เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ICSPFT

                       

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
สมรรถภาพทางกาย ที่ดีเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต และประกอบภารกิจประจำวันหรือออกกำลังกาย เล่นกีฬาได้อย่างมีประสิทธิภาพ การที่จะทำให้ร่างกายมีสมรรถภาพที่ดีได้นั้น ต้องอาศัยการออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาเป็นประจำสม่ำเสมอ  นอกจากนั้นควรมีโภชนาการที่ดีด้วย

                       

          การทดสอบสมรรถภาพทางกาย เป็นวิธีที่จะบ่งบอกถึงสภาพความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายหรือการมีสมรรถภาพทางกายแต่ละด้านดีมากน้อยเพียงใด ในปี ค.ศ.1964 (พ.ศ.2507) ที่นครโตเกียว ในระหว่างที่มีการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกครั้งที่ 19 ได้มีการตั้งคณะกรรมการนานาชาติ   เพื่อจัดมาตรฐานการทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย (ICSPFT : International Committee for Standardization of Physical  Fitness  Test)        เพื่อทำการศึกษาหาแบบทดสอบความสมบูรณ์ทางกายที่จะใช้เป็นมาตรฐานทั่วโลก คือ ทั่วโลกมีการทดสอบไปในแนวเดียวกัน  เพื่อจะได้นำมาเปรียบเทียบกันระหว่างชาติต่าง ๆ ได้ ซึ่งในสมัยนั้นมี ศ.นพ.อวย  เกตุสิงห์  เป็นกรรมการร่วมอยู่ด้วย  ซึ่งคณะกรรมการชุดนี้ได้ศึกษาวิจัยรวบรวมข้อมูลนาน 8 ปี จึงได้นำข้อยุติของการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เป็นมาตรฐานออกมาใช้ ในปี ค.ศ.1972 (พ.ศ.2515) ได้นำไปทดสอบทั่วโลก โดยถือเป็นการทดสอบสมรรถภาพทางกายพื้นฐาน (Basic physical performance) จากกิจกรรมของคณะกรรมมีการศึกษาวิจัยมากมาย และมีการรวมกันเป็นกลุ่ม  จึงมีความคิดเห็นร่วมกันว่าควรร่วมมือวิจัยกันอย่างต่อเนื่อง มีการเปลี่ยนชื่อคณะกรรมการภายหลังเป็นคณะกรรมการนานาชาติเพื่อวิจัยความสมบูรณ์ทางกาย (ICPFR : International Committee on Physical Fitness Research)

                        สำหรับประเทศไทยการทดสอบแบบ ICSPFT ได้ทำการทดสอบครั้งแรกประมาณปี พ.ศ.2515 โดยช่วงแรกทำการทดสอบที่โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย และโรงเรียนสวนบัว รวมทั้งทำการทดสอบในนักกีฬาไทยด้วย  ซึ่งวิธีการดังกล่าวถูกนำมาใช้ทดสอบและประเมินสมรรถภาพทางกาย เด็ก เยาวชน และประชาชนอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้ เพราะวิธีการ อุปกรณ์ทดสอบ ไม่ยุ่งยาก สามารถทำได้กับกลุ่มคนเป็นจำนวนมาก แต่มีข้อจำกัด คือ ควรทดสอบในคนที่มีสุขภาพดี อายุระหว่าง 6-32 ปี ( ICSPFT การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2543. )

ICSPFT ได้จำแนกสมรรถภาพทางกายพื้นฐานออกเป็น 7 ประเภท คือ

ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่สามารถทำงาน หรือเคลื่อนที่ซ้ำ ๆ กัน ได้อย่างรวดเร็ว

2.           

