นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

วางแผนและควบคุมโครงการวิจัย ดูแลการปฏิบัติงานของพนักงาน

พิจารณาแนวโน้มของงานวิศวกรรมและงานออกแบบจากแหล่งที่มาต่าง ๆ เช่นวารสารทางวิชาการ การประชุมด้านอุตสาหกรรม การวิเคราะห์คุณภาพและการใช้

ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ หรือผลิตภัณฑ์เดิม

โอกาสการมีงานทำ / ความต้องการของตลาด / แนวโน้มความต้องการตลาด

ปัจจุบันผลิตภัณฑ์อาหารที่มีอยู่ในท้องตลาดล้วนมีการแข่งขันทางการตลาด ค่อนข้างรุนแรง และมีพลวัตหรือการเปลี่ยนแปลงในแง่ของพฤติกรรมการบริโภคค่อนข้างสูง จึงจำเป็นที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหาร จะต้องขยายหรือคงความเป็นผู้นำหรือเพิ่มส่วนแบ่งการตลาด ซึ่งจะต้องอาศัยงานพัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑ์อาหารใหม่ๆ ที่สอดคล้องและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีผู้มาบริหารจัดการ ที่มีความรู้ ความสามารถในการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ดังนั้นตลาดแรงงานจึงมีความต้องการผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ค่อนข้างสูง

 คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ

–  สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีถึงปริญญาโท ในคณะวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา สาขาวิทยาศาสตร์การอาหาร สาขาเคมี หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง

–  ควรมีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งนักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างน้อย 5 ปี  ขึ้นไป

–  ควรมีความรู้เกี่ยวกับระบบคุณภาพตามหลักเกณฑ์และวิธีการผลิตอาหารที่ดีในโรง งานผลิตอาหาร (GMP) ระบบหลักการวิเคราะห์อันตรายและควบคุมจุดวิกฤติ (HACCP)

–  ควรมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องระบบคุณภาพการให้บริการ (ISO 9001:2000)

–  มีความเป็นผู้นำ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เพื่อนร่วมองค์กร สามารถจูงใจพนักงานให้อุทิศและทุ่มเทการทำงานให้กับองค์กรได้

–  สามารถศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์ปัญหา และสรุปได้อย่างเป็นเหตุ  เป็นผล

–  เชื่อมั่นในตนเอง กล้ากระจายอำนาจ และวินิจฉัยสั่งการและพร้อมที่จะรับผิดชอบ

–  สามารถใช้ภาษาได้อย่างเหมาะสมแก่การปฏิบัติหน้าที่ทั้งการอ่านและการเขียน

–  มีความคิดสร้างสรรค์ ชอบค้นคว้า

–  มีมนุษยสัมพันธ์ดี เป็นที่ไว้วางใจ และน่าเชื่อถือกับบุคคลทุกฝ่ายทั้งในและนอกองค์กร

–  ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

ผลิตภัณฑ์ทุกผลิตภัณฑ์ที่สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตออกจำหน่าย จะเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลจากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ทดลอง และพัฒนา ของนักวิจัยสถาบันฯ ตามหลักวิชาการ อย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนมั่นใจว่าเป็นผลิตภัณฑ์ทีมีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย และได้มาตรฐาน จึงสามารถสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคได้อย่างแน่นอน

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร จะผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ ชนิด/ประเภท ใหม่ ๆ ออกจำหน่ายให้แก่ผู้บริโภค อย่างสม่ำเสมอ ผู้บริโภคสามารถติดตามข้อมูลและข่าวสารได้จาก Web Site นี้


นอกเหนือจากผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพแล้ว สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ยังมีบริการต่าง ๆ ที่มีคุณภาพ อีกด้วย ได้แก่

การบริการทางวิชาการ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์อาหารและวัตถุดิบ การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Product R&D) การให้บริการเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์การผลิตผิตภัณฑ์อาหาร ให้แก่ผู้ประกอบการทุกระดับ โดยเฉพาะอย่างยิงระดับ SMEs ระดับครัวเรือน ที่ต้องการการสนับสนุนด้านองค์ความรู้และทรัพยากรบุคคล
การบริการห้องประชุม พร้อมอุปกรณ์ที่ทันสมัย/ครบครัน และอาหารที่ สะอาด อร่อย ถูกหลักโภชนาการ ในราคาที่เหมาะสม

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

 
ฝ่ายเคมีและกายภาพอาหาร
 

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

น.ส. ประจงเวท สาตมาลี

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

ตำแหน่ง นักวิจัย ชำนาญการพิเศษ  
  หัวหน้าฝ่ายเคมีและกายภาพอาหาร  
อีเมล์  
เบอร์โทร 0 2942 8629-35 (1529)  
ความเชี่ยวชาญ - แป้งและการใช้ประโยชน์
- Hydrocolloid application
 
