ภาวนา 4 วิมุตติ 5 และ นิพพาน เป็น ธรรมที่ จัด อยู่ใน หมวด ใด ของ อริยสัจ 4


[37] ��ǹ� 4 (�����ԭ, ��÷����������բ��, ��ý֡ͺ��, ��þѲ�� : cultivation; training; development)
�������1. �����ǹ� (�����ԭ���, �Ѳ�ҡ��, ��ý֡ͺ����� ������ѡ�Դ�������Ǣ�ͧ�Ѻ��觷��������¹͡�ҧ�Թ���������Ҵ��´� ��л�ԺѵԵ���������ҹ��㹷ҧ����繤س ������Դ�� �����Ÿ����͡��� ���͡��Ÿ����������٭, ��þѲ�Ҥ�������ѹ��Ѻ����Ǵ�����ҧ����Ҿ : physical development)
�������2. �����ǹ� (�����ԭ���, �Ѳ�Ҥ�����оĵ�, ��ý֡ͺ����� ��������������º�Թ�� �����´��¹���͡�ͤ�����ʹ��͹������� ���������Ѻ����������´� ���͡����ѹ : moral development)
�������3. �Ե��ǹ� (�����ԭ�Ե, �Ѳ�ҨԵ, ��ý֡ͺ���Ե� ����������蹤���ԭ�͡������¤س����������� �� ������ҡ�س� ��ѹ�������� ʹ������Ҹ� ���ʴ��� �ԡ�ҹ ���آ��ͧ�� �繵� : cultivation of the heart; emotional development)
�������4. �ѭ����ǹ� (�����ԭ�ѭ��, �Ѳ�һѭ��, ��ý֡ͺ���ѭ�� ������������觷�����µ���繨�ԧ �����ҷѹ����š��Ъ��Ե�������� ����ö�ӨԵ����������� �ӵ�������ط���ҡ�������л�ʹ�鹨ҡ�����ء�� ��䢻ѭ�ҷ���Դ�������»ѭ�� : cultivation of wisdom; intellectual development)

�������㹺��շ���� ��ҹ�ʴ���ǹ� 4 ��� ��ٻ����繤س���ͧ�ؤ�� �֧�� ���Ե��� ���Ե��� ���Ե�Ե ���Ե�ѭ�� (�������ԭ��� ��� �Ե ��лѭ������) �ؤ�ŷ���դس���ѵԪش���ú��ǹ�����繾�����ѹ��


วิมุตติ 5 (deliverance)วิมุตติ หมายถึง ความหลุดพ้น ความเป็นอิสระ เป็นภาวะจิตที่สำคัญเป็นพื้นฐาน ภาวะความหลุดพ้นเป็นอิสระนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากปัญญา คือ เมื่อเห็นตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสังขารแล้ว จิตจึงพ้นจากอำนาจครอบงำของกิเลส (ความโลภ ความโกรธ ความหลง) ลักษณะด้านหนึ่งของความเป็นอิสระ ในเมื่อไม่ถูกกิเลสครอบงำ ก็คือ การไม่ตกเป็นทาสของอารมณ์ที่เย้ายวนหรือยั่วยุ อย่างที่ท่านเรียกว่าอารมณ์เป็นที่ตั้งของราคะ หรือ โลภะ โทสะและโมหะ เพราะจิตปราศจากราคะ โทสะ โมหะแล้ว ทำให้ไม่หวั่นไหวกับสิ่งเหล่านี้ ยังเป็นหลักประกันให้ประกอบการงานอย่างสุจริตด้วย สามารถเป็นนายเหนืออารมณ์ วิมุตติ ประกอบด้วย 5 ประการคือ1. ตทังควิมุตติ คือ ความหลุดพ้นชั่วคราว หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสได้ชั่วคราว เช่น เกิดความเจ็บปวด หายจากความโลภ เกิดเมตตา หายโกรธ เป็นต้น แต่ความโลภ ความโกรธนั้นไม่หายทีเดียว อาจจะกลับมาอีก เป็นต้น2. วิกขัมภนวิมุตติ คือ ความหลุดพ้นด้วยการสะกดไว้ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสได้ด้วยกำลังฌาน คือ สะกดไว้ได้ด้วยกำลังฌาน เมื่อฌานเสื่อมแล้ว กิเลสเกิดขึ้นได้อีก เช่น เมื่อนั่งสมาธิสามารถสะกดข่มกิเลสไว้ เมื่อออกจากสมาธิกิเลสก็กลับมาอีกครั้ง เป็นต้น3. สมุจเฉทวิมุตติ คือ ความหลุดพ้นเด็ดขาด หมายถึง ความพ้นจากกิเลสด้วยอำนาจอริยมรรค (มรรคมีองค์ 8) ละกิเลสได้อย่างเด็ดขาด ไม่เกิดกิเลสอีกต่อไป4. ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ คือ ความหลุดพ้นด้วยความสงบ หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลส เนื่องมาจากอริยมรรคอริยผลไม่ต้องขวนขวายเพื่อละกิเลสอีก