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
พลังกล้ามเนื้อ  (Muscle power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่หดตัวได้แรง และทำให้วัตถุหรือร่างกายเคลื่อนที่ออกไปเป็นระยะทางมากที่สุดภายในเวลาจำกัด

3.            ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ (Muscle strength)หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่หดตัว เพื่อเคลื่อนที่น้ำหนักหรือต้านน้ำหนักเพียงครั้งเดียวโดยไม่จำกัดเวลา

4.            ความอดทนของกล้ามเนื้อ (Muscle endurance) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเนื้อที่ทำงานได้นาน โดยไม่เสื่อมประสิทธิภาพ

5.            ความแคล่วคล่องว่องไว (Agility)< หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการควบคุมการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็วและตรงเป้าหมาย

ความอ่อนตัว (Flexibility) >หมายถึง ความสามารถของร่างกายในการเคลื่อนไหวให้ได้มุมของการเคลื่อนไหวอย่างเต็มที่ของข้อต่อแต่ละข้อ

            ความอดทนทั่วไป (General endurance)> หมายถึง ความสามารถของระบบหายใจและไหลเวียนเลือดที่ทำงานได้นานต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ร่างกายมีการเคลื่อนไหวหรือเคลื่อนที่

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
การทดสอบสมรรถภาพทางกาย พื้นฐานตามแบบของคณะกรรมการนานาชาติเพื่อจัดมาตรฐาน

การทดสอบความสมบูรณ์ทางกาย(ICSPFT)

แบบทดสอบ

วิ่งเร็ว 50 เมตร

2.ยืนกระโดดไกล

3.แรงบีบมือ

4.ลุก-นั่ง 30 วินาที

5            ก. ดึงข้อ (ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

ข. งอแขนห้อยตัว (ชายอายุต่ำกว่า 12 ปี และหญิงทุกอายุ)

6.'>วิ่งเก็บของ

7.            ความอ่อนตัว

8.           

วิ่งระยะไกล ชายอายุ 12 ปีขึ้นไป

หญิงอายุ 12 ปีขึ้นไป ระยะ 800 เมตร

ชายและหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี ระยะ

แบบทดสอบเหล่านี้ใช้กับบุคคลชายหญิง อายุระหว่าง 6 ถึง 32 ปี ผู้รับการทดสอบต้องมีสุขภาพดีให้ความร่วมมือและตั้งใจปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ

                        ควรแบ่งการทดสอบเป็น 2 วัน หรือวันเดียว 2 ระยะ ในตอนเช้าและตอนบ่าย ถ้าแบ่งเป็น 2 วัน วันแรกทำแบบทดสอบ 1, 2, 8  วันที่ 2 ทำแบบทดสอบที่ 3, 4, 5, 6, 7 แต่ถ้าเป็นการทดสอบวันเดียวต้องทดสอบเรียงตามลำดับ

                        ผู้รับการทดสอบต้องแต่งกายให้เหมาะสม และควรมีการอบอุ่นร่างกาย ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ (กางเกงกีฬาขาสั้น เสื้อยืดแขนสั้นหรือเสื้อกล้าม สวมรองเท้าผ้าใบหรือเท้าเปล่า ห้ามสวมรองเท้าตะปู)

การทดสอบสมรรถภาพทางกาย โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานระหว่างประเทศ (ICSPFI)

                                                การชั่งน้ำหนัก

                               การวัดส่วนสูง

            1) วิ่ง ใช้วัดความเร็ว

            ยืนกระโดดไกลใช้วัดพลังของกล้ามเนื้อขา

แรงบีบมือที่ถนัด     ใช้วัดพลังของกล้ามเนื้อแขน

                                                                            
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

            4) ลุก-นั่ง 30 วินาที      ใช้ความแข็งแรงและความทนทานของ

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
กล้ามเนื้อหน้าท้อง

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

            5) ดึงข้อราวเดี่ยว                     ใช้วัดความแข็งแรงและความทนทานของกล้ามเนื้อแขนและไหล่

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

6.วิ่งเก็บของ  ใช้วัดความว่องไวในการวิ่งกลับตัวระยะทาง 10 เมตร

นั่งงอตัวข้างหน้า  ใช้วัดความอ่อนตัวหรือความยืดหยุ่นของ

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
ข้อต่อ

8. วิ่ง 1,000 เมตร

ใช้วัดความทนทานของระบบไหลเวียนเลือด และระบบหายใจ

1. วิ่งเร็ว 50 เมตร (50-Meter Sprint)

