถ้าเส้นใหญ่มีกำลังยืดมากและให้ได้ทนทานกว่าในการเปลี่ยนยางยืดที่ชำรุดควรเลือกยางที่มีขนาดเท่าเดิมการเปลี่ยนยางยืดมีวิธีปฏิบัติ ดังนี้

๑.      เลาะรอยเย็บที่ของกางเกงออกประมาณ ๓ นิ้ว

๒.    ติดยางยืดเส้นใหม่ยาวเท่ากับรอบเอวลบ ๓ นิ้ว

๓.    ตัดยางยืดเก่าให้ขาด เลาะและดึงออก

๔.    สอดยางยืดใหม่เข้าไป  และเย็บปลายให้ติดกันด้วยจักรหรือด้นถอยหลังถี่ๆ ให้แน่น

๕.    เนารอยเลาะที่ขอบกางเกงให้เรียบร้อย เย็บด้วยจักรหรือด้นถอยหลังด้วยมือ

๒.  การตกแต่งและดัดแปลงเสื้อผ้า

              เสื้อผ้าที่เราสวมใส่มีการล้าสมัยไปตามกาลเวลา  ทำให้ต้องมีวิธีการตกแต่งแปลงเสื้อผ้า เพื่อทำให้เสื้อผ้านั้นดูทันสมัย  ดูแปลกใหม่และสวยงามขึ้น  นอกจากนี้ยังเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการไปซื้อเสื้อผ้าตัวใหม่  ซึ่งจะมีวิธีการที่แตกต่างกันไปตามความคิดสร้างสรรค์ของแต่ละบุคคล

๒.๑ การตกแต่งเสื้อผ้า

              การตกแต่งเสื้อผ้าเป็นวิธีการที่ทำให้เสื้อผ้าเดิมดูแปลกใหม่ขึ้น  สวยงามขึ้น การตกแต่งเสื้อผ้ามีหลายวิธี ซึ่งวิธีที่เราสามารถทำได้ง่าย มีดังนี้

                ๑.) การปัก  เป็นการตกแต่งเสื้อผ้าโดยใช้วัสดุต่างๆ มาเย็บบนผ้า  เพื่อให้เกิดลวดลายมีทั้งการปักด้วยไหม  ด้าย  และปักด้วยวัสดุอื่นๆ เช่น เปลือกหอย  กระดูกสัตว์  เมล็ดพืชแห้ง  ลูกปัด เป็นต้น

               ๒.) การปะ  การปะเพื่อการตกแต่ง เป็นการนำผ้าหรือวัสดุอื่นๆ ที่เป็นลวดลายหรอต้องการให้เกิดลวดลายมาวางทับบนเสื้อผ้าและปักริมโดยวิธีใดวิธีหนึ่งตามต้องการ

๓.) การกุ๊น  เป็นการนำผ้าเฉลียงมาเย็บหุ้มริมผ้า เพื่อให้เกิดลวดลาย

๒.๒ การดัดแปลงเสื้อผ้า

การดัดแปลงเสื้อผ้า เป็นการนำเสื้อผ้าที่มีอยู่มาแก้ไขให้ได้รูปแบบใหม่ เพื่อให้สามารถสวมใส่ได้ เป็นการประหยัดรายจ่ายของครอบครัว การดัดแปลงเสื้อผ้ามีหลายรูปแบบ ที่สามารถดัดแปลงได้ง่ายมีดังนี้

๑.) การดัดแปลงขนาดของเสื้อผ้า  เป็นการดัดแปลงเสื้อผ้าให้ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง เป็นการดัดแปลงในรูปลักษณะเดิม  การดัดแปลงแบบนี้ ทำได้โดยการเลาะตะเข็บข้างออก เนาและเย็บให้พอดีกับตัวเรา  หรือตามต้องการ  เหมาะสำหรับกระโปรง  เสื้อ  กางเกง  เป็นต้น

๒.) การดัดแปลงส่วนประกอบ  ส่วนประกอบที่ว่านี้เป็นส่วนที่ประกอบกันเป็นเสื้อ เป้ฯกางเกง  เช่น คอ  แข  ปก  ชายเสื้อ เป็นต้น การดัดแปลงส่วนประกอบเป็นการแก้ไขเสื้อโดยเปลี่ยนแปลงจากแบบเดิม  ซึ่งการดัดแปลงส่วนประกอบนี้  เราสามารถดัดแปลงได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

