ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มี อะไร บาง

บันทึกช่วยจ�า

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

�������������������.indd 26 11/23/19 1:35 PM

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๒
เรื่อง ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

ก. เนื้อหาสาระที่ศึกษา

ขอบข่ายการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์
๑. ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์

๒. รัฐประศาสนศาสตร์ในมุมมองของรัฐศาสนศาสตร์
๓. เนื้อหาวิขาเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์

ข. วัตถุประสงค์ของการศึกษา
เมื่อได้ศึกษาบทที่ ๒ จบแล้ว ผู้ศึกษามีความสามารถ

๑. อธิบายขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ได้
๒. อธิบายมุมมองของรัฐศาสนศาสตร์ได้

๓. อธิบายเนื้อหาวิขารัฐประศาสนศาสตร์ได้

ค. กระบวนการเรียนรู้







๑. อาจารย์ผ้สอนยกตัวอย่างงานวจัยตามความสนใจของนสิต และ เกร่นนาความรู้เบ้องต้น
เกี่ยวกับขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์มีความหมายอย่างไร

๒. อาจารย์ผู้สอนกล่าวเปิดประเด็นซักถามผู้เรียนให้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้เก่ยวกับการวิจัย
โดยการตอบปากเปล่า เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ตื่นตัวอยู่เสมอ
๓. ค�าถามใดที่ผู้เรียนตอบแล้วไม่ชัดเจนพอ ผู้สอนควรอธิบายประเด็น นั้น ๆ เพิ่มเติมเพื่อ
ให้ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง

๔. ก่อนสอนทุกคร้ง อาจารย์ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความอยากรู้อยากเห็น
๕. อาจารย์ผู้สอนเสนอแนะให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากหนังสือ อื่น ๆ หรืองานวิจัย
อื่น ๆ

๖. เมื่อศึกษาแต่ละบทจบแล้ว อาจารย์ผู้สอนมอบหมายงานให้ผู้เรียน ทุกคนไปท�าค�าถาม
ท้ายบทแล้วน�ามาส่งในสัปดาห์ต่อไป

๗. อาจารย์ผู้สอนอธิบายสรุป “ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์” อีกคร้ง เพ่อเป็นการ


ทบทวนเนื้อหาสาระ แล้วผู้สอนสอบถามผู้เรียนในประเด็นท่ได้เรียนมาแล้ว เพ่อเป็นการประเมิน

ผู้เรียนว่ามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด

�������������������.indd 27 11/23/19 1:35 PM

ง. แหล่งการเรียนรู้

๑. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย
๒. หนังสือหรือตาราเก่ยวกับรัฐศาสตร์/รัฐประศาสนศาสตร์ งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ


วารสารอื่น ๆ เป็นต้น
๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

จ. สื่อการเรียนการสอน

๑. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์
๒. บอร์ดความรู้, หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, Internet, Website, งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ
วารสาร เป็นต้น

๓. ใบงาน/งานที่มอบหมายอื่น ๆ

ฉ. การวัดผลและประเมินผล

๑. ด้านความรู้ : ประเมินจากการตอบค�าถาม/แสดงความคิดเห็น
๒. ด้านทักษะ : ประเมินด้วยการสังเกตการน�าเสนอผลงานเดี่ยว/งานกลุ่ม

๓. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม : ประเมินการสังเกตพฤติกรรม/การร่วมกิจกรรม/
การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา : ประเมินผล
การน�าเสนอรายงานเป็นทีม และพฤติกรรมการท�างานเป็นทีม



๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ต้อง
พัฒนา : ประเมินผลการค้นคว้า การอ้างอิง การท�ารายงาน เน้นข้อมูลเชิงตัวเลขและค�าอธิบาย

�������������������.indd 28 11/23/19 1:35 PM

บทที่ ๒
ขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์

จากที่เริ่มมีการศึกษาวิชา Public Administration โดยเริ่มจากการตีพิมพ์และเผยแพร่ ผล

งานทางวิชาการของ Woodrow Wilson ทชอว่า "The Study of Administration" ในปค.ศ.




๑๘๘๗ บทความน้มีผลท�าให้เกิดการศึกษาวิชาน้ข้นโดย วิลสัน ได้ช้ให้เห็นว่า วิชาเก่ยวกับการบริหาร

ของรัฐ (Science of Administration) มีคุณค่าในการศึกษา เป็นศาสตร์ที่มีหลักการ แนวความคิด
ที่แตกต่างจากศาสตร์ทางการเมือง (Science of Politics)

จากป ค.ศ.๑๘๘๗ ท่ถือเป็นชุดเร่มต้นในการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์จนถึงปัจจุบัน

(ค.ศ.๒๐๐๘) แนวทางการศึกษาวิชานี้มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่องยาวนานนับร้อยป ภายใต้กรอบ
ความคิดที่แตกต่างกันของนักวิชาการในแต่ละช่วงสมัย ซึ่งมีทั้งความทับซ้อน เหลื่อมล�้า และความ
แตกต่างกันจนท�าให้องค์ความรู้ เน้อหาสาระของวิชารัฐประศาสนศาสตร์มีขอบข่ายขยายกว้างออก

ไปเร่อยๆ จนอาจกล่าวได้ว่าแทบจะหาจุดจบไม่ไต้ ส่งผลให้เกิดความเคลือบแคลงสงสัยใน เอกลักษณ์

ของวิชานี้ว่า องค์ความรู้ แนวความคิด ทฤษฎี ของรัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration)
ที่แท้จริงแล้วเป็นอย่างไร

อย่างไรก็ตาม อาจสรุปถึงขอบข่ายขององค์ความรู้ แนวความคิด ท่ควรเป็นพ้นฐานความร ู้


ของวิชานี้ได้ ตามจุดเน้นและแนวทางการศึกษาที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย โดยสรุปได้ดังนี้


ในระยะแรกท่มีการศึกษาวิชาน้คือช่วง ค.ศ.๑๘๘๗ - ค.ศ.๑๙๓๗ การศึกษาในช่วงระยะ






เวลาน ถือว่าเป็นการวางพนฐานของการศึกษาเก่ยวกับการบรหารงานของรฐ เน่องจากมการสร้างองค์



ความรู้ แนวความคิดทมีเน้อหาสาระและหลักการเก่ยวกบการบริหารทีชัดเจน มีเอกลักษณ์เป็น










ของตนเอง โดยการศึกษาในช่วงเวลาน้มุ่งเน้นท่การค้นหาหลักการบริหารท่มีกฎเกณฑ์ท่แน่นอน





ชดเจน (The Principle of Administration) ขนมาเพ่อนามาใช้เป็นแนวทางในการบรหารงาน



ในองค์การของรัฐ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ท้งน้เพราะการบริหารงานของรัฐ
ที่ผ่านมามักประสบปัญหาความไร้ประสิทธิภาพในการท�างาน เนื่องจากขาดหลักการที่ดี ท�าให้นัก




วิชาการในยุคน้พยายามศึกษาค้นหาหลักการบริหารท่มีกฎเกณฑ์ท่แน่นอนชัดเจนข้นมาใช้ เช่น
วูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ได้เสนอให้มีการสร้างระบบการบริหารจัดการที่ดี (Good Gov-
ernance) ขนมาใช้และให้มีการแยกการบรหารออกจากการเมืองอย่างเดดขาด ต่อมา แฟรงค์




๑ Waldo, Dwight, "Scope of the Theory of Public Administration" in Theory and Practice of
PublicAdministration, ed. (James Charlsworth Philadelphia : The American Academy of Political
Science, 1968), pp. 1-26.
�������������������.indd 29 11/23/19 1:35 PM

30
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

กูดเนาว์ (Frank J. Goodnow) และเลียวนาร์ด ไวท์ (Leonard D. White) ได้เสนอผลงาน เน้นย�้า


ว่าต้องมีการแยกการบริหารออกจากการเมืองโดยการช้ให้เห็นถึง บทบาทของรัฐบาลว่ามี ๒ ด้าน คอ
หน้าที่ทางการเมือง ซึ่งเป็นเรื่องของการก�าหนดนโยบายที่สามารถแสดงออกซึ่ง เจตนารมณ์ของรัฐ





อีกหน้าท่หน่งคือ การบริหาร ซ่งเป็นเร่องท่เก่ยวข้องกับการน�านโยบาย ออกไปปฏิบัติ โดยต้องอาศัย

กลไกการท�างานที่ชัดเจน

๒.๑ ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์
กมล อดุลพันธ์ เห็นว่า ศาสตร์ท่เก่ยวข้องกับการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มีดังต่อไปนี ้



๑. สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชารัฐศาสตร์และวิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถ
แยกออก จากกันได้ เพราะวิชารัฐประศาสนศาสตร์มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาถึงการส่งเสริมให้ม ี
การบริหารงานเป็นไป ตามนโยบายของรัฐท่ก�าหนดไว้ กล่าวคือ วิชารัฐศาสตร์จะถูกใช้โดยฝาย



ปกครองหรือฝายการเมือง ส่วนวิชา รัฐประศาสนศาสตร์จะถูกใช้โดยฝายข้าราชการ แต่ท้งน้เป็น



เร่องท่เก่ยวข้องกับการให้บริการแก่ประชาชน สามารถเข้าใจได้ว่าการศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์


โดยปราศจากการศึกษาวิชารัฐศาสตร์ดูจะเป็นเร่องท่ ยากท่จะท�าให้การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

มีความสมบรูณ์


๒. สาขาวิชานิติศาสตร์ ในการบริหารงานบ้านเมืองมีความจ�าเป็นอย่างย่งท่จะต้องมีกฎหมาย
รัฐธรรมนูญหรือกฎหมายมาปกครองประเทศ ทั้งนี้ เพื่อรองรับการกระท�าของประชาชนในรูปแบบ


ต่างๆ การบริหารงานบ้านเมืองท่ดีน้น จึงมีความจ�าเป็นท่จะต้องอาศัยหลักนิติศาสตร์เข้ามาเก่ยวข้อง





ท้งน้เพ่อให้การ บริหารงานได้เป็นไปตามระเบียบวิธีปฏิบัติอย่างถูกต้องชัดเจนและไม่เกิดข้อผิดพลาด
ส�าหรับความสัมพันธ์ ระหว่างวิชานิติศาสตร์กับวิชารัฐประศาสนศาสตร์ได้มีส่วนเก่ยวข้องกัน คือ









การทนกรัฐประศาสนศาสตรหรอ ขาราชการจาตองมหลกนิติศาสตรในการบริหารงานอยเสมอเพราะ





ในการปฏิบัติราชการนั้นข้าราชการจะต้อง ยึดกฎระเบียบ ข้อบังคับตามที่กฎหมายก�าหนด รวมถึง
การปฏิบัติราชการตามนโยบาย ระเบียบแบบแผนและ ค�าสั่งต่างๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการแต่
การสั่งการจะต้องไม่ขัดต่อข้อกฎหมายของประเทศ


๓. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ดังท่กล่าวแล้ววชารัฐประศาสนศาสตร์กบวิชาบรหารธุรกจ



มีความคล้ายคลึง กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�าศาสตร์ทางสาขาวิชาบริหารธุรกิจมาประยุกต์ใช้ใน
การบริหารงานภาครัฐศาสตร์ ในการทางบริหารธุรกิจได้อธิบายถึงความเป็นจริงในการบริหารงาน
ได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง โดยเฉพาะการ ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องพฤติกรรมของมนุษย์ภายใน
๒ Henry, Nicholas, Public Administration and Public Affairs /Nicholas Henry, ๙thed., (Pearson
Education, Upper Saddle River, New Jersey, 2004), p.30.
๓ กมล อดุลพันธ์, การบริหารรัฐกิจเบ้องต้น, (กรุงเทพมหานคร : ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค�าแหง, ๒๕๓๘),

หน้า ๓๒ - ๓๗.
�������������������.indd 30 11/23/19 1:35 PM

31
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์







องคการ เทคนคการบรหาร การวางแผนการปฏบตงาน การจดระเบยบภายในองคการหรอแมกระทง ่ ั








การควบคุมงบการเงิน เป็นต้นจึงเป็นส่งท่ดีท่ผู้ศึกษาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์จะได้น�าความรู้ เทคนิค
ข้อมูลใหม่ๆ มาท�าการศึกษาวิเคราะห์และปรับปรุงเพ่อให้เหมาะสมกับการบริหารภาครัฐอิทธิพล

ของศาสตร์ทางการบริหารธุรกิจได้เข้ามามีบทบาทในการปรับปรุง หลักการบริหารงานภาครัฐ

โดยเฉพาะหลกการจดการแบบวทยาศาสตร (Scientific Management) ทมงเนน การบรหารจดการ










ในองค์การได้ด�าเนินการไปตามแบบพลวัต (Dynamic Group) โดยอาศัยความร่วมมือในการปฏิบัต ิ
งานจากบุคลากรภายในองค์การเป็นส�าคัญ

๔. สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม การบริหารงานภายในองค์การไม่สามารถหลีกเล่ยงการบริหาร

มนุษย์ ได้ทฤษฎีจิตวิทยาสังคมซ่งมีส่วนส�าคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจของนักรัฐประศาสนศาสตร์
ในเร่องของการท�าความเข้าใจต่อผู้ปฏิบัติงานซ่งอยู่ในฐานะผู้ร่วมองค์การเดียวกัน วิชาจิตวิทยาสังคม


จะช่วยให้ทราบถึงแนวทางการศึกษาเรื่องคนของแต่ละคน เช่น ลักษณะของความสัมพันธ์กับเพื่อน

ร่วมงานภายในองค์การ การดู พ้นฐานภูมิหลังของแต่ละคน หรือแม้กระท่งการดูความปกติและความ

ผิดปกติของแต่ละบุคคลในองค์การ การศึกษาพฤติกรรมของคนในองค์การจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถ

ท�าความเข้าใจต่อสภาพของบุคคลภายในองค์การได้ เพ่อท่ผู้บริหารจะสามารถหาวิธีการใดๆ ท่เหมาะสม


กับสภาพของแต่ละบุคคล ทั้งนี้ เพื่อให้การท�างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด
๕. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาเศรษฐศาสตร์และวิชารัฐประศาสนศาสตร์
มีส่วนเก่ยวข้องในส่วนของการวางแผนพัฒนาประเทศ โดยท่นักรัฐประศาสนศาสตร์จะต้องมีความร ู้



ทางด้าน สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นอย่างมากเพราะเป็นสาขาวิชาท่ท�าให้เกิดการวางแผนท่เก่ยวข้อง


กับการพัฒนา รูปแบบเศรษฐกิจขั้นพื้นฐานของประเทศ
๖. สาขาวิชาตรรกวิทยา สาขาวิชาตรรกวิทยาเป็นวิชาท่ว่าด้วยการศึกษาเพ่อหาเหตุและ





ผลตามความจริงท่ปรากฏข้น การบริหารน้นจาต้องมีการตัดสนใจในเรองต่างๆ โดยการตัดสินใจ




ในแต่ละคร้งจะใช้ความเป็นเหตุผลท่สามารถพิสูจน์ทราบได้เข้ามามีส่วนช่วยในการตัดสินใจ




การตัดสินใจโดยการใช้อารมณ์หรือความเช่อ ควรเป็นส่งท่จะหลีกเล่ยงเพราะการตัดสินใจด้วยความ


เช่อหรือใช้อารมณ์เป็นส่งท่ไม่แน่นอนและไม่เป็นท่รับรู้ ชัดเจนของบุคคลโดยท่วไป ส�าหรับการตัดสิน








ใจทางตรรกวทยาจะมส่วนทาให้ลดการสญเสยของทรพยากร บรหารและสามารถเพมความมนใจ








ให้แก่ผู้ร่วมงานได้
๗. สาขาวิชาสังคมวิทยา สาขาวิชาสังคมวิทยามีประโยชน์ต่อนักรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ
เป็นการศึกษาถึงสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อการบริหารภาครัฐ โดยเฉพาะการท�าความเข้าใจ


และท�าการศึกษาเก่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีต่าง ๆ ท่มีอยู่ในสังคมเพราะขนบธรรมเนียม

ประเพณีมีอิทธิพล ต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมอย่างย่งถ้าหากทางราชการได้ละเลยใน
ส่วนน้แล้ว อาจส่งผลต่อการด�าเนินกิจกรรมของรัฐไม่ประสบความส�าเร็จได้ นอกจากน้แล้ววิชา


สังคมวิทยายังสามารถอธิบายถึงรูปแบบการ บริหารงานภายในหน่วยงานราชการได้ในการออกแบบ
ของรูปแบบการบริหารงานภายในหน่วยงานราชการ ผู้บริหารจ�าเป็นต้องศึกษาถึงวัฒนธรรมหรือ
�������������������.indd 31 11/23/19 1:35 PM

32
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



ประเพณีภายในหน่วยงานน้นๆ ก่อน เช่น การศึกษาถึงแบบแผนใน การติดต่อส่อสารของบุคคล
ภายในองค์การ การศึกษาถึงความเชื่อของผู้ปฏิบัติงานต่อผู้น�าในองค์การ การท�าความเข้าใจแบบ
นี้จะช่วยให้การบริหารงานภายในองค์การมีความสงบและความเรียบร้อย

๒.๒ มุมมองของรัฐประศาสนศาสตร์
อิวาน แอล ริชาร์สัน (Ivan L. Richardson) และ ซิตนีย์ บอลด์วิน (Sidney Baldwin) ใช้
กรอบมุมมอง (Persrectives) จัดระบบความคิดและขอบข่ายองรัฐประศาสนศาสตร์ โดยประมวล




จากประสบการณ์ของรฐประศาสนศาสตร์สหรฐอเมรกา เขากล่าวว่าความร้มาจากประสบการณ์

รัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นความรู้ท่เป็นผลผลิตมาจากสภาพแวดล้อม เช่น มาจากการเกิดรัฐบาล


ขนาดใหญ่ (Big Government) การเพ่มบทบาทส�าคัญของฝายบริหาร ความเจริญเติมโตของ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเปล่ยนแปลงการปกครองจากระบอบเสรีนิยม (Laissez Faire)

การที่รัฐบาลต้องเล่นการเมือง (Politicization of Government) เพื่อหาเสียงสนับสนุนการเกิด
ความเป็นวิชาชีพ (Professionalization) ในราชการ การค้นพบความรู้ทางด้านพฤติกรรมองค์การ
และการขยายบทบาททางด้านต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ มุมมองใดเพียงมุมมองเดียวไม่พอ หรือไม่มี


มุมมองใดท่ดีท่สุด การรวมเอาความรู้จากมุมมองต่าง ๆ ท�าให้เกิดปัญญาริชาร์สันและบอลต์วิน แบ่ง
มุมมองของรัฐประศาสนศาสตร์เป็น ๗ มุมมอง ดังต่อไปนี้

การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ควรจะต้องมีการน�าเอาความรู้จากศาสตร์สาขาอ่นๆ เข้า

มาช่วย ในการวิเคราะห์ในเรื่องของการบริหารงาน เพราะศาสตร์สาขาอื่นๆ มีความก้าวหน้าเพียง
พอที่จะช่วยให้ วิชารัฐประศาสนศาสตร์มีเอกลักษณ์ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นในการศึกษา โดยเฉพาะเมื่อ
ได้น�าเอาความรู้มาจาก ศาสตร์ที่แตกต่างกัน เช่น วิชาเศรษฐศาสตร์บริหารธุรกิจ หรือสังคมวิทยา

มาประยุกต์ใช้ก็จะท�าให้ผู้ศึกษา สามารถมีข้อมูลท่มากข้นเพ่อท�าการตัดสินใจและหาวิธีทางท่ท�าให้




สามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตุผล ภายใต้ข้อจ�ากัดต่างๆ ได้
๑. มุมมองของรัฐประศาสนศาสตร์ (The Perspective of History)

นักรัฐประศาสนศาสตร์ท้งหลายคงไม่มีใครกล้าละเลยคุณประโยชน์ของอดีตโดยเฉพาะ




นับตั้งแตสงครามโลกครั้งที่สองเปนตนมา มีคนเตือนใหเห็นถึงบทเรียนของประวิติศาสตร เพราะวา



ถึงแม้จะมีเทคนิคการหาความรู้ใหม่ ๆ เกิดข้น แต่เทคนิคเหล่าน้ก็ต้องมีความรู้ทางประวัติศาสตร์

รวมอยู่ด้วยเสมอ มุมมองประวัติศาสตร์ เกิดจากความคิดเร่องความต่อเน่องของการศึกษามนุษย์


(Idea lf Continuity in the Study of Man) เพราะชีวิตมนุษย์ ก็คือชีวิตของคนทุกคนตั้งแต่อดีต

จนปัจจุบันและรวมถึงอนาคต การให้ความส�าคัญกับความต่อเน่องช่วยให้แยกเหตุการณ์ท่เกิดมาแล้ว

กับปัจจุบันออกจากกัน มีข้อมูลเปรียบเทียบและทดสอบทฤษฏี ตลอดจนมีมิติทางด้านเวลาที่ขาด
๔ Ivan L. Richardson and Sidney Baldwin, Pulic administration : Government in action, (Ohio
: Charles E. Merril Publishing, 1976), pp.9-28.

�������������������.indd 32 11/23/19 1:35 PM

33
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


หายไปจากการศึกษาในแนวพฤติกรรมการบริหารรวมท้งมีบริบททางวัฒนธรรม กระตุ้นให้เกิด


จินตนาการเพ่อแก้ปัญหาท่เผชิญ ถ้าหากว่าไม่มีมิติทางประวัติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ก็เหมือน
คนเสียความทรงจ�า ซึ่งอาจท�าผิดซ�้าอีก

อย่างไรก็ดี การศึกษาประวัติศาสตร์น้นมีข้อควรระวังหลายอย่าง ประการแรกไม่ควรน�า



ค่านิยมปัจจุบันไปตัดสินอดีต เพราะเป็นเร่องท่เปรียบเทียบกันไม่ได้ ประการท่สองการแก้ปัญหาใน
ปัจจุบันไม่ใช่ค้นหาปัญหาที่เหมือนกันหรือค้นหามูลเหตุในอดีต แต่เพื่อเช้าใจอดีตได้ดีขึ้น เนื่องจาก
การเข้าใจอดีตจะช่วยให้เข้าใจว่าปัญหาในปัจจุบันเกิดมาอย่างไร ประการท่สาม ต้องระวังการยึด

เหตุผลมากเกินไป เพราะจะท�าให้ไม่เข้าใจความหมายและอารมณ์ท่เกิดข้นในประวัติศาสตร์ ประการ




ท่ส่ การศึกษาประวัติศาสตร์อาจท�าให้เราได้ข้อมูลมากจนแยกไม่ออก และประการสุดท้าย ต้องไม่น�า
ประวัติศาสตร์มาสนับสนุนฐานะเดิมเพื่อต่อต้านการเปลี่ยนแปลง










ในการศกษาวชารฐประศาสนาศาตร์ เหนว่า มศาสตร์ท เกยวข้องกบการศกษาวชา



รัฐประศาสนศาสตร์ ดังต่อไปนี้


๑. วิชาวิทยาการจัดการ โดยถือเป็นวิชาท่น�าความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์เพ่อใช้
วิเคราะห์ และควบคุมการท�างานให้เป็นระบบและมีประสิทธิภาพโดยเน้นเทคนิคต่างๆ เช่น
(Operations Research) การวิเคราะห์ระบบ (Systems Analysis) การวิเคราะห์ข่ายงาน (Network
Analysis) การวินิจฉัยสั่งการ (Decisionmaking) เป็นต้น










๒. วชาพฤตกรรมองค์การ เป็นวชาทศกษาเกยวกบทฤษฎองค์การ และมนษย์พฤตกรรม


โดยพิจารณาตัวแปร ๔ ตัว ดังนี้ (๑) บุคคล (๒) ระบบสังคมขององค์การ (๓) องค์การอรูปนัย และ
(๔) สภาพแวดล้อม โดยมีจุดเน้นท่การศึกษาปัญหาในระบบราชการเพ่อน�าไปสู่การปรับปรุง พัฒนา


องค์การ อย่างมีแบบแผน
๓. วิชาการบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ และการบริหารการพัฒนา การบริหารรัฐกิจเปรียบ
เทียบ คือ การศึกษาการบริหารภาครัฐบนพื้นฐานของการเปรียบเทียบ ไม่ว่าจะเน้นด้านพฤติกรรม
หรือกิจกรรมของรัฐ ในแง่ต่าง ๆ รวมถึงวัฒนธรรมหรือปรากฏการณ์ทางการบริหาร ในขณะที่การ
บริหารการพัฒนา เป็นการบริหารการเปล่ยนแปลงท่ได้มีการวางแผนไว้ล่วงหน้า หรือ เป็นเร่องของ




การบริหารนโยบาย แผนงาน และโครงการ เพ่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการพัฒนา โดยเน้น
การเปลี่ยนแปลง ผลลัพธ์ ความสามารถในการวัด การมีส่วนร่วม และความสัมพันธ์เป็นหลัก
๕ วรเดช จันทรศร. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและการประยุกต์, พิมพ์คร้งท่ ๓, (กรุงเทพมหานคร : ส�านัก


พิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๓), หน้า ๗-๘๙.

