ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

วินโดวส์ 1.0 เป็นสภาวะการทำงานรุ่นแรกของวินโดวส์ เปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2528 มีสภาวะการทำงานแบบ 16 บิต ที่เรียกว่า สภาวะการทำงาน (Operating Environments) เพราะ วินโดวส์ 1.0 ยังไม่มีความสามารถทำงานได้ด้วยตัวเอง จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการเฉพาะแยกต่างหาก (ระบบปฏิบัติการดังกล่าวคือ ดอส) ซึ่งวินโดวส์จะทำหน้าที่เพียงการติดต่อกับผู้ใช้ เมื่อผู้ใช้ป้อนคำสั่งใดๆ วินโดวส์จะไปเรียกใช้ฟังก์ชันต่างๆ จากดอส เมื่อได้ผลการทำงานออกมา วินโดวส์จะแสดงผลออกมายังผู้ใช้อีกทีหนึ่ง วิสามารถเรียกได้ว่าเป็นระบบปฏิบัติการ แต่เป็นตัวแสดงผลส่วนหน้าของดอส ที่จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายกว่าการติดต่อกับดอสโดยตรง และตั้งแต่รุ่นแรก วินโดวส์เป็นคู่แข่งกับ แมคอินทอช ผลิตภัณฑ์ลักษณะคล้ายกันจากบริษัท แอปเปิลคอมพิวเตอร์ แต่ในช่วงแรก ภาพการแข่งขันยังไม่ชัดเจนนัก

Show

วินโดวส์ 1.0 อยู่ในระยะการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

นโดวส์ 2.0

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 2.0

วินโดวส์ 2.0 เปิดตัวเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 2.0 ยังต้องอาศัยดอส แต่มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นมากเมื่อเทียบกับ 1.0 เช่น สามารถเปิดหลายโปรแกรมซ้อนกันได้ และมีโปรแกรม ไมโครซอฟท์ เวิร์ด (Word) และ เอกซ์เซล (Excel) และได้มีปุ่ม Minimize, Maximize และปุ่มลัดอื่นๆ ขึ้นเป็นครั้งแรก ในช่วงของวินโดวส์ 2.0 วินโดวส์กับแมคอินทอชมีความใกล้เคียงกันมาก จนเกิดคดีฟ้องร้องกันของบริษัทเจ้าของลิขสิทธิ์ 2 แห่ง คือ ไมโครซอฟท์ และ แอปเปิล

วินโดวส์ 2.0 ยังไม่ประสบความสำเร็จมากนัก แต่ก็ถือว่ามีกระแสตอบรับ และการสนับสนุนจากผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้นกว่ารุ่น 1.0 และอยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ 2.1

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 2.1

วินโดวส์ 2.1 เปิดตัวในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 ยังเป็นสภาวะการทำงานที่ต้องอาศัยดอส วินโดวส์รุ่นนี้มี 2 รุ่นย่อย คือ 286 และ 386 ซึ่งทำงานกับโปรเซสเซอร์ Intel 80286 และ 80386 ซึ่งถือว่าประสบความสำเร็จอยู่บ้าง แต่ไม่มากนัก

ใน พ.ศ. 2532 ไมโครซอฟท์ได้ออกรุ่นอัปเดตของวินโดวส์ 2.1 คือ วินโดวส์ 2.11 (คล้ายกับระบบ Service Pack ในปัจจุบัน) อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ 3.0

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 3.0

วินโดวส์ 3.0 เปิดตัวในวันที่22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ยังต้องอาศัยดอส และโปรเซสเซอร์ตัวเดียวกับ 2.1 แต่วินโดวส์ 3.0 ได้มีการออกแบบกราฟิกในการใช้งานคอมพิวเตอร์ใหม่, มีระบบการบริหารจัดการหน่วยความจำรอมและแรมที่มีประสิทธิภาพสูงกว่ารุ่นก่อน และเปลี่ยนโปรแกรมบริหารจัดการไฟล์และโปรแกรมในดอสใหม่ทั้งหมด การเรียกใช้โปรแกรมต่างๆ ทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอย่างก้าวกระโดด อีกทั้งยังมีโปรแกรมใหม่ที่ติดตั้งมาพร้อมวินโดวส์ คือ โน้ตแพด, เกม Solitaire ฯลฯ ทำให้วินโดวส์ 3.0 ประสบความสำเร็จอย่างสูง และเป็นคู่แข่งอย่างชัดเจนกับแมคอินทอชจากแอปเปิล