5. นิสสรณวิมุตติ คือ ความหลุดพ้นด้วยสลัดออกไป หมายถึง ความหลุดพ้นจากกิเลสนั้นได้อย่างยั่นยืนตลอดไป ดับกิเลสเสร็จสิ้นแล้ว ได้แก่ นิพพาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นิโรธ (อ่านว่า นิโรด) แปลว่า ความดับ (ทุกข์) คือความสำรอกออก, สลัดทิ้ง, ปลดปล่อย, ไม่มีเยื่อใยสมุทัยอันเป็นบ่อเกิดทุกข์ได้สิ้นเชิง หมายถึง การทำลายสมุทัยและดับสมุทัยคือตัวตัณหาให้สิ้นไปจนไม่เกิดขึ้นได้อีกเหมือนไฟที่สิ้นเชื้อ ด้วยอำนาจการดำเนินตามมรรคจนได้บรรลุมรรคนั้นๆ

นิโรธ จัดเป็นอริยสัจอันดับที่3ในอริยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค โดยภาวะคือนิพพานนั่นเอง

นิโรธ 5[แก้]

นิโรธ 5 หมายถึง ความดับกิเลส ภาวะไร้กิเลสและไม่มีทุกข์เกิดขึ้นนิโรธเป็นธรรมะที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้นิโรธ มี 5 ประการ โดยมีชื่อเรียกอย่างอื่นอีก เช่น

  • ปหาน 5 (การละกิเลส 5 ประการ)
  • วิมุตติ 5 (ความหลุดพ้น 5 ประการ)
  • วิเวก 5 (ความสงัด ความปลีกออก 5 ประการ)
  • วิราคะ 5 (ความคลายกำหนัด ความสำรอกได้ 5 ประการ)
  • โวสสัคคะ 5 (ความสละ ความปล่อย 5 ประการ)

นิโรธ 5 ได้แก่[แก้]

  1. วิกขัมภนนิโรธ ดับด้วยข่มไว้ คือ การดับกิเลสของท่านผู้บำเพ็ญฌาน ถึงปฐมฌานขึ้นไป ย่อมข่มนิวรณ์ไว้ได้ ตลอดเวลาที่อยู่ในฌานนั้น
  2. ตทังคนิโรธ ดับด้วยองค์นั้นๆ คือ ดับกิเลสด้วยธรรมที่เป็นคู่ปรับ หรือธรรมที่ตรงข้าม เช่น ดับสักกายทิฏฐิด้วยความรู้ที่กำหนดแยกรูปนามออกได้ เป็นการดับชั่วคราวในกรณีนั้นๆ
  3. สมุจเฉทนิโรธ ดับด้วยตัดขาด คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นเด็ดขาด ด้วยโลกุตตรมรรค ในขณะแห่งมรรคนั้น ชื่อ สมุจเฉทนิโรธ
  4. ปฏิปัสสัทธินิโรธ ดับด้วยสงบระงับ คือ อาศัยโลกุตตรมรรค ดับกิเลสเด็ดขาดไปแล้ว บรรลุโลกุตตรผล กิเลสเป็นอันสงบระงับไปหมดแล้ว ไม่ต้องขวนขวายเพื่อดับอีก ในขณะแห่งผลนั้น ชื่อ ปฏิปัสสัทธินิโรธ
  5. นิสสรณนิโรธ ดับด้วยสลัดออกได้ หรือดับด้วยปลอดโปร่งไป คือ ดับกิเลสเสร็จสิ้นแล้ว ดำรงอยู่ในภาวะที่ดับกิเลสแล้วนั้น ยั่งยืนตลอดไป ภาวะนั้นชื่อนิสสรณนิโรธ ได้แก่อมตธาตุ คือ นิพพาน

อ้างอิง[แก้]

  • พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".