�������������������.indd 33 11/23/19 1:35 PM

34
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๔. วิชาวิเคราะห์นโยบายสาธารณะโดยมีขอบข่ายในองค์ประกอบทั้ง ๔ ด้าน คือ
๑) การก�าหนดนโยบาย โดยวิเคราะห์ ๒ แนวทาง คือ

(๑) หลักเหตุผล (Rational Comprehensive Analysis)
(๒) แบบปรับส่วน (Incremental Analysis)

๒) การน�านโยบายไปปฏิบัติ โดยศึกษากลไกส�าคัญในการท�าให้นโยบายบรรลุเป้าหมาย
๓) การประเมินผลนโยบาย โดยน าข้อมูลไปพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขนโยบายต่อๆ ไป
๔) การวิเคราะห์ผลสะท้อนกลับของนโยบาย

๕. วิชาทางเลือกสาธารณะ ในความหมายอย่างกว้าง เป็นการน�าหลักเศรษฐศาสตร์มาใช้ใน
การศึกษาการวินิจฉัยสั่งการในภาครัฐ ในความหมายอย่างแคบ คือ วิชาท่มุ่งเอาความรู้เก่ยวกับ


พฤติกรรมของตลาดอธิบายถึงพฤติกรรมการตัดสินใจที่เกิดขึ้นในส่วนของภาครัฐ ตลอดจนมุ่งที่จะ
น�ากลไกตลาดมาปรับปรุง เพื่อให้การตัดสินใจภาครัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ทั้งนี้ ขอบข่ายของวิชา ดังกล่าว ครอบคลุมการศึกษา ๓ เรื่อง คือ
๑) พฤติกรรมของกลุ่มผลประโยชน์

๒) พฤติกรรมของหน่วยงานในการให้บริการสาธารณะ

๓) การแสวงหาวิธการทางการบรหาร หรือโครงสร้างท่เหมาะสมสาหรับการให้บริการ





สาธารณะ ความพยายามในการน�าเอาศาสตร์ต่าง ๆ มาอธิบายโดยบูรณาการเพ่อเพ่ม ประสิทธิภาพ
และท�าให้เกิดความครอบคลุมทางการบริหารจึงเป็นส่วนส�าคัญในการท�าให้รัฐประศาสนศาสตร์
มีความเป็นสหวิทยาการสูง ซึ่งลักษณะดังกล่าวสามารถอธิบายได้
๒. มุมมองกฎหมาย (the perspective of law)

มุมมองกฎหมายมองว่า รัฐประศาสนศาสตร์เป็นกิจกรรมท่เป็นผลลัพธ์หรือส่วนขยายมา






จาก กฎหมาย เพราะกฎหมายเป็นการบัญญัตถึงกรอบการปฏิบติทเฉพาะเจาะจง วดโรว์ วลสน

(Woodrow Wilson) ที่ได้รับการย่องย่องให้เป็นบิรารัฐประศาสนศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา ก็มอง
ว่า งานหริหารรัฐบาล ก็คือ การบริหารของกฎหมาย (Execution of Law ) อย่างไรก็ดี หัวใจของ

มุมมอง กฎหมาย คือ การมอบอ�านาจให้รัฐบาลเพ่อน�าความคิดของรัฐไปปฏิบัติ พร้อมกันน้นก็ม ี

อ�านาจใช้ ดุลพินิจในการบริหารงาน
ในสมัยโบราณ การบริหารกระท�าง่าย ๆ โดยอาศัยผู้ปกครอง ๒ กลุ่ม คือ นักรบ (Warriors)
ท่คอยต่อสู้กับศัตรู กับคนเก็บบันทึก (Recordkeepers) ต่อมางานซับซ้อนข้น คนเก็บบันทึก


กลายเป็นทนายความ (Lawyer) ซึ่งมีงานใหม่เพิ่มเข้ามา คือ การร่างและบริหารกฎหมายและพระ
ราชกฤษฏีกา นานเช้าทนายความก็มีอ�านาจในราชการ เช่น กลางศตวรรษท่ ๑๘ การบริหารรัฐ








ปรสเซย ภายใต้ยค เฟรดเดอรก วลเลยมท ๑ (Frederick William ๑) งานของรฐบาลทงหมด






ควบคุมโดยนักกฎหมายท่เรียกว่า “Cameralists” ต่อมาในศตวรรณเดียวกันในสหรัฐอเมริกา
โทมส เจฟเฟอร์จัน (Thomas Jefferson ) ก็เห็นว่าการศึกษาเชิงกฎหมายเป็นด่านส�าคัญของการ
ประกอบอาชีพราชการ
�������������������.indd 34 11/23/19 1:35 PM

35
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

หลังจากที่สหรัฐอเมริกาตั้งประเทศเป็นสาธารณรัฐแล้ว ๑๕๐ ป เศรษฐกิจเริ่มเจริญเติมโต













จง ตองแยกกฎระเบยบใหม่ ๆ พรอมกับพฒนาระบบราชการเพ่อบรหารระเบยบเหลานน รฐเปล่ยน

จากการปกครองตามหลักการเมืองท่เลือกคนมาเป็นรัฐบาลและผลักดันกันเป็นช้าราชการ มาใช้


ผู้เช่ยวชาญทางเทคนิคและเน้นการปฏิบัติงานท่มีประสิทธิภาพ ซ่งเรียกว่าการเกิด “รัฐบริหาร”

(Asministrative State) ลักษณะของรัฐบริหาร คือ คนเกิดมาและอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐ
ที่มีสถาบันซับซ้อนซึ่งประกอบด้วยองค์การต่าง ๆ จ�านวนมาก ลักษณะเด่นอันหนึ่ง คือ การมอบ
อ�านาจ ให้หน่วยงานและช้าราชการเป็นผู้บริหาร ซ่งนอกจากอาศัยกฎระเบียบตายตัวแล้ว ยังม ี

อ�านาจใช้ ดุลพินิจ ซึ่งบางครั้งก็คาดการณ์อะไรไม่ได้
เม่อเกิดรัฐบริหารข้นมา ระบบกฎหมายก็ต้องปรับตัวตาม เรียกว่า “กฎหมายปกครอง”


(Administrative Law) เพื่อเป็นหลักในการสร้างสมดุลระหว่างการแกครองแบบประชาธิปไตยกับ
การยึดกฎหมาย การเกิดกฎหมายแกคาองในอังกฤษและสหรัฐอเมริกาได้รับอิทธิพลมาจากหลัก
นิติธรรม (Rule of Law ) ของ เอ วี ไดซีย์ (A.V. Dicey) หลักของไดซีย์ มี ๒ ข้อ คือ ข้อแรกการ
ตัดสินลงโทษ ผู้กระท�าผิดต้องกระท�าโดยศาลปกติเท่าน้น และข้อสอง เจ้าหน้าท่ของรัฐมีอ�านาจ


จ�ากัดและต้องอยู่ใต้ กฎหมายเหมือนพลเมืองอื่น เรื่องหลักที่กฎหมายปกครองสนใจ ได้แก่ อ�านาจ
ตามกฎหมายของ ข้าราชการ การแก้ไขค�าส่งราชการ อ�านาจออกกฎข้อบังคับและการใช้อ�านาจ

บังคับของผู้บริหาร อ�านาจตรวจสอบและการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ การคุ้มครองเจ้าหน้าที่จาก
การตรวจสอบและ ด�าเนินการของศาล


มุมมองกฎหมายมองว่ารัฐประศาสนศาสตร์มีปทัสถานทางกฎหมายท่ซับซ้อนซ่งประกอบ
ด้วย สิทธิ หน้าที่ และมาตรการการปฏิบัติที่คาดหวังว่าเจ้าหน้าที่จะให้การคุ้มครองหรือกล่าวได้ว่า
หาก ผู้บริหารภาครัฐต้องใช้ดุลพินิจเพราะการปกครองสมัยใหม่มีขนาดใหญ่และซับซ้อนผู้บริหาร
ก็ต้องท�าตามกฎหมายเท่าที่คนอื่นจะสามารถเข้าใจได้ รัฐประศาสนศาสตร์ตามมุมมองอื่นจะสนใจ
เร่องประสิทธิผล (Effectiveness) และประสิทธิภาพ (Efficieney) แต่ตามมุมมองกฎหมายน้น


จะสนใจ เรื่องความยุติธรรม (Justice)
๓. มุมมองกระบวนการจัดการ ( The Perspective of Management-Process )

“การบริหาร” (administration) กับ “การจัดการ” (management) เป็นค�าท่มักใช้ แทนกัน

เพ่อส่อความหมายถึงคนและกิจกรรมท่อยู่ส่วนยอดของสังคมของท้งภาครัฐและเอกชน แต่การใช้ก ็



ไม่แน่นอน มักใช้ “การจัดการ” เพ่อหมายถึงงานธุรกิจ หรืองานท่เป็นส่วนหน่งจองการบริหารภาครัฐ



เช่น การจัดการงบประมาณ บุคคล แผนงาน ข้อมูล ระบบและขั้นตอน การควบคุม และอื่น ๆ หรือ
บางทีก็ใช้เพ่อเน้นถึงประสิทธิภาพ ประหยัด และความช�านาญทางเทคนิค ส่วน “การบริหาร”



ใช้เพ่อหมายถึงภาพรวมของระบบท้งหมด ซ่งรวมถึงความสัมพันธ์ของระบบกับ สภาพแวดล้อม

ภายนอก

�������������������.indd 35 11/23/19 1:35 PM

36
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์สหรัฐอเมริกาเติบโตมาด้วยมุมมองกระบวนการจัดการกล่าวคือ
หลังสงครามกลางเมืองเกือบ ๕๐ ป ปรากฏว่าสังคมอเมริกันขยายตัวจากการอพยพของคนยุโรป
ความ เจริญของอุตสาหกรรม การเมืองอนุรักษ์นิยมและการคอรัปชั่น ท�าให้ขบวนประชานิยมและ


ฝายก้าวหน้า (Populist and Progressive Movements) ต้องการเปล่ยนแปลงระดับสถาบันหลายอย่าง

แต่ส่งหน่งท่พยายามท�า คือ แยกการบริหารกับการเมืองออกจากกันหลักการน้ท�าให้เกิดการ ปฏิรูป



หลายอย่าง เช่น จัดตั้งคณะกรรมการควบคุมอิสระ (Independent Regulatory Commissions)






สนบสนนระบบการบรหารเมองแบบผ้จดการและสภา (City Manager-Council System)

แยกการบริหารเทศบาลออกจากการเมืองให้ต�ารวจและเจ้าหน้าท่ดับเพลิงเทศบาลอยู่ใต้การ ควบคุม
ของคณะกรรมาธิการพิเศษ (Special Lay Commissions) จัดต้งเขตพ้นท่พิเศษ (Special Purpose




Districts) เพ่อแยกการบริหารโรงเรียนออกจากการเมืองและจัดต้งระบบช้าราชการท่เป็นกลาง


ทางการเมือง (Establishment lf Politically Meutral Civil Service Systems)

ปัจจัยท่เสริมสร้างมุมมองกระบวนการจัดการให้แข็งแกร่งมีหลายปัจจัยโดยเฉพาะอิทธิพล
จาก เฟร็ดเดอริก ดับเบิลยู เทเลอร์ (Frederick W. Taylor) ซ่งเป็นผู้น�าขบวนการจัดการอย่าง

เป็นวิทยาศาสตร์ (scientific management movement) ขบวนการนี้มีหลักส�าคัญ คือ ต้องการ


หนีให้พ้นจากวิธีการท�างานท่ไม่เป็นระเบียบ (Disorder) และอาศัยประสบการณ์ท่ไม่แน่นอน
(Rule-Ofthumb ) สร้างประสิทธิภาพ (Efficienty) ในการใช้ทรัพยากรรวมสติปัญญาของคน



(Human Intelligence) เข้ากับพลังของเคร่องจักร (machine power) แสวงหาทางท่ดีท่สุด
(One Best Way) เพื่อแก้ปัญหาและท�างาน ใช้มาตรฐานการท�างานที่เป็นตัวเลข (Mathematical
Work Standards) ให้มากที่สุด ประยุกต์ใช้หลักการที่เป็นสากล (Universal Principles) คัดเลือก
และฝกอบรมคนงาน แต่ละต�าแหน่งด้วยวิธีการอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ (Sxientific Selection and
Trainning)
เลนเนิร์ด ดี ไวท์ (Leonard D. White) ผู้แต่งต�ารารัฐประศาสนศาสตร์เล่มแรกใน สหรัฐอเมริกา








ให้ความเหนว่า ขบวนการจดการอย่างเป็นวทยาศาสตร์กบนกปฏรปจบมอกนเรยกร้อง ให้รฐบาล




เพ่มความรับผิดชอบและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน ไวท์ ยอมรับว่าขบวนการจัดการอย่างเป็น

วทยาศาสตร์มีอทธิพลอย่างมากต่อรัฐบาล โดยเฉพาะหลักการท่ว่า “คนท่เป็นผ้บรหารระดับสูง






น้นต้องหาทางท�างานให้ดีท่สุด” ไวท์ เห็นว่าการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ควรอาศัยการจัดการ


มากกว่ากฎหมาย ควรซึมซับเอาผลงานของสมาคมการจัดการแห่งสหรัฐอเมริกามาใช้มากกว่าการ
ยึดค�าตัดสินของศาล ช่วงปลายทศวรรษ ๑๙๒๐ ถึง ทศวรรษ ๑๙๓๐ จึงปรากฏว่า ขบวนการจัดการ
อย่างเป็นวิทยาศาสตร์มีอิทธิพลอย่างมากต่อรัฐประศาสนศาสตร์และการบริหารภาครัฐ
มุมมองกฎหมายพยายามแสวงหาความยุติธรรม แต่มุมมองกระบวนการจัดการพยายาม
สร้างรูปแบบการท�างาน มุมมองนี้จึงเปลี่ยนจุดยืนจากนักกฎหมายที่ยึดกฎหมายและสิ่งดีที่ควรท�า
(Oughts) มาเป็นคนท่ยึดความจริงและลงมือท�าจริง (Practical, Hard-Headed Realists)

รัฐประศาสนศาสตร์ตามมุมมองกระบวนการจัดการจะไม่สนใจปรัชญา รัฐธรรมนูญและกฎหมาย
�������������������.indd 36 11/23/19 1:35 PM

37
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

แต่สนใจขั้นตอน กฎระเบียบและเทคโนโลยี เพราะมองว่ากฎหมายเป็นแนวคิดและอุดมคติ แต่การ
จัดการเป็นการท�างานจริง สิ่งที่มุมมองกระบวนการจัดการใช้เปรียบเทียบ คือ เครื่องจักร บางครั้ง

จึงเรียนกว่าการจัดการเป็นเสมือนเคร่องจักรของการปกครอง (Machinery or Government)
ซึ่งเป็นเครื่องมือของการบริหารงาน

มุมมองกระบวนการจัดการมีจุดอ่อนหลายอย่าง ประการแรก สนใจรายละเอียดมากไป
จนลืมเป้าหมายใหญ่ของการบริหารภาครัฐ ประการที่สอง ยึดมั่นในหลักเหตุผลมากเกินไป จนไม่
สนใจ พฤติกรรมด้านอื่น ประการที่สาม ให้ความส�าคัญกับล�าดับชั้นบังคับบัญชามากเกินไปซึ่งมีค่า




เท่ากับ สนับสนุนระบอบอ�านาจนิยมและไม่ใช่วิธีการบริหารท่ดีท่สุดเสมอไป ประการท่ส่ เช่อแนวคิด



เร่องการบริหารท่สามารถใช้ได้ทุกหนทุกแห่ง (Generic Concept of Administration) มากเกินไป

จนอาจใช้กับการบรหารภาครัฐได้ไม่มาก ประการท่ห้า ถูกวจารณ์ มากว่าสนใจค่านิยมและการเมือง


น้อยเกินไป จนอาจลืมว่าเทคนิคและกระบวนการจัดการที่จริงก็เป็นการเมือง คือ เป็นผลประโยชน์
ของผู้เชี่ยวชาญ และผู้บริหาร ประการที่หก ประการสุดท้ายการยึดความเป็นวิชาชีพนั้นท�าให้มอง
แคบและให้ ความส�าคัญเฉพาะความเข้มแข็งของชนชั้นน�า
๔. มุมมองพฤติกรรม (The Behavioral Perspective)

มุมมองพฤติกรรมเป็นส่วนหน่งของพัฒนาการของสังคมศาสตร์ซ่งพัฒนามาอย่างยาวนาน





นับต้งแต่สมัยกรีกโบราณจนถึงศตวรรษท่ ๒๐ ท้งน้ เพ่อสร้างทฤษฏีมนุษย์ท่เป็นหน่งเดียว



(A Unified Theory of Man) ที่เรียกว่า “พฤติกรรมศาสตร์” (Behavioral Science) ส�าหรับ


อิทธิพลต่อรัฐประศาสนศาสตร์มีในสมัยสงครามโลกคร้งท่สอง ซ่งเป็นผลรวมมาจากหลายสาเหต ุ

ประการแรกคือ ความเป็นระบบราชการของโลกสมัยใหม่ ท�าให้คนเป็นกังวลว่าจะสูญเสียความเป็น


มนุษย์ เช่น เกิด ความเดียวดายและไร้คุณค่ามากข้น ประการท่สอง ภูมิปัญญาของรัฐประศาสนศาสตร์
ตามแนว ประเพณี คือหลักการบริหารนั้น ถูกท้าทาย ประการที่สาม ความรู้ทางสังคมศาสตร์แพร่






กระจายมาก ขนซ่งเป็นผลงานของนกสงคมวิทยา นกจิตวทยาและนักจตวทยาสังคม ประการท่ส ี ่





การแสวงหา ความรู้แบบวิทยาศาสตร์มีมากและได้รับการยกย่องมากข้นจึงมีน�าไปสู่การพัฒนาความ
เป็นศาสตร์ทาง พฤติกรรม และประการที่ห้า ประการสุดท้ายคอมพิวเตอร์เจริญมากข้นจนกลาย


เป็นเคร่องมือใหม่ ๆ ในการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์เติบโตมากในรัฐศาสตร์ และ


มีอิทธิพลต่อรัฐประศาสนศาสตร์ในฐานะสาขาวิชาท่เก่ยวข้องทางด้านสังคมศาสตร์ มุมมองพฤติกรรม
ของรัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นการตอบสนองต่อการเปล่ยนแปลงภายนอก พร้อมท้งเป็นแนวคิด


และวิธีปฏิบัติใหม่ ๆ ทางด้านการบริหาร


หนังสอพฤติกรรมการบริหารท่ต่อสู้จนฝาด่านรัฐประศาสนศาสตร์ยุคคลาสสิกออกมาได้ คือ
หนังสือของ เฮอร์เบิร์ต เอ ไซมอน (Herbert A. Simon) ชื่อ “Administrative Behavior” ไซมอน
เห็นว่า หลักการบริหารที่นักคิดคลาสสิกอธิบายมานาน เช่น ประสิทธิภาพการแบ่งงานกันท�าตาม



ความช�านาญเฉพาะด้าน ล�าดับช้นการบังคับบัญชา อ�านาจหน้าท่และการควบคุมน้น เป็นเพียง
“สุภาษิต” (Proverb) ซึ่งเป็นแนวที่ปฏิบัติได้บางสถานการณ์ ไม่ใช่ทั้งหมด ไซมอนให้ความส�าคัญ
�������������������.indd 37 11/23/19 1:35 PM

38
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

กับนักจิตวิทยาการเลือกของมนุษย์ (Psychology of Human Choice) เขาเห็นว่าองค์การไม่ใช่
เครื่องจักร แต่เป็นเครื่องมือแก้ปัญหาและสร้างทางเลือก ไซมอน เห็นว่ารัฐประศาสนศาสตร์มีจุด

มุ่งหมายอยู่ท่การแก้ปัญหา (Problem-Soving) ภาระส�าคัญของนักบริหารคือการตัดสินใจ
(To Make Decisions) ซึ่งเป็นการรับรู้ปัญหา น�าข้อมูลไปใช้แก้ปัญหาสนใจคนและปัจจัยภายนอก



ท่มีผลต่อการแก้ปัญหา จากน้นจึงท�าการตัดสินใจ ไซมอนเห็นว่าการตัดสินใจเป็นข้อเท็จจริง

เวลาหน่งขององค์การ อย่างไรก็ตามการท้าทายของไซมอนไม่ถึงกับเป็นการปฏิวัติรัฐประศาสนศาสตร์
แต่ทิ้งสาระส�าคัญไว้ คือ ช่วยให้รับรู้ว่ามีค่านิยมในรัฐประศาสนศาสตร์ ช่วยให้เกิดการนิวิจัยมาใช้






ในรฐประศาสนศาสตร์ และก่อให้เกดวกฤตเอกลกษณ์ (Crisis of Odentity) ซงเป็นปัญหาทแก้


ไม่ได้ในเวลาต่อมา
มุมมองพฤติกรรมไม่ใช่ทฤษฎีทางการเมือง การปกครองหรือรัฐประศาสนศาสตร์โดยตรง






แตเปนกลมทีมแนวคดเหมอนกนตรงทพยายามพฒนาความรในสาขา นน ๆ ไปสูความเปนวทยาศาสตร ์













ลักษณะเด่นของความคิดและเป้าหมายส�าคัญของนักวิชาการแนวนี้มี ๖ ประการคือ
๑) พยายามแสวงหาแบบแผนและกฎเกณฑ์ทางการเมืองและการปกครอง

๒) สนใจพิสูจน์เพ่อหาข้อสรุปทางทฤษฎีโดยอาศัยข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical Data)
๓) เป็นที่รู้กันว่ามีเทคนิคเฉพาะเป็นของตัวเอง
๔) ให้ความส�าคัญกับการวิจัยเชิงปริมาณ

๕) มีความคิดว่าการวิจัยต้องท�าอย่างเป็นระบบ เพราะปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่อมโยงกัน
อย่างใกล้ชิด
๖) เชื่อว่าความรู้ทางทฤษฎีควรมาก่อนการน�าไปปฏิบัติ


มุมมองประวัติศาสตร์เน้นอดีต แต่มุมมองพฤติกรรมไม่สนใจส่งท่เกิดมาแล้วหากสนใจ
สิ่งที่เป็นอยู่ ณ ที่ตรงนี้และเดี๋ยวนี้ ความแตกต่างระหว่างมุมมองพฤติกรรมกับมุมมองกฎหมายและ
มุมมองกระบวนการจัดการก็ต่างกันตรงที่มุมมองกฎหมายเน้นที่ปทัสถานและค่านิยม ส่วนมุมมอง
พฤติกรรมพยายามแยกคุณค่าเชิงจริยธรรมกับความเป็นจริงในเชิงประจักษ์ออกจากกัน ส่วนทาง
ด้านมุมมองกระบวนการจัดการก็เน้นรายละเอียดของเทคนิคและรูปแบบโครงสร้างองค์การ แต่มุมมอง
พฤติกรรมสนใจการปฏิสัมพันธ์ของคนและสภาพแวดล้อมขององค์การ
มมมองกระบวนการจดการสนใจแนวคิดบางอย่างโดยเฉพาะ เช่น การตรวจสอบได้


(Accountability) อ�านาจหน้าที่ (Authority) การสั่งการ (Command) การควบคุม (Control)
ต้นทุน (Costs) ประสิทธิภาพ (Efficiency) ล�าดับชั้นการบังคับบัญชา (Hierarchy) ประสิทธิภาพ
การผลิต (Productivity) อรรถประโยชน์ (Utility) และงาน (Work) แต่มุมมองพฤติกรรมเน้น
คนละด้าน เช่น ความวิตกกังวล (Anxiety) ทัศนคติ (Attitude) การสื่อสาร (Communication)
ความขัดแย้ง (Conflict) ความต้องการของมนุษย์ (Needs) อิทธิพล (Influence) ปฏิสัมพันธ์
(Interaction) การจูงใจ (Motivation) และการรับรู้ (Perception)

�������������������.indd 38 11/23/19 1:35 PM

39
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



มุมมองพฤติกรรมมีจุดอ่อนหลายอยางท�านองเดียวกันกับมุมมองอ่น ๆ น่นคือ ประการแรก










การให้ความสาคญกบทฤษฎและสงทเป็นนามธรรมมกยงให้เกดปัญหาทางวชาการและละเลย



การน�าทฤษฏีไปปฏิบัติ ประการที่สอง นักพฤติกรรมในสาขารัฐประศาสนศาสตร์มักสนใจ องค์การ
เอกชนมากกว่าหน่ายงานภาครัฐ ประการที่สาม การเลือกหัวข้อวิจัยทางพฤติกรรมได้รับ อิทธิพล



มาจากระเบียบวิธีการมากกว่าความส�าคัญทางสังคม และประการท่ส ประการสุดท้าย การวิจัยและ
การปฏิรูปการบริหารเน้นวิธีทางพฤติกรรม เช่น การวิจัยส�ารวจ การแก้ไขพฤติกรรม การพัฒนา
องค์การ ซึ่งมักท�าให้คนกลัวสูญเสียอิสรภาพและสิทธิส่วนตัว
๕. มุมมองการเมือง (the perspective of politics)
มุมมองการเมืองในทางรัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง มุมมองทางด้านความขัดแย้งและการ
แก้ปัญหาความขัดแย้งการบริหารมีความขัดแย้งมากมาย เช่น การวางแผนเมือง การก�าหนดค่าจ้าง
การข้นภาษีการออกระเบียบเงินบ�านาญ การคุ้มครองส่งแวดล้อม การสร้างถนนและทางด่วน


การก�าหนดที่ตั้งห้างสรรพสินค้า ท่าอากาศยาน การให้สวัสดิการ การออกใบขับขี่ ใบอนุญาตธุรกิจ