วินโดวส์ 3.0 ได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ 3.1

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 3.11

วินโดวส์ 3.1 เปิดตัวเมื่อ 6 เมษายน พ.ศ. 2535 ยังต้องอาศัยดอส ในวินโดวส์รุ่นนี้ได้ออกแบบโดยมีแพลตฟอร์มเพื่อการพิมพ์มากขึ้น โดยได้มีฟอนต์ประเภททรูไทป์ และได้มีการลงเกม ไมน์สวีปเปอร์ มาพร้อมกับวินโดวส์เป็นครั้งแรก และได้มีรุ่นปรับปรุง (อัปเดต) คือรุ่น 3.11 ออกมาในวันที่31 ธันวาคมพ.ศ. 2536 ซึ่งถือได้ว่าวินโดวส์ในช่วงนี้ประสบความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง

ในรุ่น 3.1 ได้มีการจำหน่าย Windows for Workgroups ซึ่งเป็นรุ่นที่มีความสามารถสูงกว่าวินโดวส์ 3.1 ทั่วไป เช่น รองรับระบบเน็ตเวิร์ค และโพรโทคอล, เกม Hearts และได้มีการทำวินโดวส์ 3.2 สำหรับวางขายเฉพาะประเทศจีน โดยจะใช้อักษรจีนแสดงตัวย่อ

วินโดวส์ 3.1 ได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ เอ็นที 3.1

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เอ็นที 3.1

วินโดวส์เอ็นที 3.1 เปิดตัวเมื่อ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นแรกของวินโดวส์ สามารถทำงานต่างๆได้ด้วยตนเอง คอมพิวเตอร์ที่ลงวินโดวส์นี้ ไม่จำเป็นต้องลงระบบดอสอีกต่อไป เอ็นทีออกแบบมาสำหรับธุรกิจที่ต้องการประสิทธิภาพโดยเฉพาะ อีกทั้งเป็นระบบปฏิบัติการแบบ 32 บิต ซึ่งวินโดวส์ตัวก่อนหน้าทั้งหมด เป็นสภาวะการทำงานแบบ 16 บิต โปรแกรม 32 บิต (ซึ่งในขณะนั้นมักเป็นโปรแกรมขั้นสูง) สามารถใช้งานกับวินโดวส์เอ็นทีได้ แต่ไม่สามารถใช้งานกับวินโดวส์ 3.1 ได้ แต่โปรแกรม 16 บิต สามารถใช้งานกับวินโดวส์ 3.1 และเอ็นที ได้ เพราะเอ็นทีจะมีระบบแปลงไฟล์ ให้สามารถใช้งานในเอ็นทีได้

เอ็นที ย่อมาจาก (New Technology) มีความสามารถในการรองรับระบบสถาปัตยกรรมทางคอมพิวเตอร์ได้หลายประเภท ในช่วงนี้ผู้ใช้วินโดวส์เอ็นทีส่วนใหญ่ไม่ใช่ผู้ใช้ตามบ้าน แต่มักเป็นลูกค้าที่ใช้คอมพิวเตอร์ในระดับสูงและกลุ่มนักธุรกิจ ส่วนผู้ใช้ทั่วไปในช่วงนั้นมักยังใช้ วินโดวส์ 3.1 ธรรมดา

วินโดวส์ เอ็นที 3.1 ได้รับการสนับสนุนจากไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2543

วินโดวส์ เอ็นที 3.5

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เอ็นที 3.5

วินโดวส์ เอ็นที 3.5 เปิดตัวเมื่อ 21 กันยายน พ.ศ. 2537 เป็นรุ่นต่อของวินโดวส์เอ็นที 3.1 จุดประสงค์หลักของไมโครซอฟท์ในการพัฒนาวินโดวส์เอ็นที 3.5 คือ การเพิ่มความรวดเร็วในการทำงานของวินโดวส์ รวมถึงความสามารถอื่นๆ เช่น VFAT ที่จะทำให้สามารถตั้งชื่อไฟล์และต่างๆ ได้ถึง 255 ตัวอักษร และความต้องการขั้นต่ำของระบบได้ลดลงต่ำกว่าเอ็นที 3.1 ด้วย ทำให้สามารถครอบคลุมเครื่องคอมพิวเตอร์ได้มากขึ้น