อุปกรณ์

                       

1.นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที

2. ลู่วิ่ง 50 เมตร มีเส้นเริ่ม และเส้นชัย

3. ธงปล่อยตัวสีแดง, นกหวีด

เจ้าหน้าที่                     ผู้ปล่อยตัว 1 คน ผู้จับเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                   เมื่อผู้ปล่อยตัวให้สัญญาณ เข้าที่ให้ผู้รับการทดสอบยืนให้ปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มย่อตัวเล็กน้อย แต่ไม่ใช่การย่อตัวในท่าออกวิ่ง) เมื่อได้ยินสัญญาณปล่อยตัว ให้ออกวิ่งเต็มที่จนผ่านเส้นชัย

การบันทึก                    จับเวลาตั้งแต่เริ่มวิ่งจนถึงเส้นชัย บันทึกผลถึงทศนิยม  ตำแหน่งของวินาที

ระเบียบการทดสอบ     ใช้สัญญาณนกหวีดในการปล่อยตัว

                                    2. อนุญาตให้วิ่งได้ 2 ครั้ง แล้วบันทึกเวลาที่ดีที่สุดไว้

                                    3. ทางวิ่งควรเรียบตรงอยู่ในภาพที่ดี  

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

ยืนกระโดดไกล (Standing Broad Jump)

อุปกรณ์

                        1. แผ่นยางกระโดดไกล มีขีดบอกระยะทาง และแท่นยืนติดแผ่นยางพร้อมเบาะรอง

            เจ้าหน้าที่                     ผู้อ่านระยะทาง 1 คน ผู้จัดท่าจุดเริ่มกระโดด 1 คน

วิธีทดสอบ                   ให้ผู้รับการทดสอบเหยียบผงปูนขาว      ด้วยส้นเท่าและยืนปลายเท้าทั้งสองชิดด้านหลังของเส้นเริ่ม เหวียงแขนทั้งสองไปข้างหลังพร้อมกับย่อเข้าและก้มตัว เมื่อได้จังหวะให้เหวี่ยงแขนไปข้างหน้าอย่างแรงพร้อมกับกระโดดด้วยเท้าทั้งสองไปข้างหน้าให้ไกลที่สุด

การบันทึก                    บันทึกระยะทางเป็นเซนติเมตร บันทึกระยะที่ไกลที่สุดจากการทดสอบ 2 ครั้ง<

ระเบียบการทดสอบ     ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกระยะทางของครั้งที่ดีที่สุด<

                                    2. ให้วัดระยะจากเส้นเริ่มไปยังรอยส้นเท้าข้างที่ใกล้ที่สุด

3. เท้าทั้งสองต้องพ้นพื้นขณะที่กระโดดออกไป

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

แรงบีบมือ (Grip Strength)

อุปกรณ์                                    เครื่องมือวัดแรงบีบมือ (Grip dynamometer)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้แนะนำและอ่านผล 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้ผู้รับการทดสอบเช็ดมือให้แห้งเพื่อกันลื่น แล้วใช้มือข้างที่ถนัดจับเครื่องวัดให้เหมาะมือที่สุด โดยข้อนิ้วที่ 2 รับน้ำหนักของเครื่องวัด (ผู้แนะนำช่วยปรับระดับเครื่องวัดให้พอเหมาะ) ยืนตรงปล่อยแขนห้อยห่างลำตัวเล็กน้อย กำมือบีบเครื่องวัดจนสุดแรง ระหว่างบีบห้ามไม่ให้มือหรือเครื่องวัดถูกส่วนหนึ่งส่วนใดของลำตัว และห้ามเหวี่ยงเครื่องโถมตัวอัดแรง ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง

การบันทึก                                บันทึกผลการวัดเป็นกิโลกรัม บันทึกค่ามากที่สุด ความละเอียดถึง 0.5 กิโลกรัม