ใบอนญาตประกอบวชาชพ เพราะการบรหารภาครฐเปนการใหบรการสนคาสาธารณะ (Common





Good) ซึ่งประชาชนมีความต้องการส่วนตัวอยู่มากมาย

การแก้ปัญหาความขัดแย้งไม่ได้เป็นเพียงเร่องความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับ
ภายนอก แต่อาจเก่ยวข้องกับเครือข่ายความสัมพันธ์ภายในหน่วยงานภาครัฐด้วย หน่วยงานภาครัฐ


อาจสร้างอาณาจักร (Empire Building) คือ พยายามขยายอ�านาจแทนท่หน่วยงานอ่น อาจเกิด


ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานเพราะมีพ้นฐานต่างกัน เช่น ต�ารวจกับประชาสงเคราะห์ นักวาง
ผังเมืองกับวิศวกร ย่งกว่าน้นอาจเกิดความขัดแย้งภายในระหว่างกลุ่มท่มีเอกลักษณ์ต่างกัน เช่น













นกสงคมสงเคราะหทเน้นการบรการ กบนกวเคราะห์งบประมาณและนักบญชตนทนทสนใจการเกบ






ภาษีหากความขัดแย้งดังกล่าวมีผลต่อการตัดสินใจหรือความสามารถในการท�างาน ก็จะกลายเป็น
ปัญหา ร้ายแรงที่ต้องรีบหาทางแก้ไข
มุมมองการเมืองไม่ได้สนใจกระบวนการบริหารโดยตรง แต่สนใจปัญหาความอยู่รอดของ
องค์การซ่งข้นอยู่กับปัจจัยภายนอก อันได้แก่ สภาพแวดล้อม และปัจจัยภายในอันได้แก่ ความ


สัมพันธ์ต่าง ๆ ภายในหน่วยงานซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของระบบการเมือง






สหรัฐอเมริกาช่างท่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจตกต่าคร้งใหญ่และสงครามโลกคร้งท่สองเม่อ ทศวรรษ
๑๙๓๐ และ ๑๙๔๐ นั้น รัฐบาลต้องเล่นการเมืองเป็นอย่างมากเพราะต้องใช้อ�านาจเพื่อจัดสรร ผล
ประโยชน์ ระงับความขัดแย้ง ของกลุ่มผลประโยชน์ และตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มต่างๆ
และถูกเรียกร้องให้สร้างความยุติธรรมแก่สังคม หน่วยงานรัฐบาลเข้าไปรุกล้ากิจการของประชาชน
การแยกการเมืองกับการบริหารออกจากกันเป็นจริงน้อยลงเรื่อย ๆ

การเปล่ยนแปลงข้างต้นท�าให้นักรัฐศาสตร์และนักรัฐประศาสนศาสตร์เรียกร้องให้การเมือง
กับการบริหารกลับมาสัมพันธ์กัน แต่จนทศวรรษ ๑๙๖๐ ความสัมพันธ์นี้ก็ยังกลับคืนไม่เต็มที่ ต�ารา
รัฐประศาสนศาสตร์บางเล่มและหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บางแห่งยังพูดถึงการเมืองน้อยมาก
ความแตกแยกระหว่างนักรัฐศาสตร์กับนักรัฐประศาสนศาสตร์ยิ่งกว้างขึ้น
�������������������.indd 39 11/23/19 1:35 PM

40
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

นโยบายของนักการเมืองมุ่งตอบสนองต่อผลประโยชน์ทางการเมือง เช่น นโยบายสงคราม
ความยากจน (War on Poverty) ของประธานาธิบดีจอห์นสันเมื่อกลางทศวรรษ ๑๙๖๐ นั้นเน้น
องค์การและการจัดการ แต่ไม่ได้ค�านึงถึงความอยู่รอดของหน่วยปฏิบัติท�านองเดียวกันการน�าเทคนิค
การจัดการใหม่ ๆ มาใช้ เช่น ระบบ PPB (Planning, Programming Budgeting) เพื่อแก้ปัญหา
ทางการเมือง อันได้แก่ อ�านาจและการจัดสรรทรัพยากรให้แก่สังคมส่วนสมัยนิกสันก็ปฏิรูปโครงสร้าง
การคลังท้องถิ่นใหม่ เพื่อแบ่งรายได้ไม่ให้ท้องถิ่นเข้มแข็งเกินไป

สมัยก่อนการเปล่ยนแปลงเกิดข้นน้อย ท้งคาดหวังว่ารัฐบาลจะท�าอะไรไม่มากจึงเป็นการ





ถูกต้องท่คิดว่าการบริหารภาครัฐไม่ใช่เร่องการเมือง ว่าต้งแต่ทศวรรษ ๑๙๗๐ เป็นต้นมา เกิดความ

วุ่นวายและการท้าทายท่ผลักดันให้การเมืองกับการบริหารต้องกลับมาสัมพันธ์กัน บทบาทของ
นักวิชาการถูกท้าทาย เช่น องค์การอิสระถูกต่อต้านเพราะไม่ตอบสนองต่อความต้องการใหม่ ๆ
ของสังคม การบริหารเมืองถูกท้าทายจากแรงผลักดันต่าง ๆ เช่น ความต้องการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม
การมีส่วนร่วมของประชาชน กฎหมายและระเบียบ การให้บริการการเคหะ การขนส่งแรงงานสัมพันธ์
โอกาสการท�างาน ต้นทุนท่สูงข้นของรัฐบาลและการต่อต้านจากผู้เสียภาษี การบริหารทุกระดับ


มีการเมืองเกิดข้น ได้แก่ ประชาชนเรียกร้องมีส่วนร่วมมากข้น กระจายอ�านาจตัดสินใจมากข้น



พนักงานรวมตัวกันเป็นสหภาพกันมากขึ้นและต้องการรับบริการที่เท่าเทียมกันมากขึ้น

แนวโน้มน้เห็นได้จากรายงานของสมาคมวิชาการแห่งชาติทางรัฐประศาสนศาสตร์
(National Academy lf Public Administration) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งส�ารวจทัศนคติผู้น�าทาง
รัฐประศาสนศาสตร์ทั่วประเทศ ๘๐ คน รายงานนี้ สรุปว่า ผู้บริหารในอนาคตจะต้องเป็นผู้น�าทาง
ศีลธรรม (Moral Leader) เป็นตัวแทน (Broker) และเป็นผู้ประสานงาน (Coordinator) มากกว่า
เป็นนายหรือเป็นผู้ออกค�าส่ง ผู้บริหารและทีมต้องมีความสามารถต่อรองและมีบทบาททางการเมือง








เพราะต้องตดต่อกบกล่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ทแข่งขนกน ต้องเข้าใจกระบวนการบรหารและ

กระบวนการเมืองที่เกี่ยวข้อง เป็นอย่างดี
ข้อวิจารณ์มุมมองการเมืองมาจากคนท่หวนนึกถึงความย่งใหญ่ของกระบวนการจัดการอย่าง



เป็นวิทยาศาสตร์ เพราะตามหลักน้นรัฐประศาสนศาสตร์ต้องการความลงรอย ความเป็นระเบียบ
และความสามารถคาดการณ์ได้ แค่ส�าหรับการเมืองแล้ว หมายถึง ความขัดแย้ง ความก�ากวม และ
ความไม่แน่นอน การสนใจแก้ปัญหาความขัดแย้งอาจท�าให้หลงเสน่ห์ของการเมืองมากเกินไป



คานิยม ประชาธปไตย ความเปนธรรมและมนุษยนยมเป็นสงดี แตกไม่ควรลมค่านยมทางการบริหาร







โดยเฉพาะความเป็นระเบียบเรียบร้อยและประสิทธิภาพ
๖. มุมมองภาวะนิเวศ (the perspective of ecology)



มุมมองภาวะนิเวศเกิดช่วงหลังสงครามโลกคร้งท่สอง จากการท่นักวิชาการพยายามหนีจาก











กระบวนการจดการและอทธพลของนกคดสมยคลาสสก มมมองนประยกตมาจากชววทยาท่มองวา





สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมต้องพึ่งพาอาศัยกัน เริ่มเมื่อประมาณป ค.ศ.๑๙๔๕ เมื่อนักสังคมศาสตร์เริ่ม
สนใจความสัมพันธ์ตอบโต้กันระหว่างคน สถาบัน สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม เช่น
ป ค.ศ. ๑๙๔๖ อเล็กซานเดอร์ เอช เลห์ตัน (Alexander H. Leighton) ชี้ให้เห็นว่า หน่วยบริหาร

เป็นส่วน หน่งของหน่วยงานทางสังคมท่หน่วยบริหารด�าเนินการอยู่ในน้น ต่อมา ป ค.ศ. ๑๙๔๗


�������������������.indd 40 11/23/19 1:35 PM

41
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

จอร์น เอ็ม กาวส์ (John M. Gaus ) เขียนหนังสือที่มีบทน�าชื่อ “The Ecology lf Goverment”

ในบทน้ กาวส์ เสนอปัจจัยสภาพแวดล้อมท่เขาเรียกว่า “วัตถุดิบของการเมือง”(Raw Materials

lf Politics) ได้แก่ คน (People) พื้นที่ (Area) โครงสร้างสังคม (Social Structure) เทคโนโลยี

(Techonlogy) อุดมการณ์ (Ideology) และภัยพิบัติ (Catastrophe) ถัดมาเม่อป ค.ศ. ๑๙๔๘
เชสเตอร์ ไอ บาร์ นาร์ด (Chester I. Barnard) เขียนหนังสือที่มีชื่อเสียง ชื่อ“The Functions of
the Executive ” ในหนังสือเล่มนี้ บาร์นาร์ด มององค์การเป็นระบบ เขาเห็นว่า การตัดสินใจเป็น
หน้าที่ที่ท�าเพื่อรักษา ความสมดุลระหว่างวัตถุประสงค์ขององค์การกับโลกภายนอก
สภาพแวดล้อมไม่ได้เป็นตัวก�าหนดโครงสร้าง กระบวนการ พฤติกรรมและผลงานของ
การบริหาร แต่เป็นสิ่งบีบบังคับ (Constrains) นักรัฐประศาสนศาสตร์อาจมองว่ามีสิ่งต่าง ๆ ที่มา



จากสภาพแวดล้อม เช่น ปัญหาท่จะต้องแก้ ทางเลือกท่เป็นไปได้ ทรัพยากรท่จะใช้ และความ

สนับสนุน หรือคัดค้านนโยบาย ย่งกว่าน้นภายในสภาพแวดล้อมก็มีลูกค้าท่ต้องการรับบริหาร




มีตลาดท่ก�าหนด ราคาสินค้าและบริการ มีกลุ่มผลประโยชน์ท่สนใจการท�างานของภาครัฐและสถาบัน
อื่น ๆ สภาพแวดล้อมยังเป็นตัวตัดสินผลลัพธ์การปฏิบัติงานของภาครัฐว่าถูกต้องหรือไม่
ผู้บริหารไม่ได้ท�าตามสภาพแวดล้อมอย่างเดียว ยังมีอิสรภาพและสามารถใช้ดุลพินิจได้
แต่การบริหารเหมือนชีววิทยา นั้นคือ หากมีการเปลี่ยนแลปงปะทุขึ้นก็จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ

ขยายออกไปไกล จนอาจขัดขวางไม่ได้และท�าลายความสมดุลของภาวะนิเวศสภาพทเป็นภัยดังกล่าว

ผู้บริหารไม่มีอิสรภาพและไม่สามารถใช้ดุลพินิจได้
มุมมองภาวะนิเวศมีลักษณะเด่นอยู่ ๓ ประการ คือ
๑. สนใจการเปลี่ยนแปลงมากกว่าการรักษาเสถียรภาพ

๒. มุ่งวิเคราะห์ระดับมหภาค (Macro) มากกว่าระดับจุลภาค (Micro) และ
๓. สนใจผลลัพธ์ (Consequences) มากกว่าวิธีการ (Methods)


ตัวอย่าง หากศึกษาหน่วยการปกครองท้องถ่น สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical
Environment) อาจได้แก่ สิ่งอ�านวยความสะดวก เขตพื้นที่รับผิดชอบ ระบบการขนส่งคมนาคม
สาธารณสขและความปลอดภย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกจ (Economic Environment)



อาจได้แก่ ระดับรายได้ของชุมชน ความยากจนและการว่างงาน อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และราคา สินค้าและบริการ สภาพแวดล้มทางการเมอง (Political Environment) อาจได้แก่


ความสัมพันธ์กับ หน่วยราชการอ่น กลุ่มผลประโยชน์ อิทธิพลของส่อมวลชน ทัศนคติของประชาชน

ต่อการปกครอง และนักการเมือง อ�านาจของท้องถิ่น และบรรยากาศทางการเมือง สภาพแวดล้อม
ทางสังคม (Social Environment) ได้แก่ ลักษณะประชากร ความหนาแน่นของประชากร



ความสมพนธ์ทางเชอชาต และแบบแผนความสัมพนธ์ของกล่มคนสภาพแวดล้อมทางจตวทยา






(Psychological Environment) อาจได้แก่ สติปัญญา ความมั่นคงทางอารมณ์ บุคลิกภาพของคน

ชุมชนและพนักงานท้องถ่น สภาพแวดล้อมทางอุดมการณ์และปรัชญา (Ideological and


Philosophical Environment) อาจได้แก่ ทัศนคติและความเช่อของชุมชนต่อการเปล่ยนแปลง
เสถียรภาพทางการเมือง ความรับผิดชอบ ของพลเมือง ความเป็นอิสระและการพ่งพาอาศัยกัน

ประชาธิปไตย การมีส่วนร่วมและลักษณะทาง อุดมการณ์และปรัชญาอื่น ๆ

�������������������.indd 41 11/23/19 1:35 PM

42
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

วิเคราะห์ในมุมมองภาวะนิเวศมีประโยชน์ แต่มีข้อควรระวัง ๔ ประการ คือ ประการแรก


มุมมองภาวะนิเวศอาจสนใจรัฐประศาสนศาสตร์ท่กว้างเกินไป ประการท่สอง ควรหาทางแยกวัด

และวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยภาวะนิเวศท่มีต่อรัฐประศาสนศาสตร์ไม่เช่นนั้นอาจหลงอยู่กับ
ข้อมูลที่ ไม่เกี่ยวข้องหรือขัดแย้งกัน ประการที่สาม ต้องมีความรู้ทางสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง





จึงจะใช้ แนวทางน้ได้ผล และประการท่ส่ แนวทางน้มีทฤษฎีมากซ่งอาจท�าให้เป็นนามธรรมและ
น�าไปปฏิบัติ ไม่ได้
๗. มุมมองเปรียบเทียบ (The Comperative Perspective)

การศึกษารัฐประศาสนศาสตร์หลีกเล่ยงการเปรียบเทียบไม่ได้ หน่วยงานหน่งอาจดีกว่า


หน่วยงานหน่ง หรือ ผู้บริหารคนหน่งอาจรับผิดชอบมากกว่าผู้บริหารอีกคนหนึ่ง หรือผู้บริหาร

ประเทศหน่งอาจบริหารแบบราชการมากว่าผู้บริหารอีกประเทศหน่ง ในการปฏิบัติจริง เม่อน�าวิธ ี





การจากท่อ่นมาใช้ถือว่าเป็นการเปรียบเทียบในตัว การเปรียบเทียบและน�าความรู้มาใช้จึงต้อง



ตระหนกถง ความแตกต่างทางด้านภาวะนิเวศท้งความแตกต่างและความเหมอนของแต่ละแห่ง

ดังนั้น มุมมองการ เปรียบเทียบกับภาวะนิเวศจึงสัมพันธ์กัน
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์คลาสสิก คือ ขบวนการจัดการอย่าง
เป็นวิทยาศาสตร์และการมององค์การเหมือนเคร่องจักรถูกท้าทายอย่างมาก การท้าทายอันหน่ง





ในน้น คือ การเกิดมุมมองเปรยบเทียบ สาเหตก็เพราะประการแรก ความรู้หลกการบริหาร


ต่าง ๆ สมัย คลาสสิกน้นไม่ตรงกับความต้องการแก้ปัญหาในเวลาน้น ประการท่สอง เกิดการวิพากษ์





ความรู้ คลาสสิก ซ่งจูงใจให้เช่อเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะประเด็นท่ว่าความรู้สมัยคลาสสิกไม่ได้ผ่าน

การทดสอบ ประการทสาม รฐศาสตร์ มการศกษาเชงพฤตกรรมและการเปรยบเทยบเกดขนซงม ี













อิทธิพลต่อนักรัฐประศาสนศาสตร์บาทคน ประการท่ส่ เกิดกระบวนการพัฒนา (Development


Movement) ซ่งเป็นความร่วมมือระหว่างองค์การสหประชาติกับมหาวิทยาลัยและนักธุรกิจใน



สหรัฐอเมริกา ระดมผู้เช่ยวชาญทางรัฐประศาสนศาสตร์และสาขาอ่นออกไปให้ความช่วยเหลือ
ประเทศด้อยพัฒนา ประการที่ห้า ประการสุดท้าย เกิดการพัฒนาความรู้ใหม่ในสหรัฐอเมริกาโดย

การวิจัยการก�าหนดนโยบายและการบริหารท้งระดับรัฐและประเทศและพบความรู้ใหม่และซับซ้อน
ที่เกี่ยวพันกับตัวแปรทางเศรษฐกิจ การเมือง และภูมิศาสตร์ในการบริหาร
การศึกษาเปรียบเทียบใช้วิธีการวิเคราะห์ (Mode of Analysis) เป็นวิธีหลักการเปรียบเทียบ
ไม่ได้เพียงหาความเหมือนและความต่าง แต่ต้องสร้างกรอบอ้างอิง (Frame of Reference)

ท่สามารถอธิบายเหตุผลของความเหมือนและความแตกต่างได้ด้วย การอธิบายดังกล่าวจึงสรุปได้คือ
๑. แนวคิดนามธรรม (Abstract Concepts ) ที่ท�าให้เกิดข้อสรุปและสมมุติฐานเกี่ยว
กับ หน่วยท่ศึกษา เช่น การศึกษาเปรียบเทียบระบบการบริหารงานบุคคลของท้องถ่น ๒ แห่ง


ซึ่งจ�าแนกประเด็น การเปรียบเทียบเป็นเรื่อง ๆ เช่นการก�าหนดต�าแหน่ง การคัดเลือก การประเมิน
ผลงานและการฝกอบรม เป็นต้น
�������������������.indd 42 11/23/19 1:35 PM

43
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒. เกณฑ์ความเกี่ยวข้อง (Criteria of Relevance) ซึ่งเป็นข้อทฤษฎี (Propositions)
ที่อธิบาย แบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์ที่ศึกษา เช่น ข้อทฤษฎีที่ว่ายิ่งมีการฝกอบรม
ก็ยิ่ง ปฏิบัติงานดีขึ้น
ดังนั้นโดยสรุปแล้ว มุมมองเปรียบเทียบในรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะดังต่อไปนี้

๑. เปลี่ยนจากการอธิบายถึงสิ่งที่ควรท�ามาเป็นการสนใจถึงสิ่งที่เป็นอยู่
(What is) และเหตุผลที่เป็นเช่นนั้น (Why it is)
๒. เปลี่ยนจากการศึกษาที่ริกส์ (Riggs) เรียกว่า “ภาพอุดมคติ”

(Ideographic) เป็น “การอธิบายท่ใช้ได้กับทุกอย่าง” (Nomothetic) คือเน้นการศึกษา

กรณีศึกษาและสถานการณ์ที่เป็นเรื่อง ๆ น้อยลง หันมาศึกษาเพื่อหาข้อสรุป ทางทฤษฏีที่สามารถ
พิสูจน์ได้ (Testable Generalizations) มากขึ้น
๓. การเปลี่ยนการการศึกษาที่ไม่ค�านึงถึงภาวะนิเวศ (Nonecological)

มาเป็นตัวค�านึงถึงภาวะนิเวศ (Eocological) ซึ่งสนใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารกับ
สภาพแวดล้อมมากขึ้น

๒.๓ เนื้อหาวิชาของรัฐประศาสนศาสตร์
ในบทความเรื่อง “The Study of Administration” ของวอลโด อธิบายว่า หลังจากที่


รัฐประศาสนศาสตร์ถูกวิพากษ์ในทศวรรษ ๑๙๔๐ แล้วรัฐประศาสนศาสตร์ก็ขาดความเช่อม่น
ในความรู้ของตัวเอง นักวิชาการหลายคนแข่งขันกันเสนอแนวทางการศึกษาหรือจุดเน้นใหม่แก่

รัฐประศาสนศาสตร์ แต่ก็ยังไม่มีแนวทางใดเป็นท่ยอมรับโดยท่วไป รัฐประศาสนศาสตร์เติบโตมา



โดยอาศัยแหล่งท่มาหลายแหล่ง ท้งทางด้านข้อมูล แนวคิด มุมมองและสังคมศาสตร์สาขาต่าง ๆ









เนอหาและจดเน้นเหล่านโดยหลกแล้วจงเหลอมกนและเกยวพนกนไป ส่วนการแยกออกเป็น





ส่วน ๆ นั้น วัตถุประสงค์ก็เพื่อการอภิปรายเป็นหลัก ส�าหรับ Dwight Waldo ได้แยกเนื้อหาวิชา
ของรัฐประศาสนศาสตร์เอาไว้ ๗ เรื่อง ดังนี้ ๖
๑. ความต่อเนื่องของความรู้ดั้งเดิม (Continuation of the Traditional) แม้ว่าความรู้
ดั้งเดิมของรัฐประศาสนศาสตร์ คือ หลักการบริหาร จะถูกวิพากษ์มากในช่วงทศวรรษ ๑๙๔๐ แต่ก็
ยังถือว่าเป็นความรู้ท่เก่าแก่ของรัฐประศาสนศาสตร์ นักวิชาการและอาจารย์ส่วนใหญ่ยังใช้ความรู้เก่า

แต่ก็มักวิจารณ์และเสนอความรู้ใหม่เข้าไปด้วย ตัวอย่าง อาจารย์ส่วนใหญ่ยังสอนทฤษฎีองค์การเม่อ

ทศวรรษ ๑๙๓๐ เพราะเป็นเนื้อหาที่ยอมรับกันทั่วไปและมีความส�าคัญต่อการปฏิบัติ แต่ก็วิจารณ์







ความร้หลกการบรหารและนาความร้อนเพมเข้าไปอก ไม่มอาจารย์คนไหนพดถงหลกการบริหาร
















อย่างม่นใจ แต่เวลาสอนก็ยงชอบทจะพดเรองการจัดการและประสทธภาพซึงเป็นเนอหาความรู้



ดั้งเดิมอยู่ดี
๖ Waldo, Dwight, The Enterprise of Public Administration, (California : Chandler &
Sharp Publishers. Inc., 1981). pp.10-14.
�������������������.indd 43 11/23/19 1:35 PM

44
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒. การเมืองและการก�าหนดนโยบาย (Politics and Policy Making) ความเช่อท่ว่า










การบรหารภาครฐ คอ การจดการกับปัญหาประสิทธิภาพในทางปฏิบติ นน เป็นลกษณะของ
รัฐประศาสนศาสตร์สมัยเก่า แต่นักรัฐประศาสนศาสตร์สมัยหลังสมครามโลกมีความเห็นต่างไปโดย



ส้นเชิง ส่วนใหญ่ยอมรับกันว่าการเมืองและการก�าหนดนโยบายยังเป็นเร่องท่มีความส�าคัญต่อการ
บริหารระดับสูง เห็นได้จากากรศึกษาต่าง ๆ เช่น ไซมอน (Simon) ก�าหนดให้ประเด็นทางค่านิยม
(Valuational) มีความส�าคัญเทากับข้อเท็จจริง (Factual) หรือ พอล แอ็ปเพิลบี (Paul Appleby)


ช้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ท่โต้ตอบกันของการเมืองกับการบริหารในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
นักวิชาการบางคน เช่น นอร์ตัน อี ลอง (Norton E. Long) เน้นเรื่องการเมืองในการบริหารและ
ถือว่าเป็นปัจจัยส�าคัญของการบริหาร ส่วนบางคน เช่น เอ็มเม็ต เรดฟอร์ด (Emmette Redford)
พยายาม ชี้ให้เห็นถึงประเด็นทางจริยธรรมหรือนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวกับประเด็นทางเทคนิค
๓. พัฒนาการของกรณีศึกษา (Development of a Case Method) เป็นพัฒนาการที่เกิด
ข้นช่วงหลังสงครามโลก อันเป็นผลท่ต่อเน่องมาจากการหันมายอมรับความสมพันธ์ระหว่างการ



บริหารกับการเมือง ก่อนน้เคยมีโครงการกรณีศึกษามาก่อนแล้ว แต่ช่วงกลางทศวรรษท่ ๑๙๔๐


มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้น�ากลับมาพัฒนาใหม่ จนป ค.ศ. ๑๙๕๑ จึงพัฒนามาเป็นโครงการ
กรณีศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัย (Inter-University Case Program) สาเหตุเป็นเพราะนัก

รัฐประศาสนศาสตร์ไม่พอใจการศึกษาแบด้งเดิมท่ไม่สะท้อนภาพความจริง การศึกษารายกรณ ี



เป็นการบรรยายเร่องราวการบริหารตามความเป็นจริงเป็นเร่อง ซ่งเขียนจากข้อมูลท่มาจากแหล่ง


ต่าง ๆ หลายแหล่ง ลักษณะการเขียนก็ต้องท�าให้น่าสนใจ แต่ต้องเป็นกลาง ซึ่งมักสร้างตัวละครขึ้น


มา โดยน�าเสนอ สถานการณ์ท้งหมด เช่น เร่องต่าง ๆ ท่เก่ยวกับการตัดสินใจ หรือปฎิสัมพันธ์ระหว่าง