แต่อย่างไรก็ตาม วินโดวส์ เอ็นที 3.5 ไม่สามารถติดตั้งได้ในโน้ตบุ๊คคอมพิวเตอร์ ที่ไม่มีไดรเวอร์สำหรับ PCMCIA อแดปเตอร์การ์ด และไม่สามารถติดตั้งในคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่ใช้โปรเซสเซอร์รุ่นที่ใหม่กว่า Intel P4 ได้

วินโดวส์เอ็นที 3.5 อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ เอ็นที 3.51

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เอ็นที 3.51

วินโดวส์ เอ็นที 3.51 เปิดตัวเมื่อ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 เอ็นที 3.51 สามารถทำงานบนสถาปัตยกรรม RISC เป็นเพียงวินโดวส์ไม่กี่รุ่นที่สามารถรองรับ RISC ได้ และนอกจากนี้ยังสามารถรองรับไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์, PCMCIA และระบบบีบอัดไฟล์ หรือ NTFS ได้

เอ็นที 3.51 อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ 95

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 95

วินโดวส์ 95 หรือ วินโดวส์ 4.0 (ไม่เอ็นที) เปิดตัว 24 สิงหาคม พ.ศ. 2538 เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 3.1 เป็นวินโดวส์รุ่นแรกที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป ที่ได้รวมเอาดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ (ยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ แต่ไม่ใช่ระบบปฏิบัติการแยก) สามารถทำงานได้ทั้งสถานะ 16 และ 32 บิต มีการใช้สตาร์ทเมนู (ปุ่มสตาร์ทที่มุมซ้ายล่าง) และทาสก์บาร์ (แท่งด้านล่างหน้าจอ แสดงโปรแกรมที่ใช้ และเบ็ดเตล็ดอื่นๆ) เป็นครั้งแรก ซึ่งทั้งสอง จนถึงวินโดวส์รุ่นล่าสุด ก็ยังใช้คอนเซปต์เดียวกับวินโดวส์ 95 เพียงแต่ปรับปรุงรูปลักษณ์ภายนอกให้ทันสมัยขึ้นเท่านั้น ด้วยความสามารถต่างๆ ที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดสำหรับผู้ใช้ทั่วไป วินโดวส์ 95 ประสบความสำเร็จอย่างสูง ยอดการใช้วินโดวส์ 95 สูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ของวินโดวส์

วินโดวส์ 95 อยู่ในการสนับสนุนของไมโครซอฟท์จนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2544

วินโดวส์ เอ็นที 4.0

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เอ็นที 4.0

วินโดวส์ เอ็นที 4.0 เปิดตัวเมื่อ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2539 โดยเน้นตลาดเน็ตเวิร์กมากขึ้น โดยจะมี interface คล้ายกับวินโดวส์ 95 แต่ว่าระบบมีความเสถียรมากกว่า โดยการเพิ่ม API (Application Programming Interface) เข้ามาทำให้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ติดต่อกับวินโดวส์ได้อย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน วินโดวส์เอ็นที 4.0 ถือว่าได้รับความนิยมอย่างมากสำหรับบรรดากลุ่มองค์กรที่ต้องการเครื่อง server ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันก็ยังพอมีเหลือให้เห็นอยู่บ้างในเครื่อง server รุ่นเก่าๆ

เอ็นที 4.0 มี 2 รุ่นย่อย คือ รุ่น Workstation อยู่ในการสนับสนุนถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 และ รุ่น Server อยู่ในการสนับสนุนถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2547

วินโดวส์ 98

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 98

วินโดวส์ 98 หรือ วินโดวส์ 4.1 (ไม่เอ็นที) เปิดตัวเมื่อ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นต่อของวินโดวส์ 95 จุดเด่นของวินโดวส์ 98 คือการใช้มาตรฐานไดรเวอร์แบบ WDM และ VxD ซึ่ง WDM เป็นมาตรฐานใหม่ที่วินโดวส์รุ่นต่อๆ มา ได้ใช้เป็นหลัก ส่วน VxD เป็นมาตรฐานเก่า ซึ่งวินโดวส์รุ่นต่อจาก 98 ไม่รองรับ ซึ่งทำให้วินโดวส์ 98 เป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างโปรแกรมสมัยเก่าและใหม่ โปรแกรมสมัยปัจจุบัน แม้จะไม่ได้ออกแบบมาเพื่อวินโดวส์ 98 แต่หลายโปรแกรมก็สามารถใช้กับวินโดวส์ 98 ได้พอสมควร วินโดวส์ 98 Second Edition รุ่นปรับปรุง เริ่มจำหน่ายเมื่อ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2542