๑.      การดัดแปลงกระโปรง เราสามารถดัดแปลงกระโปรงยาวเป็นกระโปรงสั้น

๒.    การดัดแปลงกางเกงขายาวเป็นกางเกงขาสั้น

๓.    การดัดแปลงเสื้อแขนยาวเป็นเสื้อแขนสั้น

๔.    การดัดแปลงชายเสื้อที่คับสะโพก

๒.๓  ตัวอย่างการตกแต่งและดัดแปลงเสื้อผ้า

                ๑.) การตกแต่งกางเกงยีนส์ด้วยเศษผ้า  การรู้จักตกแต่งดัดแปลงเสื้อผ้าจะทำให้ได้เสื้อผ้าที่แปลกใหม่  กางเกงยีนส์เป็นกางเกงที่นิยมสวมใส่  เมื่อใช้ไปนานๆ อาจจะรู้สึกเบื่อหน่าย มีวิธีการตกแต่งดัดแปลงโดยการตัดขาให้สั้นลงเพื่อสวมใส่อยู่กับบ้านและตกแต่งเพื่อเพิ่มความสวยงามมากขึ้น  ซึ่งในการตกแต่งนั้นควรหาสิ่งที่มีอยู่ใกล้ตัวเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย  การตกแต่งกางเกงยีนส์ด้วยเศษผ้านั้น  ถ้าเป็นผ้าธรรมดา  ควรเลือกผ้าที่เนื้อหนา เพื่อความคงรูปอยู่ตัว  และถ้าเป็นผ้าสักหลาดจะประหยัดเวลาในการกันลุ่ยริมผ้า  เพราะว่าเป็นผ้าที่ผลิตโดยวิธีอัดริมผ้าจึงไม่ลุ่ย  ในปัจจุบันนิยมนำกางเกงยีนส์มาตกแต่งโดยใช้วัสดุอื่น ๆ มาตกแต่ง

  ๑.๑ ) วัสดุอุปกรณ์  ในการปฏิบัติงาน มีดังนี้

๑.      ดินสอ

๒.    กรรไกร

๓.    เข็มเย็บด้วยมือ

๔.    ด้ายเย็บผ้า , ไหมปักผ้า

๕.    เข็มหมุด

๖.     เศษผ้า

๑.๒ ) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

๑.      ออกแบบส่วนของเสื้อผ้าที่ต้องการตกแต่ง

๒.    นำผ้าไปปะในส่วนที่ต้องการตกแต่ง

๓.    กลัดด้วยเข็มหมุดในตำแหน่งที่ต้องการ  และเนาเพื่อให้ติดกัน

๔.    ปักหรือเย็บตามแบบที่ได้ออกไว้ถ้าเศษผ้าที่นำมาตกแต่งเป็นผ้าทอธรรมดาควรทำคัทเวิร์คริมผ้า 

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก


หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก

หาก กระเป๋า เสื้อ ขาดเป็น รู ควร ทำการ ซ่อมแซม ด้วย ขั้น ตอน ใด เป็น ลำดับ แรก


สิ่งที่ควรคำนึงถึงเป็นลำดับแรกก่อนลงมือซ่อมแซมเสื้อผ้าที่ชำรุด คืออะไร

ก่อน ที่จะซ่อมแซมหรือดัดแปลงเสื้อผ้า ควรเลือกหาวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ให้เหมาะกับเนื้อผ้าที่ชำรุด เพื่อให้ส่วนที่ซ่อมแซมหรือดัดแปลงขึ้นใหม่มีสภาพกลมกลืนกับเสื้อผ้าตัวเดิม มากที่สุด เช่น เลือกกระดุม สีและแบบเดียวกับเม็ดเดิมที่หลุดหายไป ใช้ด้ายสีเดียวกันกับผ้าที่จะซ่อม ใช้เศษผ้าที่มีเส้นใยชนิดเดียวกันมาปะกับรอยผ้า ...

การที่เสื้อขาดเป็นรอยปากฉลามจะใช้วิธีการซ่อมแซมอย่างไรเพื่อให้เสื้อใช้ได้

การชุน การชุน (Darning) เป็นการซ่อมแซม เสื้อหรือผ้าชำรุด ที่เนื้อผ้าขาดหายไปเหมาะกับรอยขาดที่ไม่กว้างมาก ใช้ความประณีต ทำให้รอยชุนกลมกลืนกับผ้ารอบรอยขาด โดยใช้ด้ายหรือไหม สีเดียวกันกับผ้า หรือใกล้เคียงกัน มาถักหรือสานปิดรอยขาด

กางเกงขาดเป็นรูควรซ่อมแซมด้วยวิธีการใด

ทำการเย็บเป็นวงกลมรอบ ๆ หลุมจากข้างนอกอย่างช้าๆ จากนั้นย้ายกลับไปกลับมา เพื่อเติมพื้นที่ที่เป็นรูด้วยการเย็บแบบแนวตั้ง หลังจากนั้นย้ายจากด้านซ้ายไปด้านขวา เพื่อสร้างเส้นแนวนอนและเย็บต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะปิดรู นั่นเอง วิธีซ่อมผ้าขาดเป็นรู

ข้อใดคือลำดับขั้นตอนการดัดแปลงเสื้อที่ปกขาดเป็นเสื้อคอกลม

4. การแก้ไขบางส่วน เช่น เสื้อปกขาดแก้เป็นเสื้อคอกลม แขนเสื้อขาดแก้เป็นไม่มีแขน มีวิธีดังนี้ 1) เลาะปกเก่าออก แล้วรีดตะเข็บตัวเสื้อตรงรอยเลาะให้เรียบ 2) เย็บโดยพับสอย หรืออาจใช้ผ้ากุ๊นรอบคอเสื้อเพื่อให้สวยงามยิ่งขึ้น 5. การตกแต่งเพิ่มเติม โดยนำมาติดโบ ติดลูกไม้ หรือปักลวดลายต่าง ๆ