บุคคล หรือ การเมือง หรือการก�าหนดนโยบาย ซึ่งไม่ใช่เรื่องทางเทคนิคโดยตรง
๑. มนุษยสัมพันธ์ จิตวิทยาและสังคมวิทยา (Human Relations, Psychology and


Sociology) ช่วงปลายทษวรรษ ๑๙๒๐ มีการทดลองอย่างต่อเน่องท่ดรงงานฮอว์ธอร์น (Hawthorne)
ของบริษัทเวสต์เทิร์น อิเล็กทริก (Western Electric Company) ในรัฐชิคาโกประเทศสหัฐอเมริกา

ซ่งมีผลต่อการศึกษาท้งทางบริหารธุรกิจและรัฐประศาสนศาสตร์ การทดลองน้ไม่เพียงแสดงให้เห็น


ว่า การบริหารตามหลักการจัดการอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มีข้อจ�ากัด เพราะเน้นการใช้เงินเป็นตัว
จูงใจและการจัดสภาพแวดล้อมการท�างาน แต่ยังช้ให้เห็นถึงความส�าคัญของปัจจัยทางจิตวิทยาและ

สังคมที่กว้างกว่าด้วย การทดลองนี้ท�าให้เกิดแนวทางมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) และต่อ
มากลายเป็นหัวข้อส�าคัญของการวิจัยในการบริหาร เช่นการศึกษาขวัญก�าลังใจ การรับรู้ และทัศนคต ิ
ในการท�างาน ปัจจัยที่มีผลต่อการรวมกลุ่มและผลต่อการบริหาร ลักษณะความเกี่ยวข้องของกลุ่ม
อรูปนัย (Informal Group) ที่มีต่อองค์การรูปนัย (Formal Organization) การศึกษาเรื่องภาวะ
ผู้น�าความ ขัดแย้ง ความร่วมมือระหว่างกลุ่มหรือองค์การ

�������������������.indd 44 11/23/19 1:35 PM

45
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒. ทฤษฎีขององค์การ (Theory of Organization) เมื่อไม่นานมานี้นักวิชาการหันมา สนใจ


ศึกษาองค์การอย่างเป็นวิทยาศาสตร์มากข้น ท�าให้เกิดผลงานจ�านวนมากภายใต้ช่อ “ทฤษฎีของ
องค์การ” ซึ่งมององค์การเป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่มีแพร่หลาย ทั้งเชื่อว่าพฤติกรรมองค์การมี
ลักษณะเป็นสากลที่สามารถสร้างทฤษฎีทั่วไปได้ อาทิ นักวิชาการกลุ่มหนึ่งเรียกทฤษฎีที่ตนศึกษา

ว่า “ทฤษฎีระบบท่วไป” (General Systems Theory) ซ่งมองมนุษย์และองค์การเป็นระบบ



















บางคนสนใจ สรางทฤษฎอน ขณะทบางคนเนนการวจยเกยวกบองคการซงสามารถนาไปใช้กบภาค
รัฐได้ ทฤษฎีของ องค์การจึงเป็นอาณาบริเวณหนึ่งที่สังคมศาสตร์ในปัจจุบันสนใจและสัมพันธ์ด้วย

รวมท้งทฤษฎีขององค์การยังมีคุณูปการอย่างมากต่อการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ อน่ง ค�าว่า

“ทฤษฎีขององค์การ” ในท่น้ ปัจจุบันนิยมเรียกส้น ๆ ว่า “ทฤษฎีองค์การ ” (Organization



Theory) หรอใช้ “ทฤษฎี องค์การ” แทนกันได้กับค�าว่า “ทฤษฎีขององค์การ”แรปโพพอร์ต (๒๕๔๖

: หน้า ๓๓-๓๔)
๓. รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ (Comparative Public Administration) เป็นสาขา
ของรัฐประศาสนศาสตร์ที่มีการศึกษาและตั้งความหวังไว้สูงมาก ความสนใจศึกษาในสาขานี้เริ่มขึ้น





ช่วงสงครามโลกคร้งท่สองและต่อเน่องมาจนถึงสมัยสงครามโลกคร้งท่สอง สาเหตุมาจาก สหรัฐอเมริกา
องค์การสหประชาชาติและมูลนิธิเอกชน มีโครงการให้ความช่วยเหลือแก่ประเทศก�าลัง พัฒนาหลาย
โครงการ ท�าให้นักวิชาการอเมริกันหลายร้อยคนต้องออกไปท�างานต่างประเทศ จึงกระตุ้นให้


นักวิชาการสนใจศึกษาเปรียบเทียบ เพ่อศึกษาลักษณะท่วไปและหาทางน�าเคร่องมือการบริหารของ

ตะวันตกไปใช้ การศึกษาระบบการบริหารเปรียบเทียบกระท�าคู่กันกับการศึกษาระบบการเมือง คือ
การเมืองเปรียบเทียบ (Comparative Politics) การศึกษาเปรียบเทียบดังกล่าวกระท�า โดยนัก

วิชาการรุ่นหนุ่มสาวท่ได้รับอิทธิพลจากการศึกษาเชิงพฤติกรรม ต้องการศึกษาเชิงสหวิทยาการ
(Interdisciplinary) และสร้างทฤษฎีท่เป็นสากลเพ่อเช่อมโยงและรวมรวมความแตกต่างทางวัฒนธรรม



ทั้งหมดเข้าด้วยกัน
๔. เทคโนโลยีและเทคนิคสมัยใหม่ (New Technologies and Techniques) ปัจจุบัน
เครื่องมือการบริหารพัฒนาไปเร็วมาก รวมทั้งพัฒนาระบบคิดทางตรรกะในการปฏิบัติและการวิจัย
ทางการบริหาร ส่วนใหญ่เป็นการพัฒนาทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ในการท�างานซ่งมีความรวดเร็ว และ


แม่นย�า ส่วนระบบคิดทางตรรกะเป็นการพัฒนาทางคณิตศาสตร์และระบบการคิดหาเหตุผลก่ง
คณิตศาสตร์ การพัฒนาเหล่าน้เป็นการเพ่มประสิทธิภาพในการบริหารท้งทางตรง และทางอ้อม











การพฒนาทางตรง ได้แก่ การนาเครองมอทมอย่ไปใช้งาน ส่วนทางอ้อม ได้แก่ การนาวธวจย






ใหม่ ๆ มาใช้ ศึกษาองค์การและการจัดการ ตัวอย่างการวิจัยปฏิบัติการ (Oprations Research)
ซึ่งปัจจุบันใช้ใน การบริหารภาครัฐแพร่หลาย เช่นการส่งก�าลังบ�ารุง การบริหารภาษี เป็นต้น
�������������������.indd 45 11/23/19 1:35 PM

46
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

สรุปท้ายบท

ขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์ หมายถึง พรมแดนทางทฤษฎีในปัจจุบัน ซึ่งนักวิชาการ
พยายามจ�าแนกออกมาเพ่อศึกษาและอภิปราย แต่ก็ไม่เห็นตรงกันท้งหมด อีกท้งยังสามารถจัดกลุ่ม









ได้หลายแบบ หากมองในแง่มมของรชาร์ดสนและบอลด์วน กสามารถแบ่งรฐประศาสนศาสตร์ได้
เป็น ๗ มุมมอง คือ ๑. มุมมองการเมือง ๒. มุมมองกฎหมาย ๓. มุมมองกระบวนการจัดการ
๔. มุมมอง พฤติกรรม ๕. มุมมองการเมือง ๖. มุมมองเปรียบเทียบ ๗. มุมมองภาวะนิเวศ
ถ้าจะมองในแง่เนื้อหาวิชาของวอลโด ก็แบ่งเนื้อหาวิชาของรัฐประศาสนศาสตร์ได้ ๗ วิชา
หลักๆ คือ ๑. หลักการบริหาร ๒. การเมืองและการก�าหนดนโยบาย ๓. กรณีศึกษา ๔. มนุษยสัมพันธ์
จิตวิทยาและสังคมวิทยา ๕. ทฤษฎีขององค์การ ๖. รัฐประศาสนศาสตร์เปรียบเทียบ ๗. เทคโนโลยี
และเทคนิคสมัยใหม่ หากจะมองในแง่ปัญหาที่รัฐประศาสนศาสตร์เผชิญอยู่ในปัจจุบันก็อาจแบ่งได้
เป็น ๕ ปัญหาใหญ่ๆ คือ ๑. ปัญหาจริยธรรมส่วนบุคคล ๒. ปัญหาการเมืองและอ�านาจ ๓. ปัญหา
รัฐธรรมนูญ กฎหมายและนิติปรัชญา ๔. ปัญหานโยบายสาธารณะ ๕. ปัญหาทฤษฎีการเมืองและ
ปรัชญาการเมือง


การสร้างกรอบแนวคดในการแบ่งและจักกลุ่มรัฐประศาสนศาสตร์ของนักวิชาการอาจไม่
ตรงกัน และเหลื่อมกัน ซึ่งขึ้นอยู่กับการแบ่งของนักวิชาการแต่ละคน และการยอมรับของผู้ศึกษา




แต่ละคน แต่ละกลุ่มและแต่ละสังคม ท้งน้เพราะท่ได้กล่าวมาต้งแต่ต้นแล้วว่าการบริหารภาครัฐเป็น

กิจกรรมท่ซับซ้อนและเป็นพลวัตท่มีการเปล่ยนแปลงและพัฒนาตลอดเวลารวมท้งเป็นความรู้ท่ถ่าย




โอนข้ามไปมาทั่วโลก
ส�าหรับผู้เขียน มีความเห็นสรุปได้เป็น ๓ ประเด็น คือ ประเด็นแรก หากจะถามว่า
รัฐประศาสนศาสตร์ศึกษาอะไร ผู้เขียนคิดว่าควรน�าเอาเนื้อหาวิชาของวอลโดไปตอบ เพราะเนื้อหา


วิชาท่ วอลโดอธิบายเป็นการล�าดับมาต้งแต่รัฐประศาสนศาสตร์สมัยรกสุดจนถึงสมัยใหม่ และน่าจะ
ยังยึด เป็นกรอบได้จนถึงทุกวันน้ หรือหากสรุปให้ง่ายกว่าน้น ก็อาจยกเอาแนวการศึกษา


รัฐประศาสนศาสตร์ ไทยท่มหาวิทยาลัยอินเดียนา ของสหรัฐอเมริกา มาวางรากฐานไว้เม่อทศวรรษ











๑๙๕๐ กอาจกล่าวว่า รฐประศาสนศาสตร์ศกษาการบรหารภาครฐ ซงมสาขาการบรหารพนฐาน


ที่เป็นความเชื่อหลัก (Core belief) อยู่ ๓ วิชา คือ การบริหารคน เงินและองค์การ และมีวิชาที่เป็น
บริบททางการเมืองและ นโยบายของการบริหารภาครัฐอยู่อีก ๒ วิชา คือ นโยบายสาธารณะ และ
การบริหารเปรียบเทียบและ การบริหารพัฒนา อย่างไรก็ดี ทางด้านเน้อหาวิชาน้นักวิชาการไทย


บางท่าน
ส�าหรับในประเด็นท่สอง หากถามว่ารัฐประศาสนศาสตร์มีแนวทางศึกษาอย่างไร ผู้เขียน

เห็น ว่าควรน�ามุมมองที่แบ่งโดยริชาร์ดสันและบอลด์วินไปตอบ ได้แก่ แนวประวัติศาสตร์ กฎหมาย

กระบวนการจัดการ พฤติกรรม การเมือง การเปรียบเทียบ และภาวะนิเวศ เพราะมุมมองน้เป็น

ท้งแนวทางและสาระของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์และน่าจะครอบคลุมกว่าการแบ่งตามแนว
อื่น ๆ ไม่ว่าจะแบ่งตามกระบวนทัศน์ (Paradigm) หรือ แนวทางการศึกษา (Approach)
�������������������.indd 46 11/23/19 1:35 PM

47
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์


ประเด็นท่สาม ประเด็นสุดท้าย หากถามว่ารัฐประศาสนศาสตร์ควรสนใจประเด็นใด


















เพมเตม บางหรอควรพฒนาองคความรใดเพมบาง ผเขยนคดวานาจะนาปญหาทรฐประศาสนศาสตร ์




เผชิญ ตามที่วอลโดวิเคราะห์ไว้ไปตอบ ซึ่งโยงปัญหาการบริหารอื่น ๆ อีกหลายด้าน เช่น ปัญหา

ความม่นคง ความยุติธรรม ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน การศึกษาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ประเด็นเหล่าน้ท่รัฐประศาสนศาสตร์ในปัจจุบันก�าลังสนใจและจะต้องศึกษาและค้นคว้า


อีกมาก

�������������������.indd 47 11/23/19 1:35 PM

48
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ค�าถามท้ายบทที่ ๒

๑. จงอธิบายศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับรัฐประศาสนศาสตร์

๒. จงอธิบายความส�าคัญของรัฐประศาสตร์ต่อการพัฒนาการบริหารรัฐกิจ

๓. รัฐประศาสนศาสตร์สัมพันธ์ต่อหลักนิติศาสตร์อย่างไร และนักรัฐศาสตร์จ�าเป็นต้องม ี
ความรู้ทางนิติศาสตร์หรือไม่ อย่างไร จงอธิบาย
๔. วิชารัฐประศาสนศาสตร์ขอบข่ายอย่างไรบ้าง จงอธิบาย

๕. การเมืองกับนโยบายสาธารณะเกี่ยวช้องกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
๖. การก�าหนดขอบข่ายของรัฐประศาสนศาสตร์ก่อให้เกิดผลดีและผลเสียอย่างไร
จงอธิบาย

๗. มุมมองเปรียบเทียบในรัฐประศาสนศาสตร์มีลักษณะอย่างไร

�������������������.indd 48 11/23/19 1:35 PM

49
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

เอกสารอ้างอิงประจ�าบท

กมล อดุลพันธ์. การบริหารรัฐกิจเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : ส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค�าแหง,

๒๕๓๘.
วรเดช จันทรศร. รัฐประศาสนศาสตร์ ทฤษฎีและการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร
: ส�านักพิมพ์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๔๓

Ivan L. Richardson and Sidney Baldwin, Pulic administration : Government in
action, (Ohio : Charles E. Merril Publishing, 1976.
Henry, Nicholas, Public Administration and Public Affairs /Nicholas Henry,
9thed., (Pearson Education, Upper Saddle River, New Jersey, 2004.

Waldo, Dwight, The Enterprise of Public Administration, (California : Chandler &
Sharp Publishers. Inc., 1981.

Waldo, Dwight, "Scope of the Theory of Public Administration" in Theory and
Practice of Public Administration, ed. James Charlsworth Philadelphia :
The American Academy of Political Science, 1968.

�������������������.indd 49 11/23/19 1:35 PM

บันทึกช่วยจ�า

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

�������������������.indd 50 11/23/19 1:35 PM

แผนการจัดการเรียนรู้ ประจ�าบทที่ ๓
เรื่อง แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์

ก. เนื้อหาสาระที่ศึกษา

แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์
๑. ความหมายของทฤษฎี

๒. ประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์
๓. แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗ - ๑๙๕๐

๔. แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐
๕. แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ.๑๙๖๐ - ๑๙๗๐

๖. แนวคิดทฤษฏีทางรัฐประสาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๐ - ปัจจุบัน

ข. วัตถุประสงค์ของการศึกษา

เมื่อได้ศึกษาบทที่ ๓ จบแล้ว ผู้ศึกษามีความสามารถ
๑. บอกความหมายของทฤษฎีได้

๒. อธิบายประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ได้
๓. อธิบายแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗ – ๑๙๕๐ ได้

๔. อธิบายแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๕๐ – ๑๙๖๐ ได้
๕. อธิบายแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ ระหว่าง ค.ศ.๑๙๖๐ – ๑๙๗๐ ได้

๖. อธิบายแนวคิดทฤษฏีทางรัฐประสาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๐ – ปัจจุบันได้

ค. กระบวนการเรียนรู้

๑. อาจารย์ผู้สอนยกตัวอย่างงานวิจัยตามความสนใจของนิสิต และ เกร่นนาความรู้เบ้องต้น



เกี่ยวกับแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มีความหมายอย่างไร



๒. อาจารย์ผู้สอนกล่าวเปิดประเด็นซักถามผู้เรยนให้มีส่วนร่วมในการเรยนรู้เกยวกับการ

วิจัย โดยการตอบปากเปล่า เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ตื่นตัวอยู่เสมอ
๓. ค�าถามใดที่ผู้เรียนตอบแล้วไม่ชัดเจนพอ ผู้สอนควรอธิบายประเด็นนั้น ๆ เพิ่มเติมเพื่อ
ให้ผู้เรียนได้รับความรู้ที่ถูกต้อง

๔. ก่อนสอนทุกคร้ง อาจารย์ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ มีความอยากรู้อยากเห็น
๕. อาจารย์ผู้สอนเสนอแนะให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากหนังสืออื่น ๆ หรือ งานวิจัย
อื่น ๆ

�������������������.indd 51 11/23/19 1:35 PM

๖. เมอศกษาแต่ละบทจบแล้ว อาจารย์ผู้สอนมอบหมายงานให้ผ้เรยนทกคนไปทาคาถาม








ท้ายบทแล้วน�ามาส่งในสัปดาห์ต่อไป
๗. อาจารย์ผู้สอนอธิบายสรุป “ขอบข่ายการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์” อีกคร้ง เพ่อเป็นการ


ทบทวนเนื้อหาสาระ แล้วผู้สอนสอบถามผู้เรียนในประเด็นที่ได้เรียนมาแล้ว เพื่อเป็นการประเมินผู้
เรียนว่ามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด
ง. แหล่งการเรียนรู้
๑. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย

๒. หนังสือหรือตาราเก่ยวกับรัฐศาสตร์/รัฐประศาสนศาสตร์ งานวิจัยวิทยานิพนธ์ และ

วารสารอื่น ๆ เป็นต้น
๓. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

จ. สื่อการเรียนการสอน

๑. เอกสารประกอบการสอนวิชา ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒. บอร์ดความรู้, หนังสือพิมพ์, นิตยสาร, Internet, Website, งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และ
วารสาร เป็นต้น
๓. ใบงาน/งานที่มอบหมายอื่น ๆ

ฉ. การวัดผลและประเมินผล
๑. ด้านความรู้ : ประเมินจากการตอบค�าถาม/แสดงความคิดเห็น

๒. ด้านทักษะ : ประเมินด้วยการสังเกตการน�าเสนอผลงานเดี่ยว/งานกลุ่ม
๓. ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม : ประเมินการสังเกตพฤติกรรม/การร่วมกิจกรรม/
การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน

๔. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา : ประเมินผล
การน�าเสนอรายงานเป็นทีม และพฤติกรรมการท�างานเป็นทีม


๕. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ต้อง
พัฒนา : ประเมินผลการค้นคว้า การอ้างอิง การท�ารายงาน เน้นข้อมูลเชิงตัวเลขและค�าอธิบาย

�������������������.indd 52 11/23/19 1:35 PM

บทที่ ๓
แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์



วิชารัฐประศาสนศาสตร์เป็นวิชาท่มีเน้อหาและขอบเขตครอบคลุมหลายเร่องซ่ง นักวิชาการ


มีความคิดเห็นที่แตกต่างกันในการศึกษาทฤษฎีและแนวการศึกษาทางรัฐประคาสน ศาสตร์ว่าควร
ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง ผลดือนักวิชาการแต่ละฟานจะมีวิธีการจัดหมวดหมู่ ทฤษฎีและแนวการ
ศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ที่ไม่เหมือนกันทีเดียว
ในบทน้ผู้เรียบเรียงจะเสนอแนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น ๔ ช่วง สมัยท่ส�าคัญ คือ



๑. แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประคาสนศาสตร์ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗- ๑๙๕๐ ซ่งถือว่า เป็นทฤษฎ ี
สมัยดั้งเดิมประกอบไปด้วย ทฤษฎีการบริหารแยกออกจากการเมือง และทฤษฎี หลักการบริหาร
๒. แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ ซึ่งจะ เรียกทฤษฎี

กลุ่มนี้ว่าทฤษฎีท้าทาย ซ่งประกอบไปด้วย ทฤษฎีการบริหารคือการเมือง ทฤษฎีระบบราชการแบบ
ไม่เป็นทางการ ทฤษฎีมนุษย์สัมพันธ์ และทฤษฎีศาสตร์การบริหาร
๓. แนวคิดทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์สมัยใหม่ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๖๐ - ๑๙๗๐ ซึ่ง ประกอบ
ด้วยการปฏิวัติทางพฤติกรรมศาสตร์ และการประชุมที่มินนาวบรูค (Minnowbrook)

๔. แนวคิดทฤษฎีรัฐประคาสนศาสตร์ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๗๐ - ปัจจุบัน ซ่งประกอบด้วย

รัฐประศาสนศาสตร์ในความหมายใหม่ นโยบายสาธารณะ เศรษฐศาสตร์ การเมือง ทฤษฎีองค์การ
ที่อาศัยหลักมนุษยนิยม และการออกแบบองค์การสมัยใหม่

๓.๑ ความหมายของทฤษฏี
ค�าว่าทฤษฎีถูกน�ามาใช้และก่อให้เกิดความสับสนในความหมายท่แท้จริง ขณะเดียวกันก็เกิด

ความหละหลวมในการดีความหมายแคบ ๆ ในแง่ของการเป็น แนวความคิด (Conceptualization)
การเป็นกรอบของความคิด (Conceptual Framework) การศึกษาด้วยวิธีการวิเคราะห์
(Analytical Approaches) รูปแบบจ�าลองความคิด (Models) และข้อเสนอก่อนเป็นทฤษฎ ี

(Pre-Theories) หรือในถ้อยค�าอ่น ๆ ท่มีความหมายท่คล้ายคลึงกันน้ ฉะน้นก่อนท่จะท�าความเข้าใจ





ถึงความหมายที่แท้จริงของค�าว่าทฤษฎี ก็ควรจะได้ กล่าวถึงค�าอื่น ๆ ที่ใกล้เคียง เมื่อน�าแนวความ
คิด (Concept) มาเชื่อมโยง เข้าด้วยกันทั้งแนวความคิดที่เป็นรูปธรรมและนามธรรมจะช่วยก่อให้

เกิดสมมติฐาน (Assumption) ข้นภายในใจ และน�าสมมติฐานเสริมต่อด้วยสมมติฐานต่าง ๆ ส่งเสริม

ให้เป็นข้อเสนอ (Proposition) เพ่อน�าไปพิสูจน์ได้ในการพิสูจน์ขอเสนอน้นจ�าเป็นจะต้องเอาข้อ

สมมติฐานและข้อเสนอต่าง ๆ มาประมวลเป็นข้อสันนิษฐาน (Hypothesis) พิจารณาในเชิง

ความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์เพ่อน�าไปสู่การสร้างตัวแบบ (Models) และกรอบการศึกษา

(Paradigm) ยังไม่ยุติและเม่อพิสูจน์ด้วยระเบียบวิธีการแบบวิทยาศาสตร์แล้วก็อาจก่อให้เกิด
เป็นทฤษฎีหรือถ้อยแถลงที่มีลักษณะเป็นจริงโดยทั่วไปได้

�������������������.indd 53 11/23/19 1:35 PM

54
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๓.๒ ประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์

รัฐประศาสนศาสตร์สนใจศึกษาปทัสถานและค่านิยม รวมทั้งพยายามหล่อหลอม ผู้บริหาร


ให้ยึดถือส่งท่ดีและน�าไปปฏิบัติให้บังเกิดผล การมีทฤษฎีช่วยให้ศาสตร์มี ความหมายและเป็นระเบียบ
เพราะสามารถสร้างแบบแผนของสิ่งที่เกิดเป็นประจ�า หรือน่าจะเป็น และให้สัญลักษณ์ รวมทั้งการ
เชื่อมโยงที่มีเหตุผล ทฤษฎีทุกทฤษฎี มีวัตถุประสงค์และประโยชน์ วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่ คือการ
เข้าใจ ส่วนประโยชน์ก็คือ การควบคุมสิ่งที่เข้าใจนั้น
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ ได้กล่าวถึง การแบ่งประเภทของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ใน

ทรรศนะของสตีเฟน เค เบลีย์ ไว้ดังนี้
๑. ทฤษฎีพรรณนาและอธิบาย (Descriptive-Explanatory Theory) หมายถึง การบอก
ลักษณะหรืออธิบายลักษณะของความจริงได้ถูกต้อง เช่น แนวคิดเร่องล�าดับช้นการบังคับบัญชา


(Hierarchy) ซึ่งสรุปมาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หรือนักรัฐประศาสนศาสตร์ยุคแรกอธิบาย

พฤติกรรมโดยใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ การสร้างทฤษฎีประเภทน้กระท�าได้ยากแต่ก็เป็น







วตถประสงค์สาคญของการสร้างทฤษฎทางรฐประศาสนศาสตร์ โดยอาศยความร้ทางด้านมนุษย

นิยมและสังคมศาสตร์ หากไม่มีทฤษฎีประเภทน้ ก็ไม่สามารถพิสูจน์ส่งต่าง ๆ ได้เน่องจากการพิสูจน์น้น