ระเบียบการทดสอบ                 อ่านผลจากมือที่ถนัด

                                                2. ให้ทำการทดสอบ 2 ครั้ง บันทึกผลครั้งที่ดีที่สุด

                                                3. ระหว่างทดสอบห้ามไม่ให้มือหรือเครื่องมือวัดถูกร่างกาย และไม่อนุญาตให้เหวี่ยงหรือกระโจนโถมตัวไปข้างหน้า

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (30-Second Sit-Ups)

            อุปกรณ์                                    1. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

                                                           เบาะยูโดหรือที่นอน<

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและจับเวลา 1 คน ผู้นับจำนวนครั้ง 1 คน

วิธีทดสอบ                               จัดผู้รับการทดสอบเป็นคู่ ให้ผู้เข้ารับการทดสอบคนแรกนอนหงายบนเบาะ เข่างอตั้งเป็นมุมฉาก ปลายเท้าแยกห่างกันประมาณ 30 ซม. ประสานนิ้วมือรองท้ายทอยไว้ ผู้ทดสอบคนที่ 2 คุกเข่าที่ปลายเท้าของผู้รับการทดสอบ (หันหน้าเข้าหากัน) มือทั้งสองกำและกดข้อเท้าของผู้รับการทดสอบไว้ให้หลังติดพื้น เมื่อผู้ให้สัญญาณบอก “เริ่ม” พร้อมเริ่มจับเวลา ผู้รับการทดสอบลุกขึ้นนั่ง ก้นและเท้าติดพื้น ให้ศอกทั้งสองแตะเข่าทั้งสอง แล้วกลับนอนลงในท่าเดิมจนนิ้วจรดเบาะ จึงกลับลุกนั่งขึ้นใหม่ ทำเช่นนี้ติดต่อกันไปอย่างรวดเร็วจนครบ 30 วินาที

ข้อควรระวัง นิ้วมือต้องประสานที่ท้ายทอยตลอดเวลา เข่างอเป็นมุมฉาก ขณะนอนลงหลังจากลุกนั่งแล้ว หลังและคอต้องกลับไปอยู่ที่ตั้งต้น

การบันทึก                                บันทึกจำนวนครั้งที่ทำถูกต้องใน 30 วินาที

ระเบียบการทดสอบ                 ผู้ทดสอบร้องให้นิ้วมือทั้งสองสอดประสานกันอยู่ที่

    ท้ายทอยตลอดเวลาในการทดสอบ

2. เข่าอยู่ในท่างอเป็นมุมฉากตลอดการทดสอบ

3. หลังและคอจะต้องกลับไปอยู่ในตำแหน่งที่เริ่มต้นทุกครั้ง

    โดยให้หลังมือสัมผัสพื้น

4. ไม่อนุญาตให้เด้งตัวขึ้นโดยใช้ศอกดันพื้น

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

5. ความแข็งแรงและอดทนของกล้ามเนื้อ

    ก. ดึงข้อ (Pull-Ups)                         สำหรับชายอายุ  12  ปีขึ้นไป

            อุปกรณ์                                    1. ราวเดี่ยวเลื่อนระดับได้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่าทอประปาขนาด

                                                            2. ม้าสำหรับรองเท้าเวลายืนขึ้นจับราว                       

                                                            3. ผ้าเช็ดมือ                            

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและนับจำนวนครั้ง 1 คน

วิธีทดสอบ                              จัดระดับราวเดี่ยวให้สูงพอเหมาะสม เมื่อผู้รับการทดสอบห้อยตัวจนสุดแล้วเท้าไม่ถึงพื้น ให้ผู้รับการทดสอบขึ้นยืนบนม้ารอง จับราวในท่าคว่ำมือห่างกันเท่าช่วงไหล่ เอาม้ารองออกแล้วให้รับการทดสอบปล่อยตัวจนแขน ลำตัวและขาเหยียดตรงเป็นท่าตั้งต้น ออกแรงงอแขนดึงตัวขึ้นจนคางพ้นราว แล้วหย่อนตัวลงกลับมาในท่าตั้งต้น งอแขนดึงตัวขึ้นมาใหม่ ทำให้ได้มากครั้งที่สุด ห้ามแกว่งเท้าหรือเตะขา ถ้าหยุดพักระหว่างครั้งนานเกินกว่า 3-4 วินาที หรือไม่สามารถดึงขึ้นให้คางพ้นราวได้ 2 ครั้งติดกัน ให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก                                บันทึกจำนวนครั้งที่ดึงขึ้นได้อย่างถูกต้องและคางพ้นราว