ผลงานวิจัย - ผลของการแช่เยือกแข็งยิ่งยวดต่อการเปลี่ยนแปลงของแป้ง
และสตาร์ชข้าว
- การปลิตปลิตภัณฑ์ข้าวกึ่งสำเร็จรูปชนิดย่อยได้ช้าจากเศษเส้น
ก๋วยเตี๋ยว
- การผลิตแป้งย่อยได้ช้าจากข้าวไทยเพื่อใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรม
อาหารสุขภาพ
 
     
       
       

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

น.ส. อภิญญา จุฑางกูร

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

ตำแหน่ง นักวิจัย ชำนาญการพิเศษ  
อีเมล์  
เบอร์โทร 0 2942 8629-35 (1507)  
ความเชี่ยวชาญ - การเก็บรักษาผักผลไม้หลังการเก็บเกี่ยว
- การเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร
 
ผลงานวิจัย - ผลของรังสีอุลตร้าไวโอเลตซี สภาพควบคุมบรรยากาศ และคลื่น
อุลตร้าซาวด์ก่อนกระบวนการแปรรูปต่อปริมาณกรดเฟอรุลิกอิสระ สี
และเนื่อสัมผัสของเมล็ดข้าวโพดหวานบรรจุกระป๋อง
- คุณภาพและอายุการเก็บรักษาของฟักทองญี่ปุ่นพร้อมปรุงใน
ภาชนะบรรจุสำหรับการจำหน่ายปลีก
- ศักยภาพต้านการก่อกลายพันธุ์ของข้าวโพดลูกผสม
แอนโธไซยานินสูงและการเปลี่ยนแปลงระหว่างการเก็บรักษา
 
     
       
 
นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ
ดร. ลัดดา แสงเดือน วัฒนศิริธรรม

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

ตำแหน่ง นักวิจัย ชำนาญการพิเศษ  
อีเมล์  
เบอร์โทร 0 2942 8629-35 (1502)  
ความเชี่ยวชาญ - การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในอาหารด้วยเทคนิค
โครมาโตกราฟฟี
- การสกัดแยกโปรตีนและโพลีแซคคาไรด์จากวัตถุดิบทางการเกษตร
และการทำให้บริสุทธิ์
- การประเมินสมบัติต้านอนุมูลอิสระในวัตถุดิบทางการเกษตร
 
     
       
         
นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ
นาง จันทร์สุดา จริยวัฒนวิจิตร

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

ตำแหน่ง นักวิจัย ชำนาญการพิเศษ  
อีเมล์  
เบอร์โทร 0 2942 8629-35 (1503)  
ความเชี่ยวชาญ - การศึกษาอายุการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์อาหาร
- สรีรวิทยาของการเก็บเกี่ยวของผักและผลไม้สด
- การตรวจวิเคราะห์และการขอขึ้นทะเบียนอาหาร
- การคำนวณฉลากข้อมูลโภชนาการ
 
ผลงานวิจัย - ผลของภาชนะบรรจุและอุณหภูมิต่อคุณภาพและอายุการเก็บ
รักษาผักเมืองหนาวบางชนิด
- การยืดอายุการเก็บรักษาเห็ดหอมสด
- คุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของเห็ดหอมสดที่ผลิตจากภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
- ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านการก่อกลายพันธุ์และปริมาณสาร
ฟีนอลในเห็ดหอมสดที่เก็บเกี่ยว 2 ช่วงอายุ
 
     
       
         
นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ
ดร. สุมิตรา บุญบำรุง

นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ

ตำแหน่ง นักวิจัย ชำนาญการ  
อีเมล์  
เบอร์โทร 0 2942 8629-35 (1504)  
ความเชี่ยวชาญ - การตรวจสอบคุณภาพและปริมาณวิเคราะห์ของสารเมตาโบโลมิกส์
ที่ระเหยได้ด้วยเทคนิคโครมาโตรกราฟฟี (GC-MS)
- การสกัดแยกสารสำคัญด้วยเทคนิค Supercritical Fluid (CO2)
Extraction, Steam Distillation
- การวิเคราะห์จากกลิ่นรส (Flavor) ที่ตรวจพบในอาหาร
และวัตถุดิบต่างๆ
 
ผลงานวิจัย - การศึกษาสมบัติเชิงหน้าที่ของกลิ่นหอมจากสารสกัดกลิ่นรสต้มยำ
- โครงการต้นแบบวิสาหกิจชุมชนเพื่อสนับสนุนการแปรรูปพริกไทย
แบบครบวงจร
- การเตรียมผักเพื่อเป็นแหล่งใยอาหารและฟังชันนอลฟู้ดส์
สำหรับผู้สูงอายุ
 
     
       
         
 
 
 
         
นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร คือ