ต้องอาศัยการพรรณนาและอธิบายก่อน




๒. ทฤษฎปฑสถาน (Normative Theory) หมายถึง การบรรยายหรออธิบายถง รายละเอียด
ของสิ่งที่ดี (Good) สิ่งที่ควรท�า (Should) หรือสภาพในอุดมคติ (Utopia) ซึ่งเป็นเป้าหมายสูงสุด
เช่นประสิทธิภาพ (Efficiency) การสนองตอบ (Responsiveness) การตรวจสอบได้ (Account-
ability) ประหยัด (Economy) ขวัญก�าลังใจของพนักงาน (Employee Morale) การกระจาย
อ�านาจ (Decentralization) ความซ่อสัตย์ (Ethical Probity) การส่อสารภายใน (Internal




Communications) นวตกรรม (Innovation) ประชาธปไตยแบบมส่วนร่วม (Participatory

Democracy) ช่วงการควบคุมทางการบริหาร (Manageable Span of Control) รวมทั้งชุดของ
ค่านิยมที่แสดงออกหรือยึดถือ (Articulated or Assumed Values)
อย่างไรก็ดี ในความจริงปฑัสถานทางรัฐประศาสนศาสตร์อยู่ในสภาพสับสน ปนเปยากท่จะ











แยกปฑสถานหนงออกจากอกปทสถานหนงได รวมทงอาจมคานยมหลายอยางรวมกนเปนปทสถาน








อันใดอันหน่ง เช่น ข้าราชการอาจต้องยึดถือค่านิยมความเป็นกลาง ความซ่อสัตย์ การมีน้าใจใน


การให้บริการ หรือค่านิยมอื่น ๆ ทั้งหมดนี้รวมกันเป็น ปทัสถานของหน่วยงาน ค่านิยมเหล่านี้มีที่มา
ซึ่งส่วนใหญ่มาจากทฤษฎีการเมืองและการ
๑ เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ, ความรู้เบี้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสนศาสตร์, (กรุงเทพมหานคร :: บพิธการพิมพ์
จ�ากัด, ๒๕๔๙), หน้า ๙๙-๑๐๑.
�������������������.indd 54 11/23/19 1:35 PM

55
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ปฏิบัติจริง ทฤษฎีปทัสถานมีความส�าคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์ เพราะวัตถุประสงค์ สูงสุด
ของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ คือ การปรับปรุงการท�างาน ซึ่งจะเกิดได้ก็ต้องมีเป้าหมาย เป็นตัว
ก�าหนดแนวคิดและวัดความส�าเร็จ เป้าหมายเหล่านี้ได้มาจากทฤษฎีปทัสถาน คือ

๑) ทฤษฎีฐานคติ (Assumptive Theory) แม้จะมีทฤษฎีพรรณาและอธิบาย รวมทั้งทฤษฎี
ปทัสถานแล้ว การปฏิบัติจริงก็ยังเกิดไม่ได้ ถ้าหากว่าไม่มีทฤษฎีฐานคติ ซึ่งหมายถึงฐานคติเกี่ยวกับ
ธรรมชาติของคนและความสามารถขององค์การ เช่น ความรู้ ทางประวัติศาสตร์หรือภูมิปัญญา
ทางสุภาษิตหรือศาสนาล้วนแล้วแด่พูดถึงธรรมชาติ ของคน แม้ว่าทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์


ส่วนใหญ่ไม่ได้พิสูจน์ฐานคติ แต่ก็อาศัยพ้นฐาน ความเช่อมาจากหลักปรัชญาและประวัติศาสตร์
ทฤษฎีรัฐประคาสนศาสตร์ไม่ได้แสดงฐาน คติออกมาโดยแจ้งชัด แต่ก็มีฐานคติแฝงอยู่ เช่น แนวคิด

ในการปฏิรูปการบริหาร ย่อมสะท้อนให้เห็นถึงความเช่อท่ว่าสถาบันและคนมีความสามารถท่จะ


ปรับปรุงและ เปลี่ยนแปลงได้
๒) ทฤษฎีอุปกรณ์ (Instrumental Theory) เป็นทฤษฎีที่ก�าหนดขั้นตอนรายละเอียด ของ







การปฏบัติ หรอทฤษฎีท่อธบายถึงเรองการกระท�า “อย่างไร” (how) และ “เม่อใด” (when) ทฤษฎ ี
อุปกรณ์เป็นทฤษฎีเงื่อนไข คล้ายกับประโยชน์ที่ว่า ถ้าหากว่าแล้ว (If-Then) เช่น ถ้าหากว่าระบบ
บริหารเป็นอย่างนั้นแล้ว จะท�าอย่างไร หรือระบุรายละเอียดลงไป เช่น ถ้าหากว่าปัญหาเป็นอย่าง


น้แล้ว จะต้องแก้ด้วยการกระจายอ�านาจ ซ่งต้องกระท�าเป็นข้นตอนเป็นต้น ทฤษฎีอุปกรณ์เป็น


ประโยชน์มากท่สุดส�าหรับการปฏิบัติงาน แต่ทฤษฎีอุปกรณ์จะมีได้จะต้องเข้าใจมีเป้าหมายและม ี


ความเช่อเบ้องต้นเสียก่อน จึงกล่าวได้ว่าทฤษฎีอุปกรณ์ต้องผ่านการพัฒนามาจากทฤษฎีพรรณาและ
อธิบายทฤษฎีปทัสถาน และทฤษฎีฐานคติมาตามล�าดับ ข้อน้น่เองที่ท�าให้เกิดช่องว่างระหว่าง


นักทฤษฎีกับการปฏิบัติ เพราะนักทฤษฎีมุ่งสร้างทฤษฎีพรรณนาและอธิบาย ขณะท่นักปฏิบัติต้องการ

ทฤษฎีอุปกรณ์ซึ่งเป็นรายละเอียดของการปฏิบัติ



จากท่กล่าวมาสรุปได้ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีท้งหมด ๔ ทฤษฎี ซ่งทฤษฎี ท้งหมดน้ม ี


ความสัมพันธ์กัน กล่าวคือทฤษฎีพรรณนาและอธิบายตอบค�าถาม “อะไร” (what) และ “ท�าไม”
(why) ขณะที่ทฤษฎีปทัสถานตอบค�าถาม “สิ่งที่ควร” (Should) และ “สิ่งที่ดี” (Good) ส่วนทฤษฎี

ฐานคติเป็น “เง่อนไขเบ้องต้น” (Pre-Conditions) หรือ “ความเป็นไปได้” (Possibilities) และทฤษฎ ี

สุดท้าย คือ ทฤษฎีอุปกรณ์นั้น เป็นข้อเสนอในการปฏิบัติว่าหากเป็นเช่นนี้แล้วจะท�าอย่างไรต่อไป

(If-Then Propositions) ทฤษฎีท้ง ๔ ประเภทมีความส�าคัญ และเช่อมโยงกัน การท่จะมีหลักปฏิบัต ิ


ออกมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพต้องผ่านเหตุผลต่าง ๆ และวิธีการที่ดี งานจึงจะประสบความส�าเร็จ

�������������������.indd 55 11/23/19 1:35 PM

56
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๓.๓ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ระหว่าง ค.ศ. ๑๘๘๗ - ๑๙๕๐

แนวคิดทฤษฎีและแนวการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสต์ในช่วงสมัย ค.ศ. ๑๘๘๗ - ๑๙๕๐


น้ถ้าศึกษาควบคู่ไปกับพัฒนาการของวิชารัฐประคาสนศาสตร์จะเห็นว่าอยู่ในช่วง เดียวกัน ซ่งผู้เรียบ
เรียงเรียกทฤษฎีในสมัยนี้ว่า “ทฤษฎีดั้งเดิม” อีกทั้งต้องการสื่อว่าทฤษฎี เหล่านั้นเป็นทฤษฎีที่เก่า
แก่รุ่นแรก ดังจะกล่าวถึงอย่างละเอียดตามล�าดับคือ การบริหารแยกจากการเมือง วิทยาศาสตร์
การจัดการหลักการบริหารและระบบราชการ

๓.๓.๑ การบริหารแยกออกจากการเมือง (The Politics Administration Dichotomy)
จากที่กล่าวมาในบทที่ ๒ แล้วว่านักวิชาการส่วนมากมีความเห็นร่วมกันว่า จุดเริ่มต้นของ
การศึกษาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ใต้แก่ป ค.ศ. ๑๘๘๗ ซึ่งเป็นปที่ วูดโรว์ วิลสัน เขียนบทความชื่อ


“The Study of Administration” ข้นวิลสันเสนอความเห็นว่าการบริหาร น้นแยกออกจากการเมือง



อย่างเด็ดขาด ท้งสองไม่ได้ก้าวก่ายซ่งกันและกัน การเมืองเป็นเร่องของการออกกฎหมายและ

การก�าหนดนโยบายท่เป็นหน้าท่ความรับผิดชอบโดยตรงท่นักการเมืองมีต่อประชาชน ส่วนการ





บริหารเป็นเร่องของการน�าเอากฎหมายและนโยบายต่าง ๆ ไปปฏิบัติให้บังเกิดผล ซ่งเป็นหน้าท่ของ












ขาราชการทจะทางานดวยความตงใจดวยความเทยงธรรม และอยางมประสทธภาพตามหลกเกณฑ ์



ที่ก�าหนดไว้ ด้งนั้นการบริหารจึงควรปลอดจากความวุ่นวายของการเมือง
ส�าหรับวิธีการศึกษาวิชาการบริหารนั้น เราสามารถสร้างหลักการต่าง ๆ ทางการบริหารขึ้น

มาได้ หลักการบริหารจะช่วยให้การบริหารงานของรัฐมีคุณภาพสูงข้น และยังเป็นหลักการซ่งสามารถ


ใช้ไดในทุกสังคม สาเหตุท่ท�าให้เราสามารถสร้างหลักการการ บริหารท่วไปข้นมาได้เป็นเพราะว่าการ



บริหารน้นแยกออกจากการเมืองอย่างเด็ดขาด ท้งสองไม่ได้ก้าวก่ายซ่งกันและกัน ดังน้นวิชา



รัฐประศาสนศาสตร์สามารถแยกออกจากการเมืองได้ จึงศึกษาเป็นแบบวิทยาศาสตร์ได้ จากแนวคิด
ของวิลลันจะเห็นว่าประเทศที่เจริญก้าวหน้า คือ ประเทศที่มีการปกครองที่ดี มีรัฐบาลหรือฝายบริหาร



ท่แข็งและมีระบบราชการท่มีประสิทธิภาพและมีเหตุผล พิจารณาในแง่การบริหารงานของรัฐแล้ว
ภาพในสังคมควรจะพยายามจัดระบบการบริหารงานภายในรัฐให้มีคุณภาพสูง
บทความของวิลสัน มีอิทธิพลมากต่อความคิดของนักวิชาการสมัยต่อมา (ระหว่างค.ศ. ๑๙๐๐
- ๑๙๒๖) เช่น แฟรงค์เจ กูดนาว และลีโอนาร์ด ดีไวน์ แฟรงค์ เจ กูดนาว เป็นนักวิชาการ
ด้านรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย (๑๘๕๙ - ๑๙๓๙) แต่งหนังสือซื่อ Ploitics and Admin-

istration (๑๙๐๐) ซ่งประกอบด้วย ข้อเสนอแนะสองประการท่ส�าคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์


ซึ่งพิทยา บวรวัฒนา ได้สรุปไว้ว่า
๒ พิทยา บวรวัฒนา, รัฐประศาสนศาสตร์ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ. ๑๘๘๗-ค.ศ. ๑๙๗๐), พิมพ์ครั้ง
ที่ ๗, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓). หน้า ๑๓.
�������������������.indd 56 11/23/19 1:35 PM

57
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



๑. การปกครอง ประกอบด้วยหน้าท่สองประการคือ หน้าท่การเมือง ซ่งหมายถึงเร่องนโยบาย




และการแสดงออกซ่งเจตนารมณ์ของรัฐ และหน้าท่การบริหาร ซ่งหมายถึงการบริหารและการปฏิบัต ิ



ตามนโยบายของรัฐ หน้าท่ท้งสองประการแยกออกจากกันอย่างเด็ดขาด (Separation of Powers)
โดยทัวไปแล้วฝายนิติบัญญัติและฝายตุลาการม หน้าที่ก�าหนดนโยบายรัฐ ส่วนฝายบริหารมีหน้าที่
ปฏิบัติตามนโยบายรัฐ
๒. การปฏิรูปการปกครอง ต้องยอมรับความจริงที่ว่าหน้าที่การเมืองและ หน้าที่การบริหาร

ของรัฐบาลแยกออกจากกันได้ การบริหารไม่ควรอยู่ภายใต้การเมืองและ เร่องของผลประโยชน์
วิชารัฐประศาสนศาสตร์ศึกษาเร่องระบบราชการของรัฐบาลโดยตรง และวิชาการบริหารสามารถ

เป็นวิทยาศาสตร์ได้กล่าวคือ สามารถหาหลักการบริหารท่เป็นสากลได้สมกับดังค�ากล่าวของ กูดนาว

ที่ว่า “There is no Republican Way to Build a Road” ซึ่งหมายความว่าการสร้างถนนนั้นมี


วิธีท่ดีท่สุดวิธีเดียว ไม่ว่านักการเมืองจะสังกัดพรรคใดก็จะเลือกวิธีสร้างถนนวิธีท่ดีท่สุดเหมือนกัน


หมดวิธีเดียว
ลีโอนาร์ด ดี ไวท์ได้เขียนหนังสือช่อ Introduction to the Study of Public Administration

(๑๙๒๖) ซึ่งเป็นต�าราเรียนเล่มแรกในต้านรัฐประศาสนศาสตร์ไวท์ได้ขยาย ความคิดเห็นของ วิลสัน
และกูดนาว ได้อธิบายว่าการบริหารงานรัฐถือว่าเป็นเรื่องของการ จัดการคนและวัตถุเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายบางประการของรัฐ ไวท์ ได้ขยายความคิดของทฤษฎีการบริหารแยกออกจากการเมือง

ซึ่งพิทยา บวรวัฒนา ได้สรุปไว้ว่า
๑) การเมืองไม่ควรเข้าแทรกแซงการบริหาร

๒) สามารถท�าการศึกษาเร่องการบริหาร และการจัดการโดยอาศัยวิธีการศึกษา แบบ

วิทยาศาสตร์
๓) วิชารัฐประศาสนศาสตร์สามารถตัดอคติต่าง ๆ ออกได้ (Value-Free) กล่าวคือเป็น
วิทยาศาสตร์ได้ การบริหารเป็นเรื่องของข้อเท็จจริง (facts) ขณะที่การเมืองเป็น เรื่องของค่านิยม

(Values)
๔) เป้าหมายของการบริหารงาน คือประหยัดและมีประสิทธิภาพ รัฐต้องรู้จัก
ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ท้งน้รัฐสามารถอาศัยหลักเกณฑ์ขององค์การธุรกิจมาใช้ปรับปรุง การบริหาร


งานของรัฐให้ดีขึ้นได้ เช่น อาจปฏิรูปโครงสร้างส่วนประกอบของระบบบริหาร ของรัฐให้สอดคล้อง

กับของเอกชน และอาจด�าเนินการสนับสนุนให้ฝายนิติบัญญัติและฝาย ตุลาการรวมท้งกระบวนการ
ประชาธิปไตยสามารถควบคุมระบบบริหารงานได้อย่างใกล้ชิด

๓ พิทยา บวรวัฒนา, เรื่องเดียวกัน. หน้า ๑๙.

�������������������.indd 57 11/23/19 1:35 PM

58
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



แนวความคดของการแบ่งแยกการเมองการบรหารออกจากกนนไม่ว่าจะเป็น วลสน, กด







นาว, ไวด์ เป็นอาทิ ก็ได้แสดงความคิดเห็นไว้ว่า การเมืองการบริหารควรแบ่งแยก ออกจากกันอย่าง

เด็ดขาดโดยต่างฝายต่างปฏิบัติภาระหน้าท่ภายในขอบเขตของตนเอง แม้แนวความคิดจะเน้นการ
แบ่งแยกจากกันอย่างเด็ดขาดดังกล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ตามจะ เห็นได้ว่าในเรื่องนี้ เจตนารมณ์ที่แท้
จริงของนักสาธารณบริหารศาสตร์เหล่านั้นก็เพื่อการ ยกระดับประสิทธิภาพประสิทธิผลของระบบ
ราชการ นอกจากจะให้ระบบราชการปลอดจาก การแทรกแซงทางการเมือง อันจะส่งผลให้เกิดความ


ม่นคงในการปฏิบัติงาน การรักษาความ เป็นกลางและความเท่ยงธรรมในการให้บริการแก่ประชาชน
ได้แล้ว การแยกการเมืองออก จากการบริหารนั้น ก็จะเป็นวิถีทางที่ท�าให้การปรับปรุงการบริหาร
ราชการด้วยวิธีการแบบ วิทยาศาสตร์ที่ปลอดจากค่านิยมหรืออคติต่าง ๆ เป็นไปได้ และโดยนัยนี้ก็
จะเป็นลู่ทางที่จะยกระดับการปฏิบัติงานให้เท่าเทียมกับภาคเอกชนได้
๓.๓.๒ ทฤษฎีวิทยาศาสตร์การจัดการ (scientific management)
เฟรดเดอริค เฑย์เลอร์ (Frederick Taylor) ได้ชื่อว่าเป็นบิดาของการบริหาร จัดการแบบ



วิทยาศาสตร์ (The Father of Scientific Management) โดยได้เป็นคนแรก ท่ได้ริเร่มเปล่ยนวิธีการ
ปฏิบัติงานแบบไม่มีหลักเกณฑ์ (Rule of Thumb Method) มาเป็นวิธีการบริหารที่มีหลักเกณฑ์

เพ่อความมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน ซ่งหลักเกณฑ์ของการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย

๑. การท�างานตามความรู้ความช�านาญเฉพาะอย่าง (Specialization) ตามแนวความคิด
นี้ต้องมีการแบ่งงานกันท�าตามทักษะและความช�านาญของคนท�างานแต่ละคนกล่าวคือ คนท�างาน
คนใดมีความช�านาญ มีความถนัดในด้านใด ก็จะมีหน้าที่รับผิดชอบ เฉพาะด้านนั้น ๆ การแบ่งงาน
กันท�าในลักษณะนี้ใช้ได้กับการบริหารงานทุกระดับ และองค์การ ทุกประเภท

๒. การแสวงหาวิธีการท�างานที่ดีที่สุด (The One Best Way) ในการท�างาน นั้นจะศึกษา
จากวิธีปฏิบัติงาน ท�าทางเคลื่อนไหว (time and motion study) ในการปฏิบัติงาน ขีดจ�ากัดของ

ร่างกายมนุษย์ในการปฏิบัติงาน เพ่อพิจารณาหาท่าทางในการท�างานท่สามารถ รับภาระในการ



ท�างานให้ได้มากท่สุด และใช้ระยะเวลาในการปฏิบัติงานได้เหมาะสมท่สุด แล้วจึงก�าหนดเป็นมาตรฐาน
ของการปฏิบัติงานแต่ละประเภทขึ้น
๓. ระบบการจูงใจซ่งใช้วิธีก�าหนดมาตรฐานการท�างาน และก�าหนดค่าตอบแทนอย่างเป็น

สัดส่วนกับปริมาณงานที่ท�า (Incentive Wage System) คือจะต้องมีการก�าหนดอัตราค่าตอบแทน
ผลการปฏิบัติงานเป็นรายชิ้น (Piece Rate System) โดยคิดจากปริมาณงานที่แต่ละคนท�า ถ้าหาก
คนท�างานคนใดสามารถท�างานได้ปริมาณมากกว่า มาตรฐานท่ก�าหนดไว้ ก็จะได้ค่าตอบแทนสูงกว่า

คนอื่น

จากหลักเกณฑ์ที่กล่าวมาช้างต้น ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ สามารถสรุปเป็นสาระส�าคัญ

ของการจัดการ แบบวิทยาศาสตร์ ซึ่งสรุปไว้ ๔ ประการคือ

๔ ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
๒๕๔๕). หน้า ๓๒-๓๓.

�������������������.indd 58 11/23/19 1:35 PM

59
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ประการแรก การพัฒนาหลักการการท�างานให้เป็นระบบหรือเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อแทนที่
การท�างานที่อาศัยเพียงประสบการณ์ของคนงานเพียงอย่างเดียว

ประการท่สอง การคัดเลือกและพัฒนาคนงานต้องใช้การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ด้วย

โดยฝายบริหารจะท�าหน้าที่ในการศึกษาลักษณะธรรมชาติ และผลงานของคนงาน เพื่อหาข้อจ�ากัด
และโอกาสในการพัฒนาของคนงานแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อให้คนงานได้ท�างานที่น่าสนใจ และสร้างผล
ก�าไรมากที่สุดตามก�าลังความสามารถ วิธีการนี้จะต้องท�าต่อเนื่องทุกป
ประการท่สาม น�าหลกการวิทยาศาสตร์มาใช้กบคนงานท่ได้รบการดัดเลือกและ พฒนาแล้ว







โดยผู้บริหารจะต้องแบกรับภาระหน้าท่ในการด�าเนินงานเป็นส่วนใหญ่ในการน�าหลักวิทยาศาสตร์

มาใช่ในการปรับปรุงงาน และหลังจากน้นก็น�าหลักวิทยาศาสตร์ดังกล่าวมา ให้คนงานใช่ในการท�างาน

ประการท่ส่ จัดสรรการท�างานระหว่างฝายบริหารและฝายลูกจ้างให้เท่าเทียมกัน โดยมีการ


ประสานการท�างานทุกวัน ผู้บริหารจะก�าหนดแนวทางให้ลูกจ้างปฏิบัติ และติดตาม ผลเม่องานเสร็จส้น

หากท�าได้เช่นนี้เฑเลอร์เชื่อว่าจะไม่มีปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างสองฝาย
แนวคิดวิทยาศาสตร์การจัดการน้จะเห็นว่าเน้นเร่องโครงสร้างและอ�านาจหน้าท่ในประเด็น



ท่ว่าผู้บริหารหรือฝายจัดการซ่งอยู่ในโครงสร้างระดับบนของหน่วยงาน ได้ใช้อ�านาจหน้าท่ไปใน



ทิศทางที่ให้ความส�าคัญกับปัจจัยทางวัตถุ โดยเฉพาะ “วิธีการท�างาน” ซึ่งเรียกว่า วิธีการที่ดีที่สุด

(One Best Way) และถือว่าเป็น “ปัจจัยหลัก” ท่ท�าให้การบริหารในหน่วยงานมีประสิทธิภาพ


ประหยัด รวดเร็ว และสร้างผลก�าไรให้แก่หน่วยงาน ส่วนปัจจัยอน ๆ เช่น บุคลากรหรอคนงาน

เครื่องจักร และวัตถุดิบ ถือว่า เป็น “ปัจจัยรอง” หรือปัจจัยประกอบในการท�างาน ดังนั้นจึงถือว่า
แนวคิดของเทเลอร์ไม่ได้ให้ความสนใจคนงานมากเท่าที่ควร


จะเห็นได้ว่า วิธีการท�างานท่ดีท่สุดน้นขยายความได้ว่าจะต้องมี การปรับปรุงแก้ไขสภาพ

การท�างาน เพื่อท�าให้คนงานปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ส่งผลดีต่อหน่วยงาน ซึ่งเทเลอ




เช่อว่าวิธีการปฏิบัติงานท่ตีท่สุดของคนงานมีเพียงวิธีการ เดียวเท่าน้น โดยเป็นวิธีการท่มีประสิทธิภาพ

ที่สุด รวดเร็วที่สุด ประหยัดที่สุด และสร้างผล ก�าไรให้แก่หน่วยงานมากที่สุด ถ้าน่าวิธีอื่นมาใช้ด้วย
จะท�าให้การปฏิบัติงานขาดประสิทธิภาพ หรือไม่มีประสิทธิภาพมากเท่าที่ควร

นอกจากท่กล่าวมาแล้ว เทเลอร์ยังให้ความส�าคัญกับอ�านาจหน้าท่โดยเฉพาะ “หลักการแบ่ง


งานและแบ่งอ�านาจหน้าท่ระหว่างฝายจัดการกับฝายปฏิบัติ” อันเป็นความร่วมมือหรือเป็นการแบ่ง
งานระหว่างฝายนายจ้างหรือฝายจัดการ หรือผู้จัดการกับฝายปฏิบัติ หรือคนงานอย่างชัดเจน และ
ถือว่าเป็นลักษณะของการแบ่งโครงสร้างและอ�านาจหน้าที่ใน การท�างาน กล่าวคือ ฝายผู้จัดการรับ
ผิดชอบงานหรือมีอ�านาจหน้าท่ในภาพรวมท้งหมด ซ่งครอบคลุมเร่องการวางแผน การก�าหนด




มาตรฐานและวิธีปฏิบัติงาน ตลอดจนการควบคุม การปฏิบัติงานของคนงานอย่างใกล้ชิด ขณะท ่ ี


ฝายปฏิบัติหรือคนงานรับผิดชอบหรือมีอ�านาจ หน้าท่ในฐานะท่เป็นผู้มีความรู้ความช�านาญเฉพาะด้าน
หรือเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ

�������������������.indd 59 11/23/19 1:35 PM

60
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๓.๓.๓ ทฤษฎีหลักการบริหาร (Administrative Theory)


ประมาณป ค.ศ. ๑๙๑๖ ได้มีนักวิชาการกลุ่มหน่งมีความคิดเห็นว่าประสิทธิภาพ ขององค์การ
นั้นอาจเพิ่มขึ้นได้ โดยการปรับปรุงกระบวนการบริหาร ซึ่งถือเป็นวิถีทางที่ น�าไปสู่จุดมุ่งหมายของ
องค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ที่เป็นผู้บุกเบิกแนวความคิด เกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร และ
ได้เสนอทฤษฎีทั่วไปในการจัดการงาน (General Theory of Management) ขึ้นเป็นครั้งแรกที่มี
ความส�าคัญทัดเทียมกับเทเลอร์ ก็คือ เฮนรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) พัฒนาความคิดข้นมาจากสายตา


ของนักบริหารระดับสูงหรือจากบนสู่ล่าง ขณะท่เฑเลอร์สร้างวิทยาการจัดการงานจากระบบโรงงาน
หรือจากล่างสู่บน ผลงานของฟาโยล์แสดงให้เห็นถึงกจกรรมของการบริหาร ซ่งเป็นเร่องเก่ยวกับ





หลักการ (Principle) และ องค์ประกอบ (Elements) ของการบริหารหรือก็คือหน้าท่ทางการบริหาร
(Function of Management) ฟาโยล์ เห็นว่ากิจกรรมการจัดการงานใดทั้งหมดจะประกอบด้วย
องค์ประกอบหรือหน้าที่ทางการบริหาร ๕ ประการ คือ การวางแผน (Planning) การจัดองค์การ
(Organizing) การบังคับบัญชา (Commanding) การประสานงาน (Coordinating) และการควบคุม
(Controlling) ฟาโยล์ยังมีความคิดเห็นอีกว่า หลักการในการบริหารน้นควรมีความยืดหยุ่นและ

สามารถประยุกต์ไชได้กับนักบริหารทุกระดับในองค์การซงเขาเรียกว่าเป็นหลักการบริหารสากล ๑๔



ข้อ ดังนี้
๑. หลักการแบ่งงานกันท�า (Division of Work) หมายถึงการแบ่งงานให้ง่ายต่อการปฏิบัติงาน
โดยค�านึงถึงความๆ ช�านาญเฉพาะอย่างเพื่อประสิทธิภาพในการท�างานที่สูงขึ้น





๒. หลกอานาจหน้าท่และความรบผดชอบ (Authority and Responsibility) หมายถึง
การมอบอ�านาจหน้าท่ตามต�าแหน่งงานให้สอดคล้องกับระดับความรับผิดชอบตาม ต�าแหน่งงานน้น


๓. หลักวินัย (Discipline) หมายถึง การยอมรับและเชื่อฟังในกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ
ที่องค์การก�าหนดขึ้น
๔. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) หมายถึงอ�านาจที่ จะควบคุม
สั่งการผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นของผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว หรือผู้ใต้บังคับบัญชา ทุกคนจะต้องรับ
ฟังค�าสั่งจากผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านั้น
๕. หลักเอกภาพในการอ�านวยการ (Unity of Direction) หมายถึงการท่กลุ่มกิจกรรมท�างาน




งานหน่ง ๆ น้น จะต้องมีแผนงานวัตถุประสงค์ และทิศทางในการท�างานท่ชัดเจนแต่เพียงอย่างเดียว
๖. หลักผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นรองผลประโยชน์ส่วนรวม (Subordination of Individu-
al Interest to General Interest) หมายถึง การให้ความส�าคัญของผลประโยชน์ขององค์การ
เหนือกว่าผลประโยชน์ส่วนตัว โดยค�านึงถึงความส�าเร็จขององค์การเป็นส�าคัญ

๕ วิเชียร วิทยอุดม, ทฤษฎีองค์การ, (กรุงเทพมหานคร : ธีระฟิล์มและไชเท็กซ์, ๒๕๔๘), หน้า ๒๙-๓๔.