ระเบียบการทดสอบ                 ถ้าผู้รับการทดสอบหยุดพักนานเกินไป หรือไม่สามารถดึงข้อมือให้คางพ้นราวติดกัน 2 ครั้ง ให้ยุติการทดสอบ

                                               
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

  ข. งอแขนห้อยตัว (Flexed-Arm Hang) สำหรับชายอายุต่ำกว่า 12 ปี และหญิง

            อุปกรณ์                                    เหมือนข้อ ก. และนาฬิกาจับเวลา 1 เรือน                               

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้จัดและจับเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                               จัดม้าที่ใช้รองเท้าให้สูงพอที่เมื่อผู้รับการทดสอบยืนตรงบนม้า คางจะอยู่เหนือราวเล็กน้อย ผู้รับการทดสอบจับราวด้วยท่าคว่ำมือ มือห่างกันเท่าช่วงไหล่และแขนงอเต็มที่ เมื่อให้สัญญาณ เริ่ม (พร้อมกับเอาม้าออก) ผู้รับการทดสอบต้องเกร็งข้อแขน และดึงตัวไว้ในท่าเดิมให้นานที่สุด ถ้าคางต่ำลงถึงราวให้ยุติการทดสอบ

การบันทึก                                บันทึกเวลาเป็นวินาทีจาก เริ่ม จนคางต่ำลงกว่าราว

ระเบียบการทดสอบ                 1. ค้างต้องอยู่เหนือราวหรือไม้พาด แต่ถ้าคางลงไปติดราวหรือต่ำกว่าราวให้ยุติการทดสอบ

                                                2. เท้าต้องไม่สัมผัสกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

วิ่งเก็บของ (Shuttle Run)

            อุปกรณ์                                    1. นาฬิกาจับเวลาอ่านละเอียด 1/100 วินาที   

ทางวิ่งเรียบระหว่างเส้นขนาน 2 เส้นห่างกัน10 เมตร   ชิดด้านนอกของเส้นทั้งสองมีวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 ซม. (หรือสี่เหลี่ยมจัตุรัส 50 ซม.) ถัดออกไปจากเส้นเริ่มควรมีทางให้วิ่งต่อไปได้อีกอย่างน้อย 10 เมตร

3. ท่อนไม้ 2 ท่อน (3 x 3 x5 ซม.หรือ <>(5 x 5 x10 ซม.)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้ปล่อยตัวและจับเวลา 1 คน  ผู้วางไม้ 1 คน

วิธีทดสอบ                               >วางไม้ทั้งสองท่อนกลางวง (ห่างกันประมาณ 20 ซม. ) ที่ชิดเส้นตรงข้ามเส้นเริ่มผู้รับการทดสอบยืนให้เท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่ม เมื่อพร้อมแล้วผู้ปล่อยตัวส่ง “ไป”ให้ผู้รับการทดสอบวิ่งไปหยิบท่อนไม้ในวงกลม 1 ท่อน วิ่งกลับมาวางไว้ในวงกลมหลังเส้นเริ่ม กลับตัววิ่งไปหยิบท่อนไม้อีกท่อนหนึ่ง แล้ววิ่งกลับมาวางในวงกลมหลังเส้นเริ่มแล้ววิ่งเลยไป ห้ามโยนท่อนไม้ ถ้าวางไม่เข้าในวงต้องเริ่มใหม่

การบันทึก                                บันทึกเวลาตั้งแต่ “ lไป” จนถึงวางท่อนไม้ท่อนที่ 2 อย่างถูกต้อง ละเอียดถึงทศนิยม 2 ตำแหน่งของวินาที ให้ทดสอบ 2 ครั้ง เอาเวลาที่ดีที่สุด