�������������������.indd 60 11/23/19 1:35 PM

61
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๗. หลักผลประโยชน์ตอบแทน (Remuneration of Personnel) หมายถึง การให้ผล

ตอบแทนท่ยุติธรรมในการท�างานให้เหมาะสมกับสภาพการจ้างงานค่าครองชีพและความพอใจสูงสุด
ของฝายคนงานและฝายนายจ้างด้วย

๘. หลักการรวมอ�านาจ (Centralization) หมายถึง การให้มีศูนย์รวมการตัดสินใจ
การควบคุมอยู่ท่ส่วนกลางและให้มีการกระจายอ�านาจหน้าท่เหมาะสมสอดคล้อง และพอเหมาะกับ


องค์การนั้น ๆ


๙. หลักสายการบงคบบญชา (Scalar Chain) หมายถึง ลาดับสายของการบังคบบญชา




ที่ลดหลั่นกันไปตามล�าดับ จากระดับสูงสุดลงมาถึงระดับต�่าสุดขององค์การ
๑๐. หลักของความมีระเบียบ (Order) หมายถึง การจัดระเบียบวัสดุสิ่งของ และตัวบุคคลให้
อยู่ในต�าแหน่งที่ได้จัดไว้อย่างเหมาะสมเพื่อควบคุมได้ง่ายขึ้น

๑๑. หลักความเสมอภาค (Equity) หมายถึง การจัดให้มีความยุติธรรมแก่ทุกคนท่อยู่ใต้

การบังคับบัญชา ต้องปฏิบัติต่อทุกคนอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันโดยท่วถึงท้งองค์การ ปราศจาก

การล�าเอียง
๑๒. หลักความมั่นคง (Stability of Tenure of Personnel) หมายถึง หลักประกันบุคคล
ในองค์การให้สามารถท�างานอยู่ในองค์การอย่างมีประสิทธิภาพได้นาน ไม่ให้มีการย้ายงานออกจาก
งานได้สูง

๑๓. หลักความคิดริเร่มสร้างสรรค์ (Initiative) หมายถึง การประดิษฐ์ความคิด ความสร้างสรรค์
รวมถึงวิธีการใหม่ ๆ ซึ่งช่วยให้การด�าเนินงานขององค์การบรรลุตาม วัตถุประสงค์

๑๔. หลักของความสามัคคี (Esprit De Corps) หมายถึง การท�างานร่วมกันเป็นกลุ่ม และ
ส่งเสริมให้มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน โดยสร้างบรรยากาศในการร่วมมือให้ดีขึ้น ในองค์การเพื่อใช้
ความรู้ความสามารถของบุคคลอย่างเต็มที่


จากแนวความคิดตามหลักการบริหารท้ง ๑๔ ข้อน้น ได้น�าไปสร้างเป็น หลักการ จัดองค์การ

ตามแบบ ฟาโยล์เรียกว่า OSCAR ซ่งมีแนวทางท่ต้องปฏิบัติ ๕ ประการ คือ ต้องก�าหนดวัตถุประสงค์

(Objectives) ต้องค�านึงถึงความเช่ยวชาญงานเฉพาะอย่าง (Specialization) ต้องจัดให้มีการประสาน

งาน (Co-ordination) ต้องก�าหนดอ�านาจหน้าท่ (Authority) และต้องก�าหนดความรับผิดชอบ

(Responsibility)
หลักการและทฤษฎีการบริหารของฟาโยล์ที่สร้างขึ้นมาก็มุ่งให้ผู้บริหารน�าไป ปรับปรุงการ
บริหารโดยท่ว ๆ ไป และสามารถน�าไปใช้ในการบริหารองค์การทุกประเภท ท�าให้มีความเช่อว่า


ศาสตร์ในการบริหารนั้นเป็นหลักสากล จึงสามารถน�าไปใช้ในการบริหารองค์การทุกประเภทได้
ลูเธอ กูลิค และ ลันดอล เออวิค เป็นนักบริหารชาวอังกฤษ ได้ศึกษาผลงาน ของฟาโยล์
และอาศัยประสบการณ์ในการท�างานบริหารมาหลายป ได้ก่อให้เกิดการพัฒนา แนวความคิดหลัก
การทางบริหารขึ้นมาในป ค.ศ. ๑๙๓๗ เขาทั่งสองคนได้ร่วมกันเขียนหลักการบริหารไวในหนังสือ
"Papers on the Science of Administration" ดังนี้

�������������������.indd 61 11/23/19 1:35 PM

62
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๑. หลักเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) คืออ�านาจที่จะควบคุมสั่งการ
ผู้ใต้บังคับบัญชา เป็นของผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียว
๒. หลักการใช้ที่ปรึกษา (Use of Staff) คือ ควรมีฝายงานด้านวิชาการท�าหน้าที่ให้ความ
ช่วยเหลือและให้ค�าปรึกษาด้านข้อมูลแก่ผู้ปฏิบัติงาน

๓. หลักการจัดแบ่งส่วนงานในองค์การ (Depart Mentation) คือการจัดแบ่ง ส่วนงานจะ
ต้องพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ กระบวนการของงาน บุคคลและสถานที่

๔. หลักอ�านาจและหน้าท่ (Authority) คือ อ�านาจหน้าท่ตามต�าแหน่งงาน จะต้องสอดคล้อง

กับระดับความรับผิดชอบตามต�าแหน่งงานนั้น
๕. หลักช่วงกว้างของการบังคับบัญชา (Span of Control) คือจ�านวนผู้ใต้บังคับบัญชาที่
อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของหัวหน้าคนหนึ่ง ๆ

๖. หลักการบรรจุคนให้เหมาะสมกับโครงสร้างขององค์การ (Fitting People to the
Organization Structure) คือ การบรรจุคนต้องให้เหมาะกับลักษณะของงานตาม โครงสร้างของ
องค์การนั้น ๆ


นอกจากน้บุคคลท้งสองยังได้ก�าหนดหน้าท่ในการบริหารหรือกระบวนการบริหารไว้



๗ ประการ ซ่งเป็นหลักการท่น�ามาใช้ในการบริหารงานในระบบราชการไทย เรียก ย่อ ๆ ว่า
"POSDCORB" มีหลักการดังต่อไปนี้
๑. การวางแผน (Planning) หมายถึง การก�าหนดวิถีทางที่จะปฏิบัติงานไว้ ล่วงหน้า ซึ่งเป็น

หน้าท่ส�าคัญเบ้องต้นท่ผู้บริหารจ�าเป็นต้องมี โดยมีการก�าหนดวัตถุประสงค์ แนวทางหรือกลยุทธ์


(Strategies) จัดท�าแผนงาน ให้ครอบคลุมทุกแง่ทุกมุม ซึ่งจะท�าให้เกิดผลส�าเร็จตามเป้าหมายที่ได้
วางไว้
๒. การจัดองค์การ (Organizing) หมายถึง ภาระหน้าท่ในการก�าหนด จัดเตรียมและจัด

ความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ ในหน่วยงานขององค์การ เพื่อให้สามารถบรรลุผลส�าเร็จตาม
วัตถุประสงค์ของหน่วยงานหรือองค์การอย่างมีประสิทธิภาพ
๓. การจัดคนเช้าท�างาน (Staffing) หมายถึง ภาระหน้าที่เกี่ยวกับการบริหาร ตัวบุคคลเริ่ม
ด้วยเสาะหาคัดเลือกตัวบุคคลเช้ามาท�างานในองค์การ และวางตัวบุคคลให้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับ
ลักษณะของงานต่าง ๆ เพื่อความมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

๔. การอ�านวยงานหรือการส่งการ (Directing) หมายถึง ภาระหน้าทีในการก�ากับส่งงาน

และรู้จักหลักวิธีในการช้แนะ ควบคุมบังคับบัญชาให้การท�างานของผู้อยู่ใน บังคับบัญชาเป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้

๕. การประสานงาน (Co-Ordinating) หมายถึง การด�าเนินการให้หน่วยงานมี สัมพนธภาพ

ในการปฏิบัติงานระหว่างกันเป็นไปอย่างสอดคล้อง เช่อมโยงระหว่างกันและกัน โดยมีการปฏิบัต ิ
กันอย่างสมานฉันท์เป็นกลุ่มก้อน ท้งน้เพ่อให้งานบรรลุถึงวัตถุประสงค์เดียวกัน อีกท้งเป็นการประหยัด




มีผลงานและการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

�������������������.indd 62 11/23/19 1:35 PM

63
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๖. การรายงาน (Reporting) หมายถึง ระบบการรายงานซึ่งหน่วยงานมีหน้าที่ รับผิดชอบ
การรายงานผลการปฏิบัติงาน ประมวลสถิติของงาน หรือสอดส่องดูแลสภาพของ เหตุการณ์ที่เกิด
ขึ้นภายในหน่วยงาน


๗. การงบประมาณ (Budgeting) หมายถึง แผนทางการเงินของรัฐบาลท่ จัดท�าข้นเพ่อ


แสดงรายรับและรายจ่ายที่รัฐบาลก�าหนดจะจัดท�าตามโครงการต่าง ๆ ในปต่อไป โดยแสดงวงเงิน
ค่าใช้จ่ายแต่ละโครงการ และวิถีทางหาเงินมาใช้จ่ายตามโครงการนั้น ๆ

การบริหารงานในองค์การ ถ้าหากพิจารณาโดยท่วไปแล้วจะเห็นว่า มิได้ใช้วิธีการแบบ
วิทยาศาสตร์ ตามที่ควรจะเป็น ทั้งนี้เพราะหลักการต่าง ๆ นั้นได้มาจากประสบการณ์ สามัญส�านึก
และการรวบรวมข้อมูลทั่วไปเท่านั้น ดังนั้นจึงปรากฏมีผู้ที่โจมตีทฤษฎีนี้ในเวลา ต่อมา

๓.๓.๔ ทฤษฎีระบบราชการ (Bureaucracy)
ค�าว่า “ระบบราชการ” หรือ Bureaucracy นั้น จุมพล หนิมพานิช ได้กล่าวว่า เกิดจาก

การน�าค�า ๒ ค�ามารวมกันคือ ค�าว่า Bureau กับว่าค�าว่า Cracy ค�า ว่า Bureau หมายถึงผ้าปูโตะ

ของเจ้าหน้าท่ของรัฐบาลฝร่งเศส ส่วนค�าว่า Cracy หมายถึงการ ปกครอง (Rule of Government)



ฉะน้นแง่หน่งของความหมายของค�าน้จึงน่าจะหมายถึง การปกครองโดยบุคคลท่น่งท�างานบนโตะ



เขียนหนังสือ
ส่วนความหมายท่เป็นภาษาไทยน้นมีผู้ให้ไว้หลากหลาย เช่น ระบบราชการ ทฤษฎีระบบ


ราชการ องค์กรแบบราชการ หรือการจัดองค์การแบบระบบราชการ แต่ นักวิชาการส่วนใหญ่จะใช้
ค�าว่า “ระบบราชการ” ซึ่งเป็นค�าที่มีความหมายค่อนข้างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม ค�าว่า “ระบบ
ราชการ” มักท�าให้คนส่วนใหญ่เข้าใจผิดว่าเป็นการจัดการภาครัฐ

ซ่งได้แก่ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐในระบบราชการ ระบบราชการสามารถแยกออก
ได้เป็น ๒ ลักษณะ ลักษณะแรก ระบบราชการมีฐานะเป็นสกาบันทางลังคมสถาบันหนึ่ง ซึ่งมีความ
ต่อเน่อง มีการจัดการท่มีประสิทธิภาพ มีผลประโยชน์ท่จะต้องปกป้องรักษา ท�าให้ยาก แก่การแก้ไข



เปลี่ยนแปลง มีลักษณะเฉพาะตัวของตัวเอง อีกลักษณะหนึ่ง ระบบราชการคือ รูปแบบหนึ่งในการ
จัดองค์การ กล่าวคือ เป็นระบบการท�างานระบบหนึ่งเท่านั้น โดยปกติ หมายถึงระบบการบริหาร/
ระบบการท�างานของรัฐบาล หากมองในแง่ที่ระบบราชการสามารถ แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรืออาจยุบ
ทิ้งไปเลยก็ได้ถ้ามีปัญหามาก แล้วหารูปแบบการบริหาร / การ จัดองค์การแบบใหม่ที่ดีกว่า เหมาะ
สมกว่ามาใช้แทน แต่ในโลกแห่งความเป็นจริง ระบบ ราชการคือผลลัพธ์ของการผสมผสานระหว่าง
๒ ลักษณะข้างต้น ท�าให้ยากแก่การแก้ไข เปลี่ยนแปลง

๖ จุมพล หนิมพานิช, ระบบราชการเปรียบเทียบ การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบและการ บริหารการพัฒนา,
(กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๘), หน้า ๒๑๒.




๗ สัมฤทธ์ ยศสมศักด์, หล้กรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎี, พิมพ์คร้งท่ ๒. (กรุงเทพมหานคร : รัตนพรชัย,
๒๕๔๘), หน้า ๘๗.

�������������������.indd 63 11/23/19 1:35 PM

64
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์














จากความหมายของระบบราชการทกลาวมาขางตน เพอใหเกดความเขาใจ รวมกนในเบองตน



ผู้เรียบเรียงจะใช้ค�าว่า “การจัดองค์การแบบราชการ” เม่อกล่าวถึง Bureaucracy ในเชิงความหมาย

แคบท่เก่ยวกับรูปแบบการบริหาร และจะใช้ค�าว่า “ระบบราชการ” ในเชิงความหมายกว้าง



เม่อกล่าวรวมถึงทฤษฎี แนวคิด ตลอดจนระบบบริหารส่วนราชการและหน่วยงานภาครัฐ ดังน้น
ค�าว่าระบบราชการจึงมีความหมายครอบคลุมค�าว่าการ จัดองค์การแบบราชการอยู่ด้วย
แม็ก เวเบอร์ (Max Weber) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน เป็นบุคคลแรก ที่เสนอความคิด


เก่ยวกับโครงสร้างขององค์การในรูปแบบอุดมคติ (Ideal Type) หรือท่รู้จักในนามระบบราชการ
(Bureaucracy) หรือองค์การขนาดใหญ่ที่เป็นทางการ แม็ก เวเบอร์ จึงเป็นบุคคลเพียงคนเดียวใน







ยุคนนท่สร้างองค์การแบบราชการในอดมคตท่ไม่ได้เกิดจากประสบการณ์ในการทางาน (Ideal Type
of Bureaucracy) ซึ่งมีลักษณะที่มีเหตุมีผลโดยกฎหมาย (Legal rational) แต่เขาสร้างในแง่มุม
ของนักวิชาการหรือของปัญญาชนท่คิดว่า รูปแบบองค์การในอุดมคติหรือองค์การท่มีรูปแบบบริสุทธ ิ ์


(Pure Form) ก็คือรูปแบบระบบราชการ หรือองค์การขนาดใหญ่ที่เป็นทางการ

ตามแนวความคิดของ เวเบอร์ การท่ผู้น�าหรือผู้บริหารจะท�าการปกครอง และบริหารกิจการ
งานของกลุ่มชนไปได้นั้น ผู้น�าจะต้องมีสิ่งส�าคัญ ๒ ประการ คือ อ�านาจ (Authority) และกลไก

ทางการบริหาร (Administrative Apparatus) ในเร่องของอ�านาจ หมายถึงความสามารถของบุคคล




คนหน่งในการท่จะเปล่ยนพฤติกรรมของคนอ่น ๆ ให้เป็นไปตามท่ตนต้องการ การท่บุคคลใดจะ


ปกครองคนอื่นได้ก็ต่อเมื่อเขามีอ�านาจปกครองอยู่ และอ�านาจนั้นจะต้องเป็นที่ยอมรับของกลุ่มคน
ที่อยู่ใต้ปกครองด้วย (Legitimation of Power) นอกเหนือจากอ�านาจแล้ว บุคคลนั้นยังจ�าเป็นต้อง
อาศัยกลไกการบริหาร ซงถอได้ว่าเป็นส่งจ�าเป็นทจะช่วยให้การใช้อ�านาจปกครองดาเนินไปด้วยด ี







โดยกลไกการบริหารอาจมีรูปแบบแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมกับรูปแบบของอ�านาจ
และ เวเบอร์ได้แบ่งรูปแบบแห่งการใช้อ�านาจการปกครองบังคับบัญชาเป็น ๓ รูปแบบ
ซึ่งสัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์ ได้รวบรวมไว้ดังนี้
๑. รูปแบบการใช้อ�านาจเฉพาะตัว (Charismatic Domination) ซึ่งเป็นการอาศัยลักษณะ



เฉพาะตัวซ่งได้แก่บุคลิกลักษณะความเป็นผู้น�าเป็นปัจจัยโน้มน้าวให้ผู้ตามท้งหลาย เช่อฟังและยอม
ปฏิบัติตามค�าสั่งและเจตนารมณ์ของผู้น�า การใช้อ�านาจมีลักษณะไม่เคร่งครัด รัดกุมนักและไม่ค่อย
มีเสถียรภาพ เรียกรูปแบบกลไกการบริหารนี้ว่า Communal
๒. รูปแบบการใช้อ�านาจแบบประเพณีนิยม (Traditional Domination) ความชอบธรรม
ของอ�านาจขึ้นอยู่กับประเพณีดั้งเดิมของสังคม ผู้ตามเชื่อฟังค�าสั่งของผู้น�า เพราะผู้ตามมักมีความ
เห็นว่า ผู้น�าเป็นหัวหน้าท่ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณีท่ยึดถือปฏิบัติกัน มาช้านาน ในระดับ


ชาติ ผู้น�าที่ใช้อ�านาจแบบประเพณีนิยมต่อคนจ�านวนมากนั้น จ�าเป็นที่ต้องใช้กลไกการบริหารแบบ
Feudal Patrimonial
๓. รูปแบบการใช้อ�านาจตามกฎหมาย (Legal Domination) การใช้อ�านาจของผู้น�า ตั้งอยู่
บนรากฐานของตัวบทกฎหมาย ผู้ตามเชื่อฟังค�าสั่งของผู้น�าเพราะฝายหลังเป็นบุคคลที่มีหน้าที่เป็น

ผ้นา ซงดารงต�าแหนงอยางชอบธรรมตามกฎหมาย ผตามปฏบัติตามผนาเพราะ มกฎเกณฑ์ระเบยบ











ู้

�������������������.indd 64 11/23/19 1:35 PM

65
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

แบบแผนก�าหนดไว้ให้ท�า กลไกการบริหารซึ่งท�าหน้าที่รองรับการใช้ อ�านาจตามกฎหมายของผู้น�า




ต่อมวลชนน้ได้แก่ Bureaucracy ซ่งเป็นระบบการจัดองค์การท่ ต้งอยู่บนรากฐานของกฎหมายเป็น
ส�าคัญ
จากการศึกษาแนวคิดของนักวิชาการท่หลากหลายท้งนักวิชาการตะวันตก และนักวิชาการ


ไทย ผู้เรียบเรียงจะขออธิบายลักษณะของการจัดองค์การแบบราชการใน ๒ มิติ คือ
๑. มิติทางด้านโครงสร้าง ซึ่งมีลักษณะที่ส�าคัญคือ
๑.๑ การแบ่งงานกันท�าและความช�านาญเฉพาะทาง (Division of Labor and Func-
tional Specialization) งานต่าง ๆ จะถูกจัดแบ่งเป็นประเภทและจุดมุ่งหมาย โดยมีการ แบ่ง
ขอบเขตอ�านาจที่ชัดเจนของแต่ละหน่วยงาน และมุ่งเน้นในการก�าจัดความซ�้าซ้อนและ เหลื่อมล�้า
ของแต่ละหน้าที่


๑.๒ การมีสายการบังคับบัญชาท่ลดหล่นกันลงมา (Hierarchy) เป็นล�าดับจากสูงลง

มาต�่า สายการบังคับบัญชาที่ชัดเจนแสดงให้เห็นว่าต�าแหน่งใดหรือหน่วยงานใด อยู่ในล�าดับขั้นใด
ในองค์การ อยู่สูงกว่าหรือต�่ากว่าต�าแหน่งใดหรือหน่วยงานอื่นในองค์การบ้าง

๑.๓ การมีระบบของกฎเกณฑ์ไว้อย่างแน่นอน (System of Rules) กรอบท่ เป็นทางการ

ของกฎเกณฑ์และวิชาการถูกก�าหนดข้นเพ่อให้เกิดความม่นคง สามารถคาดเดา ได้ เพ่อให้เกิดความ



มั่นใจในผลการปฏิบัติงาน


๑.๔ การรักษาไว้ซ่งแฟ้มงานและบันทกต่าง ๆ อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร (Maintenance
of Files and Other Records) เพ่อให้เป็นหลักประกันในการท�างานว่าการปฏิบัติงานมีความเหมาะสม

กับสถานการณ์ และสอดคล้องกันกับการปฏิบัติงานในอดีตใน สถานการณ์ที่คล้ายคลึงกัน
๑.๕ การเป็นวิชาชีพ (Professionalization) การรับราชการถือว่าเป็นอาชีพท่ม่นคง


การแต่งตั้งถือเกณฑ์ด้านคุณสมบัติและความช�านาญงาน มีรายได้ที่แน่นอน รวมทั้งสวัสดิการ และ
บ�านาญ

๒. มิติทางด้านพฤติกรรม โดยลักษณะทางด้านพฤติกรรมคือ
๒.๑ การไม่ค�านึงถึงตัวบุคคล (Impersonality) ระบบราชการเป็นการบริหาร ที่ขึ้นอยู่



กับวินัย บุคคลแต่ละคนเช่อฟังค�าส่งต่าง ๆ เพราะมีความรู้สึกว่ากฎหรือค�าส่งเป็นส่งท่ทุกคนรับรู้กัน



โดยท่วไปเป็นอย่างดีว่าจะเป็นหนทางน�าไปสู่เป้าหมายท่ต้องการ และจากการท่บุคคลแต่ละคนเช่อ





ฟังค�าส่งจึงเป็นการละท้งการใช้วิจารณญาณด้วยตนเองไม่ว่าค�าส่ง น้นจะสมเหตุสมผลหรือชอบธรรม


หรือไม่ก็ตาม
๒.๒ การใช้เหตุผล (Rationality) ระบบราชการเป็นการท�างานท่เป็นอาชีพ มีการใช้

เหตุผล มีการแบ่งแยกทั้งเรื่องส่วนตัวและทรัพย์สินของบุคคลออกจากองค์การ การไม่ยึดถือความ



เป็นส่วนบุคคลท้ง ๆ ท่ตัวข้าราชการในฐานะปัจเจกบคคล เป็นบุคคลราชการททางานในองค์การ



ก็ย่อมจะมีการปฏิบัติงานโดยค�านึงถึงผลประโยชน์ส่วนตัวเป็นส�าคัญ
�������������������.indd 65 11/23/19 1:35 PM

66
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒.๓ การมุ่งปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ (Rule Orientation) ระบบราชการเป็นการท�างานที่




ผ่านกฎระเบียบและสายอ�านาจการบังคับบัญชา แม้จะมุ่งท่จะให้เกิดความเท่ยงตรง เพ่อความม่นใจ
ในผลการปฏิบัติงาน แต่การยึดกฎระเบียบอย่างเคร่งครัด ย่อมมีผลท�าให้ พฤติกรรมของข้าราชการ
ขาดความยืดหยุ่น ท�าให้ข้าราชการไม่กล้าตัดสินใจ และเผลอคิดว่า กฎระเบียบคือเป้าหมายของ
องค์การ การท�างานของข้าราชการจึงมุ่งให้ความส�าคัญต่อ กฎระเบียบแทนที่จะให้ความส�าคัญกับ
การบริการประชาชน

แนวคิดเก่ยวกับระบบราชการท่กล่าวมาข้างต้น การมองของนักวิชาการมีท้ง ในแง่บวก




แง่ลบ และแง่ท่เป็นกลาง ในแง่บวกนั้นมองว่าเป็นรูปแบบของการบริหารว่าเป็น เคร่องมือท่ม ี


ประสิทธิภาพมากท่สุดในการบริหารขนาดใหญ่ เพราะมีการจัดองค์การท่ดี มีการแบ่งงานกันท�า

อย่างเป็นระบบและสัดส่วน ท�าให้เกิดความช�านาญ ความรวดเร็ว และความประหยัด นอกจากนี้ยัง
เป็นระบบที่สร้างความยุติธรรม เพราะท�างานภายใต้กรอบของ กฎหมาย ระเบียบแบบแผนที่รัดกุม
มีเหตุผล จึงลดการเล่นพรรคเล่นพวกลง ท�าให้การ บริหารงานมีประสิทธิภาพสูง ส่วนนักวิชาการ




ท่มองในแง่ลบน้น มีความเห็นว่า ระบบราชการ ในฐานะท่เป็นรูปแบบหน่งในการจัดองค์การมีความ
แข็งทื่อ ไม่ยืดหยุ่น ท�าให้คนเป็นหุ่นยนต์ มีหน้าที่คอยรับแต่ค�าสั่ง ท�าให้ไม่สามารถปรับเปลี่ยนตัว

ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมท่เปล่ยนแปลงไป และย่งในภาวะวิกฤตการณ์ด้วยแล้วระบบราชการ





ย่งไร้ประสิทธภาพในการแก้ไขปัญหา เมอมีปัญหาขนมา ระบบราชการจะแก้ปัญหาด้วยการออก



ระเบียบกฎเกณฑ์จน ท�าให้มีระเบียบมากมาย ยุ่งยากสลับซับซ้อนแต่แก่ไขอะไรไม่ได้ เพราะถก





พันธนาการด้วย ระเบียบมากมาย และนักวิชาการท่มองในแง่ท่เป็นกลางน้น กลุ่มน้มองระบบราชการ



เป็นรูปแบบของการจัดองค์การประเภทหน่งท่มีท้งข้อดีและข้อเสีย โดยได้แยกตัวบุคคลออกจาก






ระบบราชการ และเหนว่าขาราชการมทงพวกท่เหนแกประโยชนสวนตวและสวนรวม จงจาเปนตอง










แยกพวกที่ดีออกจากพวกที่ไม่ดี แต่นักคิดในแนวนี้มักมองข้ามอิทธิพลของโครงสร้างไป คือมองไม่

เห็นว่าปัญหาของระบบราชการน้นไม่ใช่เร่องส่วนตัว/ส่วนบุคคล เท่าน้น แต่เป็นปัญหาในระตับ


โครงสร้างด้วย และถ้าพิจารณาอย่างรอบคอบแล้ว กลุ่มที่มองระบบราชการแบบกลาง ๆ นี้ มีแนว

โน้มค่อนไปทางพวกที่มองระบบราชการในแง่บวก
จะเห็นได้ว่าทฤษฎีสมัยดงเดิม ในช่วง ค.ศ. ๑๘๘๗ - ค.ศ. ๑๙๕๐ น้น จะเน้นให้ ความส�าคัญ



กบการจัดโครงสร้างขององค์การ ทงยังให้ความส�าคัญกับหลักเกณฑ์และ กฎหมายในการท�างาน




มากเกินไป ให้ความส�าคัญกับเป้าหมายในระดับรอง ๆ ลงมา ท�าให้คนขององค์การไม่มีความคิดริเร่ม
ไม่มีความเป็นตัวของตัวเอง ต้องคอยยินยอมปฏิบัติตาม ค�าสั่ง กฎ ระเบียบ อยู่ตลอดเวลา ทฤษฎี
๘ สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์, หล้กรัฐประศาสนศาสตร์ แนวคิดและทฤษฎี, หน้า ๙๐-๙๔.
�������������������.indd 66 11/23/19 1:35 PM

67
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



น้จึงไม่ได้มีการค�านึงถึงความต้องการทางด้านจิตใจ ของผู้ปฏิบัติงาน ยังเน้นถึงเร่อง การรวมอ�านาจ

และรวมอ�านาจไว้เฉพาะในระตับสูงเท่าน้น มีการเน้นถึงล�าดับช้นของสายการบังคับบัญชา มีการ

ติดต่อสื่อสารภายในองค์การจ�ากัดอยู่ เฉพาะตามสายของการบังคับบัญชาเท่านั้น ท�าให้การบริหาร
ไม่สามารถน�าไปปฏิบัติให้ได้ผล และมีประสิทธิภาพได้ ทั้งนี้เพราะสภาพแวดล้อมขององค์การนั้น ๆ





เปล่ยนแปลงไปอยู่เสมอ เป็นแนวความคิด ซ่งมักจะมุ่งเน้นไปท่การควบคุมว่าเป็นส่งท่มีความส�าคัญ
มาก เพราะเป็นปัจจัยที่น�าไปสู่การท�างานให้เกิดการประหยัด และมีประสิทธิภาพ และยังมุ่งเน้นให้


ความส�าคัญกับการเพ่มผลผลิต และเกิดประสิทธิผล จึงมีการออกแบบองค์การ เพ่อให้เกิดความ
คล่องตัวและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน อันได้แก่จัดให้มีการแบ่งงานกันท�า ตามความช�านาญเฉพาะอย่าง
และแต่ละส่วนจะท�างานตามหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย
๓.๔ แนวคิดทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐


เน่องจากทฤษฎีแนวความคิดใหม่ท่เกิดข้นในช่วง ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๑๙๖๐ มีลักษณะเป็นความ




คิดท่โจมตีท้าทายความถูกต้องของทฤษฎีด้งเดิม ผู้เรียบเรียงจึงเรียกกลุ่มทฤษฎีใหม่น้ว่า “ทฤษฎ ี


ท้าทาย” ในส่วนน้จะอธิบายทฤษฎีท้าทายท้ง ๔ ทฤษฎี ตามล�าดับคือ การบริหารคือการเมือง ระบบ
ราชการแบบไม่เป็นทางการมนุษยสัมพันธ์ และศาสตร์การบริหาร
๓.๔.๑ การบริหารสื่อการเมือง (Politics and Administration)
ความคิดท่ว่าการบริหารแยกจากการเมืองโดยเด็ดขาด ได้ท�าให้นักวิชาการ หลายท่าน

ไม่สบายใจมาดั้งแต่ทศวรรษ ๑๙๓๐ แล้ว จนกระทั้งหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ คือ ป ค.ศ. ๑๙๔๖ มี
หนังสือรวมบทความชื่อ Elements of Public Administration ซึ่งมี ฟริสต์ มอสเทน มารค (Fritz
Morstein Marx) เป็นบรรณาธิการ ได้รวบรวมบทความ ๑๕ บทความ เขียนโดยบุคคลซ่งม ี

ประสบการณ์เคยท�างานให้กับรัฐบาลในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ข้อเขียนเหล่านั้นได้อธิบายว่าใน
โลกความเป็นจริงแล้ว นักบริหารงานของรัฐมีบทบาทเป็นนักการเมือง ภาพพจน์ท่ว่าการบริหารแยก



จากการเมืองน้น ไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริง อันท่จริงการเปล่ยนแปลงด้านงบประมาณ และด้าน

บริหารงานบุคคลในองค์การของรัฐ เป็นเรื่องที่มีการเมืองพัวพันอย่างใกล้ชิดทั้งสิ้น
สาระของทฤษฎีการบริหารคือการเมืองคือ การยอมรับถึงความสัมพันธ์ ระหว่างการเมือง
และการบริหาร อีกทั้งยังมีความขัดแย้งทั้งภายในและภายนอกองค์การอัน จะส่งผลทางการบริหาร
และจะต้องพยายามขจัดความขัดแย้งเหล่าน้ด้วยวิธีการเจรจาต่อรอง หรือประนีประนอมกันโดย

สันติวิธีจากกลุ่มหรือฝายต่าง ๆ ตามกระบวนการทางการเมือง อย่างมีกติกาตามครรลองของ
ประชาธิปไตย แต่ทฤษฎีนี้ยังไม่มีผู้น�ามาศึกษาวิจัยเชิง ประจักษ์กันอย่างแพร่หลายเท่าที่ควร และ














ถงแมวาจะมการศกษาวจยเชงประจกษกนบาง ก เปนแคกรณศกษา (idiographic) เทานน ถอยแถลง







ที่มีลักษณะเป็นจริงโดยทั่ว ๆ ไป (Generalizations) ที่ได้จากการศึกษาเหล่านี้จึงยังมีความแกร่ง
อยู่ในระดับต่า ยังไม่เพียงพอท่จะส่งสมองค์ความรู้ทางด้านน้มากนัก อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันน้นัก





รัฐประศาสนศาสตร์ เร่มจะน�าเอาแบบจ�าลองน้มาวิจัยกันมากข้น ดังจะเห็นได้จากทฤษฎีระบบ



ทฤษฎีระบบย่อย และทฤษฎีการเมือง เศรษฐกิจขององค์การรัฐบาล
�������������������.indd 67 11/23/19 1:35 PM

68
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๓.๔.๒ ระบบราชการแบบไม่เปนทางการ (Informal Bureaucracy)
แนวการศึกษาระบบราชการแบบไม่เป็นทางการ เป็นความคิดของ นักวิชาการหลายท่านที่





ท้าทายข้อเสนอของเวเบอร์ เกยวกับความมประสทธภาพสูงสุดของ ระบบราชการในอดมคต ิ








นกวชาการเหล่านไดทาการศึกษากรณเฉพาะเรอง เพ่อแสดงใหเหนว่าความจรงแลวองคการทดาเนน













การจัดองค์การตามแบบระบบราชการ ไม่จ�าเป็นเสมอ ไปว่าต้องเป็นองค์การท่มีประสิทธิภาพสูงสุด



อันท่จริงแล้ว ปัจจัยส�าคัญย่งในการก�าหนด ความส�าเร็จขององค์การไม่ได้อยู่ท่การจัดโครงสร้าง
องค์การให้ตรงกับลักษณะระบบราชการ แบบ เวเบอร์แต่กลับขึ้นอยู่กับความสามารถขององค์การ











ในการควบคมพฤตกรรมของสมาชกองคการ และขนอยกบลกษณะความสมพนธแบบไมเปนทางการ




ภายในองค์การ มากกว่าบางครั้งการอาศัยรูปแบบระบบราชการเป็นเกณฑ์ในการท�างาน อาจมีผล

ท�าให้ องค์การไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย แต่กลับหันเหทิศทางองค์การไปในทางท่เบ่ยงเบนจาก



เป้าหมายเดิมขององค์การได้ เกิดสภาวะท่เรียกว่า “ท�างานท่ผิดเป้าหมายเดิม” ท�าให้องค์การ
นั้นมีประสิทธิภาพต�่าลงๆ เข้าลักษณะที่ว่าองค์การนั้นปฏิบัติงานผิดหน้าที่ คือมิได้ด�าเนิน กิจกรรม
ต่าง ๆ ไปตามที่ควรจะด�าเนินการเพื่อประสิทธิผลสูงสุดตามเป้าหมายขององค์การหรือเข้าลักษณะ





ท่ว่า การปฏิบัติงานขององค์การได้ก่อให้เกิดผลท่ไม่ได้ต้งใจไว้ก่อน นักวิชาการท่ส�าคัญท่จัดอยู่ใน
แนวการศึกษาระบบราชการแบบไม่เป็นทางการนี้ เช่น โรเบิร์ท ไมเคิล (Robert Michels) โรเบิร์ฑ
เมอตัน (Robert Merton) อัลวิน กอลเนอร์ (Alvin Gouldner) เป็นต้น ในที่นี้จะอธิบายความคิด
ของนักวิชาการบางท่าน คือ โรเบิร์ท เมอตัน ได้ กล่าวถึงปรากฏการณ์ที่ องค์การเบี่ยงเบนทิศทาง


ไปจากเป้าหมายเดิมขององค์การ เป็น กรณีท่เกิดข้นภายในระดับล่างของกลไกระบบราชการมิได้

เกิดข้นในระดับสูงสุดขององค์การ เมอตันได้กล่าวว่าระบบราชการเป็นปัจจัยส�าคัญในการปันบุคลิก
ของสมาชิก ส่งเสริมให้สมาชิกขององค์การนิยมหันไปยึดถือกฎระเบียบต่าง ๆ ของระบบราชการ
มากเกินไป คือถือ ว่ากฎระเบียบต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นเป้าหมายขององค์การ แทนที่จะยึดถือว่าแท้



ท่จริงแล้ว กฎระเบียบเหล่าน้นถูกก�าหนดข้นเพ่อเป็นมรรควิธีในการบรรลุเป้าหมายขององค์การอีก

ทีหนึ่งเท่านั้น กรณีที่นักสังคมสงเคราะห์เสนอให้เด็กปัญญาอ่อนอยู่กับครอบครัวของเด็ก เพราะรัฐ
มีนโยบายไม่ต้องการท�าให้ครอบครัวแตกแยก ถึงแม้ว่าในความเป็นจริงแล้วเด็ก ปัญญาอ่อน
คนนั้นท�าให้เด็กคนอื่น ๆ ในบ้านได้รับผลกระทบไปในทางที่ไม่ดีก็ตาม เข้าลักษณะที่ว่าข้าราชการ
ยึดถือนโยบายของรัฐเป็นหลัก โดยมิได้ค�านึงถึงความต้องการและ ประโยชน์ของผู้รับบริการอย่าง
ถ่องแท้เลย ๙

จากตัวอย่างท่กล่าวมาน้นจะเห็นว่านโยบายของรัฐไม่ต้องการท�าให้ ครอบครัวแตกแยก

สิ่งนี้คือมรรควิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบสุขขึ้นได้ในสังคม ไม่ใช้เป้าหมาย แต่ผู้ปฏิบัติมักคิดว่านี้คือ
เป้าหมายต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เป็นต้น
๙ พิทยา บวรวัฒนา, รัฐประศาสนศาสตร์ทฤษฎีและแนวการศึกษา (ค.ศ. ๑๘๘๗-ค.ศ.
�������������������.indd 68 11/23/19 1:35 PM

69
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๓.๔.๓ มนุษยสัมพันธ์ (Human Relations)


นักทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ยึดถือปรัชญาความเช่อท่สวนทางกับวิทยาศาสตร์ การจัดการ กล่าว

คือ เปล่ยนความสนใจจากการพยายามปรับปรุงองค์การ โดยวิธีออกแบบ การท�างานและการวางแผน















ใหรางวลตอบแทนตามปรมาณงานททามาเปนการใหความสาคญตอความสมพนธแบบไมเปนทางการ


ของกลุ่มลูกจ้าง และการนิเทศงานของ ฝายหัวหน้าคนงาน ส�านักความคิดมนุษย์สัมพันธ์มีความเช่อ
ว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคม ซึ่งมี ความต้องการที่ไร้เหตุผลและมิได้หวังผลตอบแทนในทางเศรษฐกิจแต่












เพยงอย่างเดยว คนงานเป็นมนษย์ทมอารมณ์ ความรู้สก ความคดเหน ค่านยม ความเชอ และ




บุคลิกลักษณะ ซ่งลักษณะต่าง ๆ เหล่าน้เป็นปัจจัยท่มีผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององคการ


ท่ทฤษฎีวิทยาศาสตร์การจัดการมิไดให้ความส�าคัญต่อปัจจัยมนุษย์ ดังกล่าวเลย แนวความคิด เก่ยวกับ


ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์น้น มีแนวความคิดสองแนวทางท่ส�าคัญคือ
๑. การศึกษาความสัมพันธ์อย่างไม่เปนทางการภายในกลุ่ม (การวิเคราะห์ ระดับในกลุ่ม)
การศึกษาวิจัยของนักทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ที่ส�าคัญที่สุด ได้แก่การศึกษา ทดลองที่เรียกว่า

Hawthorne Studies (ค.ศ. ๑๙๒๗ - ๑๙๓๒) โดยกลุ่มนักวิชาการท่มีชื่อจาก คณะบริหารงานธุรกิจ
แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาดภายใต้การน�าของ เอลดัน เมโย (Elton Mayo) (ค.ศ. ๑๘๘๐ - ๑๙๔๙)

มาท�าการศึกษาทดลองการท�างานของคนงานประจ�าโรงงานไฟฟ้า ช่อ Western Electric
Company ที่ตั้งอยู่ใกล้เมืองชิคาโก เป็นเวลาติดต่อกันห้าป (ค.ศ. ๑๙๒๗ - ๑๙๓๒)
คณะผู้ศึกษาวิจัยได้แบ่งการศึกษาวิจัยออกเป็น ๓ ประเภทคือ การศึกษาสภาพในห้อง
(Room Studies) การศึกษาโดยสัมภาษณ์ (Interviewing Studies) และการศึกษาโดยสังเกตการณ์
(Observational Studies) โดยศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่เลือกศึกษาคน
งานท่มีจ�านวนประมาณ ๔,๐๐๐ คน ในโรงงาน จ�านวน ๒ กลุ่ม ซ่งท�างานอยู่ภายใต้สภาพการท�างาน


คล้ายคลึงกัน โดยได้ทดลอง เปลี่ยนแปลงระดับความสว่างของแสงไฟเฉพาะกลุ่มที่หนึ่ง ขณะที่อีก
กลุ่มหน่งได้ควบคุม ความสว่างไม่เปล่ยนแปลง ผลท่ออกมาได้สร้างความประหลาดใจให้กับเมโย





และคณะผู้ศึกษาวิจัย โดยในกลุ่มท่หนึ่งท่จะมีการเปล่ยนแปลงระดับความสว่างของแสงไฟน้น




ถงแม้ว่า คณะผู้ศกษาวจยได้บอกคนงานในกล่มทหนงล่วงหน้าว่า จะเปลยนระดบความสว่างของ













แสงไฟ แต่ในความเป็นจริงคณะผู้ศึกษาวิจัยมิได้เปล่ยน คนงานในกลุ่มท่หน่งกลับแสดงความพึง
พอใจและผลผลิตเพิ่มขึ้น
เมโยและคณะ จึงสรุปผลการศึกษาวิจัยว่า การเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญของ ประสิทธิภาพใน



การปฏิบัตหรือเหตุผลท่ท�าให้ผลผลิตเพ่มข้น มิได้เกิดจากสภาพทาง กายภาพ เช่น ระดบความสว่าง


จากแสงไฟ หรือปัจจัยอื่น เช่น เวลาหยุดพักของคนงาน เท่านั้น แต่ยังเกิดจากปัจจัยทางจิตใจ โดย

เฉพาะอย่างย่ง สภาพทางจิตใจหรือทัศนคติของ คนงานท่มีต่องานของเขาและต่อหน่วยงาน คือ

รวมตลอดทั้งความสัมพันธ์อย่างไม่เป็น ทางการของกลุ่ม หรือความต้องการด้านสังคมของคนงาน


อีกด้วย กล่าวอีกนัยหน่งก็คือ การรวมกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการของคนงาน ความต้งใจ ตลอดจน

ขวัญและก�าลังใจของคนงานท่ อยู่ในกลุ่มน้น ย่อมส่งผลต่อการปฏิบัติงานของคนงานหรือต่อผลผลิต



เหล่าน ถือได้ว่าเป็นลักษณะท่แสดงให้เห็นถึงการจัดการทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะในเร่องสร้าง


แรงจูงใจให้บุคลากร
�������������������.indd 69 11/23/19 1:35 PM

70
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

แนวคิดของเมโย มีลักษณะเด่นคือ มุ่งเน้นไปที่ “บุคคล” หรือคนงาน โดยเฉพาะปัจจัยทาง












จตใจของคนงาน เช่น สร้างแรงจงใจให้คนงานเป็นลาดบแรก เนองจาก คนงานมส่วนสาคญทสด





ททาให้งานประสบผลสาเร็จ ถงกบล้อเลยนกนว่า เป็นลกษณะทให้ ความสาคญกบคนงานโดย









ไม่ค�านึงถึงหน่วยงาน (Man Without Organization) ขณะที่ “วิธีการ” ท�างานมีความส�าคัญใน
ล�าดับรอง โดยถือว่าเป็นเพียงปัจจัยรองหรือปัจจัยประกอบ ในการท�างานอย่างหนึ่ง เช่นเดียวกับ
เคร่องจักรกลหรือวัตถุดิบ เป็นต้น วิธีการท�างาน และปัจจัยอ่น เช่น เคร่องจักร หรือวัตถุดิบ (ปัจจัยรอง)









การศกษาของเมโยผ้บรหารของหน่วยงานให้ ความสาคญกบจตใจของคนงานเป็นปัจจย


หลัก อันจะส่งผลต่อการท�างานให้ส�าเร็จอย่างมี ประสิทธิภาพ ส่วนวิธีการท�างานและปัจจัยอื่น ๆ
นั้นเน้นปัจจัยรอง ๆ เท่านั้น
จากการศึกษาทดลองของ Hawthorne พิทยา บวรวัฒนา ได้สรุปถึงความส�าคัญในแง่ท่ช่วย

ชี้ให้เห็นถึงเรื่องดังต่อไปนี้ คือ
๑) ปัจจัยด้านปทัสถานทางสังคม เป็นตัวก�าหนดปริมาณผลผลิตของ คนงานในองค์การ
หาใช่เป็นปัจจัยด้านกายภาพไม่
๒) ความคิดที่ว่าคนงานเป็นคนเห็นแก่ได้ ต้องการเงินเป็น ค่าตอบแทนมากๆ เท่านั้น
เป็นความคิดที่แคบไป ที่จริงแล้วพฤติกรรมของคนงานถูกก�าหนด โดยระบบการให้รางวัลและการ
ลงโทษซึ่งมิได้เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจเลย
๓) พฤติกรรมของคนงานถูกก�าหนดโดยความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม

๔) ผู้น�ากลุ่มท่เป็นทางการและไม่เป็นทางการไม่เหมือนกัน บ่อยคร้ง เป็นคนละคน ผู้น�า

มีบทบาทส�าคัญในการบังคับใช้และสร้างปทัสถานของกลุ่มที่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการ
๕) สนับสนุนให้มีการท�าวิจัยด้านรูปแบบผู้น�าต่าง ๆ เช่น ผู้น�า ประชาธิปไตย การติดต่อ
ระหว่างล�าดับชั้น และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เป็นตัน
สรุปได้ว่า การศึกษาวิจัยของเมโยให้ความส�าคัญกับมนุษยสัมพันธ์และ พฤติกรรมของคน
งานในการปฏิบัติงาน การเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญของประสิทธิภาพในการปฏิบัติ หรือเหตุผลที่ท�าให้
ผลผลิตเพิ่มขึ้น มิได้เกิดจากสภาพทางกายภาพหรือปัจจัยด้าน วัตถุเท่านั้น แต่ยังเกิดจากปัจจัยทาง


จิตใจอีกด้วย นอกจากน้ผลการศึกษาวิจัยที่ฮอธอร์น เป็นพ้นฐานท่ท�าให้เกิดการให้ความส�าคัญความ

สัมพันธ์ระหว่างคนงานและนายจ้าง ถ้านายจ้างผู้บริหารหรือฝายจัดการให้ความเข้าใจคนงาน
จะท�าให้คนงานเกิดความพึงพอใจและ ส่งผลให้ผลผลิตเพ่มข้น ซ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารใน



การใช้วิธีการจูงใจคนงานได้ ถูกต้อง อันจะเหมาะสมต่อประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิต
๒. การศึกษาเก่ยวกับการจูงใจและความพอใจในงานของคนงาน (การวิเคราะห์ระดับ

ปัจเจกบุคคล)


หลังจากสงครามโลกคร้งท่สอง ทฤษฎีและปรัชญาของกลุ่ม มนุษยสัมพันธ์ได้พัฒนาก้าวหน้า
ยิ่งขึ้นจากการศึกษาเรื่องการจูงใจและความพอใจในงาน ซึ่ง แนวการศึกษาแบบหลังนี้มีอิทธิพลใน
�������������������.indd 70 11/23/19 1:35 PM