ระเบียบการทดสอบ                 ให้มีผู้ช่วยทดสอบ ดูแลว่าผู้รับการทดสอบได้วางท่อนไม้ลงในวงกลมหรือสี่เหลี่ยมจัตุรัสถูกต้องหรือไม้ และทางที่วิ่งต้องเป็นพื้นเรียบและอยู่ในสภาพที่ไม่ลื่น

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

7. ความอ่อนตัว (Flexibility)

            อุปกรณ์                                    1. เครื่องมือวัดความอ่อนตัว 1 ตัว สามารถอ่านค่า (+) และลบ (-)     

2. เสื่อหรือพรม หรือกระดานสำหรับรองพื้นนั่ง

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้วัดระยะและบันทึก 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้า นั่งเหยียดขาตรงสอดเท้าเข้าใต้ม้าวัดโดยเท้าทั้งสองตั้งฉากกับพื้นและชิดกัน ฝ่าเท้าจรดแนบกับที่ยันเท้า เหยียดแขนตรงขนานกับพื้นแล้วค่อย ๆ ก้มตัวไปข้างหน้าให้มืออยู่บนม้าวัด จนไม่สามารถก้มตัวได้ต่อไป ให้ปลายนิ้วมือเสมอกัน และรักษาระยะทางไว้ได้ 2 วินาทีขึ้นไป อ่านระยะจากจุด 0 ถึงปลายมือ (ห้ามโยกตัวหรืองอตัวแรง ๆ)

การบันทึก                                บันทึกระยะเป็นเซนติเมตร ถ้าปลายนิ้วเลยปลายเท้าบันทึกค่าเป็น + ถ้าไม่ถึงปลายเท้าค่าเป็น ใช้ค่าที่ดีกว่าจากการทดสอบ 2 ครั้ง

ระเบียบการทดสอบ                 1. ให้ผู้รับการทดสอบถอดรองเท้าก่อนทำการทดสอบ

                                                2. เข่าตึงเสมอกันไม่งอ และเอียงแขนใดแขนหนึ่งไม่ได้ ให้มือทั้งสองเสมอกัน

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

8. วิ่งระยะไกล (Distance Run)

            อุปกรณ์                                    1. สนามวิ่ง วัดระยะทางให้ถูกต้อง

                                                                ชายอายุ        12  ปีขึ้นไป     1,000  เมตร

                                                                หญิงอายุ      12  ปีขึ้นไป        800  เมตร

                                                                ชายและหญิงอายุต่ำกว่า 12 ปี            600  เมตร

                                                            2. นาฬิกาจับเวลา 1 เรือน

                                                            3. เบอร์ติดเสื้อ 1-20 (ถ้ามีผู้วิ่งหลายคน)

            เจ้าหน้าที่                                 ผู้ปล่อยตัวและผู้จับเวลา 1 คน ผู้บันทึกตำแหน่งและเวลา 1 คน

วิธีทดสอบ                               ให้สัญญาณ เข้าที่ ผู้รับการทดสอบยืนปลายเท้าข้างใดข้างหนึ่งชิดเส้นเริ่มเมื่อให้สัญญาณ ไป ให้ออกวิ่งไปตามเส้นทางที่กำหนด พยายามใช้เวลาน้อยที่สุด และควรรักษาความเร็วให้คงที่ ถ้าไปไม่ไหวอาจหยุดเดินแล้ววิ่งต่อไปจนครบระยะทางผู้จับเวลาจะขานเวลาผู้ที่วิ่งถึงเส้นชัยทีละคน ให้ผู้บันทึกเวลาบันทึกไว้  ผู้ช่วยผู้บันทึกจะจดหมายเลขผู้รับการทดสอบที่เข้าถึงสั้นชัยเรียงตามลำดับ

การบันทึก                                บันทึกเวลาละเอียดถึงจุดทศนิยม 2 ตำแหน่งของวินาที

ระเบียบการทดสอบ                 เส้นทางที่ใช้ในการวิ่งควรเป็นพื้นเรียบและอยู่ในสภาพดี