71
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



วิชารัฐประศาสนศาสตร์อย่างมากจนกระท่งถึงปัจจุบัน เรียกนักทฤษฎีกลุ่มน้ว่า กลุ่มมนุษย์นิยม
ซ่งสนใจศึกษาเร่องการจูงใจและความพอใจในงาน ของคนงาน ผู้เรียบเรียงจะอธิบายถึงทฤษฎีกลุ่ม


มนุษยนิยมที่ส�าคัญดังนี้
๑) ทฤษฎีล�าดับชั้นความต้องการ (Hierarchy of Needs)
อับราอัม เอช. มาสโลร์ (Abraham H. Maslow) เป็นนักทฤษฎีมนุษยนิยมที่มีอิทธิพลต่อ
ความคิดของนักรัฐประศาสนศาสตร์มาก ในป ค.ศ. ๑๙๕๔ มาสโลวได้เสนอ “ทฤษฎีล�าดับชั้นของ


ความต้องการ” สาระส�าคัญของทฤษฎีล�าดับช้นความต้องการของมนุษย์ของมาสโลว์ สรุปได้คือ
มนุษย์ทุกคนมีความต้องการหลายอย่าง ซึ่งจัดเป็นล�าดับความส�าคัญมาก่อนมาหลังได้ ดังนี้
๑. ความต้องการทางกายภาพ เช่น ความต้องการอาหาร ต้องการการนอน การ
หายใจ และสิ่งอื่น ๆ ซึ่งจ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตอยู่ได้ ถือว่าเป็นล�าดับ ของความต้องการขั้นต�่าสุด
และขั้นแรกของมนุษย์

๒. ความต้องการทางด้านความปลอดภัย เม่อความต้องการ ทางกายภาพของมนุษย์

ใต้รับการตอบสนองแล้ว มนุษย์จะมีความต้องการล�าดับขั้นต่อไป คือ ความต้องการทางต้านความ






ปลอดภัยและความม่นคงในชวิต เช่น การท�าร้ายร่างกายและ ความมนคงทางเศรษฐกจ (อันน้ส�าคัญ
มากขึ้นทุกที ๆ) เป็นต้น
๓. ความต้องการที่จะผูกพันในสังคม เป็นความต้องการ ล�าดับขั้นสูงถัดขึ้นไปจาก
ความต้องการต้านกายภาพและความปลอดภัย หลังจากที่ความ พอใจของมนุษย์ทางต้านกายภาพ

และความปลอดภัยได้รับการตอบสนองแล้ว มนุษย์จะเกิด ความต้องการใหม่ข้นมา คือความต้องการ
ที่จะผูกพันในสังคม ซึ่งหมายถึงความต้องการของ มนุษย์ที่จะมีความอบอุ่นทางใจ โดยการเข้าไปมี
สวนรวมในกลุมสังคมตาง ๆ เชน ครอบครัว เพื่อนฝูง และเกิดความรูสึกวาตนเปนสวนหนึ่งของกลุม










เหล่านั้น

๔. ความต้องการท่จะมีฐานะเด่นและได้รับการยกย่องใน สังคม มนุษย์มีความต้องการ

ทางกายภาพ ความปลอดภัย และการผูกพันในสังคมได้รับการ สนองตอบจนเป็นท่พอใจแล้ว
จะหันไปสู่ความต้องการล�าดับที่ ๔ นี้ การจูงใจมนุษย์ที่มีความ ต้องการแบบนี้จึงจ�าเป็นต้องอาศัย

กลวิธีท่จะสามารถสนองความต้องการของมนุษย์! ล�าดับน้ให้ได้ การมีฐานะเด่นหมายถึงความต้องการ

ของมนุษย์ที่จะประสบความส�าเร็จมีความรู้ ความสามารถ และมีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง ส่วนการ
ได้รับการยกย่องในสังคมนั้น หมายถึง ความต้องการที่จะมีสถานภาพสูง และได้รับการยกย่องจาก
คนในสังคม
๕. ความต้องการที่จะประจักษ์ตน หรือตระหนักถึงความจริงในตนเองเป็นล�าดับขั้น
ของความต้องการที่สูงสุด หมายถึงความต้องการที่จะประสบ ความส�าเร็จหรือสมหวังในชีวิต อยาก


ท�าในส่งท่ตนหวังไว้ฝันไว้ซ่งเท่ากับเปิดโอกาสให้มนุษย์ สามารถสนองความต้องการของตนเท่าท่ตน


จะมีความสามารถกระท�าได้ ความต้องการขั้นนี้ ถือเป็นความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์

�������������������.indd 71 11/23/19 1:35 PM

72
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

ความต้องการของมนุษย์จัดได้เป็นล�าดับชั้น ถ้าความต้องการของมนุษย์! ล�าดับชั้นหนึ่งได้












รบการตอบสนองแลว มนษยจะเกดความตองการในลาดบชนถดขนไป และความตองการสงสดของ




มนุษย์คือความต้องการที่จะประจักษ์ตน
โดยสรุป ทฤษฎีล�าดับชั้นความต้องการของมาสโลว์มีประโยชน์ในแง่ที่ ช่วยแนะแนวทางให้


ฝายบริหารว่าควรจะใช้วิธีการจูงใจแบบไหนต่อคนงาน ท้งน้โดยค�านึงถึง ความต้องการล�าดับช้น

ต่าง ๆ ของคนงานเหล่าน้น อย่างไรก็ตาม ทฤษฏีของมาสโลวใต้รับ การวิพากษ์วิจารณ์หลายประการ

เช่น ล�าดับช้นตอนความต้องการของมาสโลว์มีจริงหรือไม่ เป็นไปได้หรือท่ความต้องการหลายประการ


จะได้รับการตอบสนองโดยพฤติกรรมเพียงคร้ง เดียว และเป็นไปได้หรือท่คนงานหลายคนจะมีความ


ต้องการเหมือนกันหมด นอกจากนี้
ทฤษฎีล�าดับชั้นความต้องการยังถูกโจมตีว่า เป็นทฤษฎีที่ขาดข้อมูลรองรับ และยังน�าไปใช้
ทดสอบกับกรณีเฉพาะเรื่องได้ยากด้วย
๒) ทฤษฎีปจจัยจูงใจ - ปจจัยสุขวิทยา (Motivation-Hygiene FactorsTheory) เฟรด
เดอริกซ์ เฮอเบิร์ก (Frederick Herzberg) เสนอทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา เนื้อหาของ

ทฤษฎีดังกล่าวคล้ายคลึงกับทฤษฎีล�าดับช้นของความต้องการของมาสโลว์ เพราะได้แบ่งประเภท
ปัจจัยต่าง ๆ ที่จะกระตุ้นให้คนขยันท�างานมากขึ้นเป็นสองพวก คือ ปัจจัยทางสุขวิทยา (Hygiene

factors) ซ่งได้แก่ นโยบายและการบริหารของบริษัท การนิเทศงานทางเทคนิคและสภาพการท�างาน


โดยท่วไป ซ่งปัจจัยดังกล่าวใกล้เคียงกับ ความคิดของมาสโลว์เก่ยวกับล�าดับช้นความต้องการช้น



ต้น ๆ ปัจจัยพวกที่สอง ได้แก่ ปัจจัย จูงใจ (Motivation factors) ซึ่งได้แก่ เรื่องการได้รับความ
ส�าเร็จในการท�างาน การได้รับการยอมรับจากคนอื่น และการมีโอกาสก้าวหน้าในงาน
สาระของทฤษฎีปัจจัยจูงใจ - ปัจจัยสุขวิทยา คือ ปัจจัยจูงใจ เท่านั้นที่สามารถสร้างความ

พอใจในงานให้กับคนงานได้ ส่วนปัจจัยสุขวิทยาน้น ไม่สามารถท�าให้คนงานพอใจในงานได้

เพียงแต่ว่าคนงานคนไหนได้รับการตอบสนองในส่วนท่เก่ยวกับปัจจัย สุขวิทยาแล้ว ก็สามารถประกัน


ได้แน่นอนว่าคนงานน้นจะไม่เกิดความไม่พอใจในงาน ส่วนการกระท�าให้คนพอใจในงานน้นต้องข้น


อยู่กับปัจจัยการจูงใจ มิได้ขึ้นอยู่กับปัจจัยสุขวิทยาเลย
๓.๓.๓ ทฤษฎีไม้แข็งไม้นวม (Theory X - Theory Y) ในราวป ค.ศ. ๑๙๕๐ นักบริหารได้
เปล่ยนความสนใจในปรัชญาการบรหารท่มีหลักเกณฑ์มาสู่หลักการในแง่ของ สังคมจิตวิทยาม่งเน้น




ในปรัชญาการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science) และให้ความส�าคัญกับตัวบุคคล
และผู้ปฏิบัติงานศาสตราจารย์ ดักลาส แม็กเกรเกอร์ (Douglas Mc Gregor) เป็นนักจิตวิทยาได้น�า
ปรัชญาการบริหารเชิงพฤติกรรมศาสตร์มาใช้กับการ บริหารงานบุคคลในองค์การ และได้ชี้ให้เห็น







ถงการทผ้บรหารจะควบคม ผู้ใต้บังคบบญชาได้อย่างมประสทธภาพได้นน ต้องทราบถงลกษณะ








พฤติกรรมของคน ความต้องการและแรงจูงใจของคนให้ถ่องแท้เสียก่อน จึงได้สรุปเป็นสมมติฐาน
เกี่ยวกับตัวคนไว้ในหนังสือ “The Human Side of Enterprise” ไว้'ว่าลักษณะของคนมีด้วยกัน
�������������������.indd 72 11/23/19 1:35 PM

73
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๒ ประเภท ประเภทแรก เป็นคน ตามแนวความคิดทฤษฎี X หรือทฤษฎีไม้แข็ง ประเภทที่สองเป็น
คนตามแนวความคิดทฤษฎี Y หรือ ทฤษฎีไม้นวม ซึ่งแนวความคิดทั้ง ๒ ทฤษฎีนี้ จะเป็นแนวคิดที่
ตรงข้ามกัน สรุป ลักษณะของคนได้ดังตารางที่ ๓.๑

ตารางที่ ๓.๑ เปรียบเทียบลักษณะของคนตามทฤษฎี X และทฤษฎี Y

ทฤษฎี X ทฤษฎี Y

- คนมักจะไม่ชอบท�างาน และจะพยายาม - คนส่วนใหญ่จะพอใจในการท�างาน
หลีกเลี่ยงงาน ให้ความร่วมมือสนับสนุน

- มีการควบคุมสั่งการอย่างใกล้ชิดจาก - ควบคุมตนเองและตัดสินใจท�างานด้วย
ผู้บังคับบัญชา ตนเอง

- ท�างานตามค�าสั่งมากกว่าใช้ความ - มีความคิดริเริ่ม อยากเช้ามีส่วนร่วมใน
คิดเห็น องค์การ

- การควบคุมต้องใช้วิธีการลงโทษอย่างรุนแรง - คนมักจะแสวงหาความรับผิดชอบและ
ปฏิบัติงานเพิ่มขึ้นและมีความสามารถใน

การแก่ไขปัญหาต่าง ๆ
- รางวัลที่ต้องการคือค่าตอบแทน - รางวัลที่ต้องการคือความส�าเร็จนั้น ๆ

จากตารางที่ ๓.๑ จะเห็นความแตกต่างของลักษณะของคนในองค์การ ซึ่งมีหลายประการ
ตามที่กล่าวมานั้น ก่อให้เกิดประโยชน์กับนักบริหารในการบริหารคนในองค์การตนเอง และได้!ช้วิธี
การจูงใจการควบคุมได้ถูกลักษณะของคนดังกล่าว คือนักบริหาร ท่มองคนในองค์การมีลักษณะตาม

ทฤษฎี X นั้นการจะจูงใจและกระตุ้นให้คนมีความ กระดือรือร้นในการท�างานได้ ต้องพยายามจัด
ระบบการจ่ายผลตอบแทนท่ยุติธรรมให้มากท่สุด ส่วนเทคนิคการจูงใจคนในองค์การตามลักษณะ


ทฤษฎี Y นั้น ต้องออกแบบลักษณะงานให้ มีความหลากหลาย ท้าทายความคิดให้โอกาสในการใช้
ดุลพินิจในงานและส่งเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างกลุ่มต่าง ๆ ในองค์การ

�������������������.indd 73 11/23/19 1:35 PM

74
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์

๔. ศาสตร์การบริหาร (administrative science)


เฮอร์เบิร์ฑ ไซมอน ในหนังสือ Administrative Behavior ต้องการเสนอความคิดเพ่อ

ประโยชน์ในการพัฒนาทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ โดยโจมตีว่าทฤษฎีหลักการบริหารน้นมีข้อบกพร่อง
หลายประการ เช่น ความขัดแย้งระหว่างหลักขอบข่ายการควบคุม และหลักล�าดับชั้น กล่าวโดยย่อ

หลักขอบข่ายการควบคุม ยึดถือหลักการท่ว่าผู้จัดการจะสามารถควบคุมลูกน้องได้ดีถ้าจ�านวนลูก
น้องมีน้อย ถ้าผู้จัดการเกิดมีจ�านวนลูกน้องมากเกิน จ�านวนท่เหมาะสม จะท�าให้ผู้จัดการควบคุมลูก

๗๘
น้องได้ยากมาก และส่งผลท�าให้องค์การมีประสิทธิภาพต่า ดังน้น การจัดการท่ดีคือ การจัดให้ผู้


จัดการมีขอบข่ายการควบคุมลูกน้อง เป็นจ�านวนน้อย หรือนั่นคือสนับสนุนให้องค์การมีโครงสร้าง
แบบสูง ดังภาพที่ ๓.๑
มีโครงสรางแบบสูง ดังภาพที่ ๓.๑

ภาพที่ ๓.๑ โครงสรางองคการจากหลักขอบขายการควบคุมอยางแคบ
ที่มา : พิทยา บวรวัฒนา. ๒๕๔๓ : ๑๐๗.


จากภาพท ๓.๑ เปนการยึดหลักขอบขายการควบคม แตถาหลักลําดบชัน




จากภาพที่ ๓.๑ เป็นการยึดหลักขอบข่ายการควบคุม แต่ถ้าหลักล�าดับชั้น สนับสนุนความ






เช่อท่ว่าย่งองค์การมีจ�านวนล�าดับช้นมากจะย่งท�าให้โอกาสท่ข้อมูลข่าวสาร การติดต่อระหว่างเบ้อง







สนับสนุนความเชื่อทวายิ่งองคการมีจํานวนลําดบชั้นมากจะยิงทําใหโอกาสท่ขอมล
บนและเบื้องล่างบิดเบือนข้อเท็จจริงได้มากยิ่งขึ้น ดังนั้น ยิ่งองค์การมี จ�านวนล�าดับชั้นน้อยลง
ขาวสาร การติดตอระหวางเบื้องบนและเบื้องลางบิดเบือนขอเทจจริงไดมากยิ่งขน ดังนั้น ย่อม
ึ้


ท�าให้โอกาสติดต่อระหว่างคนต่างล�าดับชั้นคล่องตัวมี ประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น แต่ถ้าพิจารณาในแง่ของ

ยิ่งองคการม จํานวนลําดับชั้นนอยลง ยอมทําใหโอกาสติดตอระหวางคนตางลําดับชัน


หลักล�าดับชั้นแล้ว หลักการนี้สนับสนุนให้ องค์การมีโครงสร้างแบบราบ ซึ่งความคิดนี้ตรงกันข้าม

คลองตัวมี ประสิทธิภาพ ยิ่งข้น แตถาพิจารณาในแงของหลักลําดับชั้นแลว หลักการนี

กับหลักการขอบข่ายการควบคุม ิ ั  ั 
สนับสนุนให องคการมีโครงสรางแบบราบ ซึ่งความคดนี้ตรงกนขามกบหลักการขอบขาย
การควบคุม

นอกจากนี้ปญหาอีกประการหนึ่งเก่ยวกับบริหารคือคําวา เปาหมาย

(purpose) และกระบวนการ (process) ยังมีความหมายท่สับสนคาบเก่ยวกัน

กระบวนการ เปนวิธีการท่จะทําใหบรรลุเปาหมาย แตเปาหมายเองก็มีหลายเปาหมาย


เปนลักษณะลําดบ ข้นตามความสําคญกอนหลัง เชน เราพิมพดด (กระบวนการ) เพอ







เขียนจดหมาย (เปาหมาย) เราเขยนจดหมาย (กระบวนการ) เพอสงขาว (เปาหมาย) เปน













ดน ดังนันการ กระทาอนเดยวกน (คือการพิมพดดเขยนจดหมาย) อาจเปนทงเปาหมาย

และกระบวนการ เหลานี้ เปนดน ขอบกพรองอีกประการหนึ่งของหลักการบริหาร คอ

�������������������.indd 74 11/23/19 1:35 PM
มิไดบอกแนวทางวาใน สถานการณโดควรจะจัดองคการแบบใดถึงจะด ี

ไซมอน สรุปการวิจารณปญหาของทฤษฎีหลักการบริหารวาเปนเพราะเราไป
ยึดถอวาเปนหลักการ แทนท่จะมองวาเปนแนวทางสําหรับอธิบายและแกไขสถานการณ 



บริหาร การออกแบบองคการจําตองพิจารณาวิเคราะหสถานการณบริหารทกแงมม ไมใช




75
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐประศาสนศาสตร์



นอกจากน้ปัญหาอีกประการหน่งเก่ยวกับบริหารคือค�าว่า เป้าหมาย (Purpose) และ



กระบวนการ (Process) ยังมีความหมายท่สับสนคาบเก่ยวกัน กระบวนการเป็นวิธีการท่จะท�าให้

บรรลุเป้าหมาย แต่เป้าหมายเองก็มีหลายเป้าหมายเป็นลักษณะล�าดับ ข้นตามความส�าคัญก่อนหลัง

เช่น เราพิมพ์ดีด (กระบวนการ) เพื่อเขียนจดหมาย (เป้าหมาย) เราเขียนจดหมาย (กระบวนการ)


เพ่อส่งข่าว (เป้าหมาย) เป็นต้น ดังน้นการกระท�าอันเดียวกัน (คือการพิมพ์ดีดเขียนจดหมาย)



อาจเป็นท้งเป้าหมายและกระบวนการเหล่าน้ เป็นต้น ข้อบกพร่องอีกประการหน่งของหลักการ
บริหาร คือมิได้บอกแนวทางว่าใน สถานการณ์โดควรจะจัดองค์การแบบใดถึงจะดี
ไซมอน สรุปการวิจารณ์ปัญหาของทฤษฎีหลักการบริหารว่าเป็นเพราะเราไป ยึดถือว่าเป็น
หลักการ แทนท่จะมองว่าเป็นแนวทางส�าหรับอธิบายและแก้ไขสถานการณ์ บริหารการออกแบบ

องค์การจ�าต้องพิจารณาวิเคราะห์สถานการณ์บริหารทุกแง่มุม ไม่ใช่ดู แต่แง่มุมเดียว และหาวิธีการ
ช่งน้าหนักว่าแง่มุมใดส�าคัญกว่ากันในกรณีท่เกิดความขัดแย้งกันข้น ดังน้น ถ้าว่าไปแล้วหัวใจทฤษฎ ี





การบริหารอยู่ตรงพรมแดนระหว่าง ส่วนท่มีเหตุผลและส่วนท่ไม่มีเหตุผลของมนุษย์ ทฤษฎีการ


บริหารเป็นเรื่องของการพยายามมีเหตุผลมากที่สุด (Intended Rationality) และข้อจ�ากัดที่ท�าให้
มนุษย์ไม่สามารถมีเหตุผลได้ท่สุด (Bounded Rationality) ท�าให้มนุษย์ต้องแสวงหาความพอใจ

แทนการแสวงหาการให้ได้อะไรมากท่สุด ด้วยเหตุน้เองมนุษย์จึงไม่ใช่บุคคลเศรษฐกิจ แต่เป็นนัก





บริหาร (Administrative Man) ท่มีความสามารถท่จ�ากัด ต้งหน้าต้งตาท�างานให้ได้ดีเท่าท่จะกระท�า



ได้ไซมอน เข้าใจดีว่า การตัดสินใจแบบมีเหตุผลน้น เป็นเร่องในอุดมคติ หาดูได้ยากในโลกความเป็นจริง

การตัดสินใจ อย่างมีเหตุผลหมายถึง การที่ผู้ตัดสินใจมีระบบค่านิยม ซึ่งสามารถท�าการประเมินผล
แนวทางต่าง ๆ ได้ว่าแนวทางใดจะส่งผลอย่างไร ผู้ตัดสินใจนโยบายจะเลือกแนวทางซึ่งจะ สามารถ




ก่อใหเกดผลตามทปรารถนาไวได้มากทสุด โดยสรุปแล้วองค์ประกอบของการตดสินใจ แบบมเหตุผล





มากที่สุด คือ ผู้ตัดสินใจต้องสามารถจัดล�าดับความส�าคัญของเป้าหมายต่างๆ ที่ต้องการจะบรรลุได้
ว่าเป้าหมายใดส�าคัญกว่าเป้าหมายใดอย่างแน่ชัดแจ่มแจ้ง ผู้ดัดสินใจ ต้องรู้แนวทางปฏิบัติ (Alter-
native Strategies) ทุกแนวทางอย่างถ่องแท้ว่า แต่ละแนวทางจะส่งผล (Consequences) อย่างไร
บ้างต่อการบรรลุเป้าหมาย และผู้ตัดสินใจต้องมีความรู้ (knowledge) และมีความสามารถในทาง
จิตวิทยา (Psychologically Capable) ที่จะเลือกแนวทางที่มีประสิทธิภาพสูงดีที่สุด เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายที่ต้องการมากที่สุด
แต่ในทางปฏิบัติ ไซมอน มีความเห็นว่าการตัดสินใจมิได้ด�าเนินการไปอย่างมีเหตุมีผลสมบูรณ์
แบบเพราะผู้ตัดสินใจขาดความรู้ที่สมบูรณ์ เช่น ไม่รู้แน่นอนว่าการตัดสินใจ แต่ละแนวทางจะก่อให้
เกิดผลอะไรกันแน่ มนุษย์ทั่วไปไม่มีความสามารถที่จะคาดการณ์ได้ว่า การตัดสินใจแต่ละครั้งจะน�า
มาซึ่งความพอใจแค่ไหนในอนาคต ผู้ตัดสินใจไม่สามารถหยั่งรู้ถึง แนวทางปฏิบัติไปได้ทุกแนวทาง

ในโลกความเป็นจริง ผู้ตัดสินใจไม่สามารถตัดสินใจอย่างมี เหตุผลท่สุด เพ่อให้เกิดประสิทธิภาพ

สูงสุด ซึ่งจะท�าให้เขาสามารถได้ประโยชน์สูงสุด (Maximize) ในทางปฏิบัติ การตัดสินใจเพียงแค่


ท�าให้เขาพอใจ (Satisfice) อยู่บ้างเท่าน้น เพราะเขาได้ตัดสินใจไปดีท่สุดเท่าท่จะท�าได้ กล่าวอีกนัยหน่ง


หัวใจทฤษฎีการบริหารจึงอยู่ ตรงพฤติกรรมที่มีเหตุผลและไม่มีเหตุผลของมนุษย์นี้เอง

�������������������.indd 75 11/23/19 1:35 PM

ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มีใครบ้าง

ระบบการราชการ Max Weber วิทยาศาสตรการจัดการ Elton Mayo ทฤษฎีลําดับขั้นของความตองการ Abraham H. Maslow ทฤษฏีปจจัยจูงใจ –ปจจัยสุขวิทยา Fred W. Riggs รัฐประศาสนศาสตรในความหมาย ใหม John Rehfuss & Allen Schick Thomas R. Dye Ira Sharkansky ทฤษฎีระบบ David Easton Frederick W. Taylor ความคิดหลักการบริหารแบบ วิทยาศาสตร ...

ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์มีกี่ทฤษฎี

1. ทฤษฎีดั้งเดิม (1887-1950) 2. ทฤษฎีท้าทาย (1950-1960) หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2. 3. ทฤษฎี รัฐประศาสนศาสตร์ สมัยใหม่ 1960-1970 4. ระบบทฤษฎี รัฐประศาสน ศาสตร์สมัยปัจจุบัน 1970-ปัจจุบัน

รัฐประศาสนศาสตร์มีกี่มุมมอง

รัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์รวมของสาขาวิชาต่างๆที่เกี่ยวกับการบริหารรัฐ ซึ่งประกอบด้วยหลักใหญ่ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ทรัพยากรมนุษย์(Human resource)2. ทฤษฏีองค์การ(organizational theory) 3. นโยบาย(policy) 4. การ วิเคราะห์ (analysis) 5. สถิติ(statistics) 6. การงบประมาณ(budgeting) และ 7. หลักศีลธรรม(ethics)

มุมมองการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์คืออะไร

รัฐประศาสนศาสตร์(Public Administration) เป็นศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการบริหารหาร งานของภาครัฐ ที่มีความเกี่ยวข้องกับสาธารณกิจ (Public Affairs) ซึ่งเป็นการด าเนินกิจกรรมในมิติต่าง ๆ ของ ภาครัฐ อันส่งผลกระทบกับประชาชนหรือส่วนรวม ในภายหลังเรียกได้ว่าเป็นการบริหารรัฐกิจ (public administration) เพื่ออธิบาย ...