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *
เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

ตารางที่ 1  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 13 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.77 ลงมา

7.78-8.31

8.32-9.38

9.39-9.91

9.92 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

196 ขึ้นไป

185-195

163-184

152-162

151 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

30.8 ขึ้นไป

27.6-30.7

20.9-27.5

17.6-20.8

17.5 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

28 ขึ้นไป

26-27

20-25

18-19

17 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

7

6

2-5

1

0

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.97 ลงมา

10.98-11.48

11.49-12.50

12.51-13.01

13.02 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

11.6 ขึ้นไป

9.1-11.5

3.9-9.0

1.3-3.9

1.2 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.33 ลงมา

4.34-5.00

5.01-5.57

5.58-6.25

6.26 ขึ้นไป

ตารางที่ 2  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 14 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.39 ลงมา

7.40-7.94

7.95-9.05

9.06-9.60

9.61 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

207 ขึ้นไป

195-206

171-194

159-170

158 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

36.8 ขึ้นไป

33.2-36.7

25.9-33.1

22.3-25.8

22.2 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

28 ขึ้นไป

26-27

21-25

19-20

18 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

8 ขึ้นไป

7

3-6

2

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.85 ลงมา

10.86-11.34

11.35-12.33

12.34-12.82

12.83 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

13.1 ขึ้นไป

10.3-13.0

4.6-10.2

1.8-4.5

1.7 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.21 ลงมา

4.22-4.48

4.49-5.42

5.43-6.08

6.09 ขึ้นไป

ตารางที่ 3  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 15 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

7.10 ลงมา

7.11-7.64

7.65-8.72

8.73-9.25

9.26 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

221 ขึ้นไป

208-220

183-207

170-182

169 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

41.0 ขึ้นไป

37.4-40.9

30.3-37.3

26.8-30.2

26.7 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

29 ขึ้นไป

27-28

22-26

20-21

19 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

9 ขึ้นไป

8

4-7

2-3

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.55 ลงมา

10.56-11.03

11.04-12.00

12.01-12.48

12.49 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

14.7 ขึ้นไป

11.09-14.6

6.0-11.8

3.1-5.9

3.0 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.15 ลงมา

4.16-4.40

4.41-5.32

5.33-5.57

5.58 ขึ้นไป

ตารางที่ 4  เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรียนชาย อายุ 16 ปี รวมทั่วประเทศ

รายการ

ดีมาก

ดี

ปานกลาง

ต่ำ

ต่ำมาก

1. วิ่ง 50 เมตร (วินาที)

6.68 ลงมา

6.69-7.32

7.33-8.61

8.62-9.25

9.26 ขึ้นไป

2. ยืนกระโดดไกล (ซม.)

228 ขึ้นไป

216-227

192-215

180-191

179 ลงมา

3. แรงบีบมือที่ถนัด (กก.)

43.5 ขึ้นไป

40.2-43.4

33.7-40.1

30.5-33.6

30.4 ลงมา

4. ลุก-นั่ง 30 วินาที (ครั้ง)

29 ขึ้นไป

27-28

22-26

20-21

19 ลงมา

5. ดึงข้อราวเดี่ยว (ครั้ง)

9 ขึ้นไป

7-8

4-6

2-3

1 ลงมา

6. วิ่งเก็บของ (วินาที)

10.27 ลงมา

10.28-10.82

10.83-11.86

11.87-12.38

12.39 ขึ้นไป

7. งอตัวข้างหน้า (ซม.)

16.5 ขึ้นไป

13.5-16.0

6.0-13.0

3.0-5.5

2.5 ลงมา

8. วิ่ง 1,000 เมตร (นาที:วินาที)

4.14 ลงมา

4.15-4.40

4.41-5.33

5.34-5.59

6.00 ขึ้นไป

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *

          1. http://www.youtube.com/watch?v=Wc7RGg6-1m8

          2.  http://www.youtube.com/watch?v=b_yUmj78X8c

เหตุใดจึงควรตรวจสุขภาพก่อนทำการวัดระดับสมรรถภาพทางกาย *