วินโดวส์ 98 อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

วินโดวส์ 2000

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 2000

วินโดวส์ 2000 หรือ วินโดวส์ เอ็นที 5.0 เปิดตัวเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543 เป็นระบบปฏิบัติการเอ็นที มีกลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มผู้ใช้ขั้นสูงและกลุ่มธุรกิจ ในช่วงนี้ได้แบ่งเป็น 5 รุ่นย่อย คือ Professional, Server, Advanced Server, Datacenter Server, Advanced Server 64-bit Limited Edition

วินโดวส์ 2000 อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วินโดวส์ มี

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ มี

วินโดวส์ มี (อังกฤษ: Windows Me) หรือวินโดวส์ 4.9 (ไม่เอ็นที) เป็นวินโดวส์รุ่นต่อจาก 98 และเป็นรุ่นสุดท้ายที่ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที รุ่นสุดท้ายที่ทำงานได้ทั้งระบบ 16 และ 32 บิต (เวลาผ่านไป โปรแกรมรุ่นใหม่ ที่เป็นโปรแกรมพื้นฐานสำหรับผู้ใช้ตามบ้าน เริ่มเปลี่ยนจาก 16 เป็น 32 บิต และโปรแกรมชั้นสูง เริ่มเปลี่ยนจาก 32 เป็น 64 บิต) เปิดตัว 14 กันยายน พ.ศ. 2543 วินโดวส์มี ไม่ใช่วินโดวส์เอ็นที จึงยังมีดอสอยู่ในวินโดวส์ ซึ่งวินโดวส์ 95 และ 98 แม้จะรวมดอสเป็นส่วนหนึ่งของวินโดวส์ แต่ยังเปิดให้เข้าถึงดอสได้ แต่วินโดวส์ มี ได้ปิดการเข้าถึงดอสในวินโดวส์ เพื่อให้การบูตเครื่องทำได้เร็ว แต่ทำให้โปรแกรมเฉพาะบางโปรแกรมที่ต้องอาศัยการเข้าถึงดอส ไม่สามารถทำงานได้ในวินโดวส์มี โดยเฉพาะโปรแกรมบริหารจัดการดิสก์

วินโดวส์ มี อยู่ในการสนับสนุนจนถึง 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2549

วินโดวส์ เอกซ์พี และ เซิร์ฟเวอร์ 2003

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เอกซ์พี

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003

วินโดวส์ เอกซ์พี หรือ วินโดวส์ เอ็นที 5.1 และ เอ็นที 5.2 เปิดตัว 25 ตุลาคม พ.ศ. 2544 เป็นวินโดวส์เอ็นทีรุ่นแรก ที่พัฒนาขึ้นโดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ทั่วไป พัฒนาขึ้นจาก วินโดวส์ เนปจูน ถูกยุบรวมกับวินโดวส์ Whistler ส่วนวินโดวส์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อผู้ใช้ขั้นสูงและธุรกิจ จะมีแยกต่างหากอีก 2 ตัว ที่ใช้เลข เอ็นที 5.1 และ 5.2 คือ วินโดวส์ ฟันเดเมนทัลส์ ฟอร์ เลกาซี พีซีส์ และ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 ตามลำดับ โดยคำว่า เอกซ์พี มาจากคำว่า Experience แปลว่า ประสบการณ์ ซึ่งเป็นวินโดวส์ที่ประสบความสำเร็จค่อนข้างสูง แม้จะเปิดตัวมาแล้วถึง 9 ปี แต่จากข้อมูลในเดือนกันยายน 2553 พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ยังใช้วินโดวส์เอกซ์พีมากถึงร้อยละ 60 ของผู้ใช้ทั้งหมด ในขณะที่วินโดวส์รุ่นอื่นๆ ทั้งหมดรวมกัน มีส่วนแบ่งร้อยละ 31 และระบบปฏิบัติการอื่นที่ไม่ใช่วินโดวส์ ประมาณร้อยละ 9 วินโดวส์ เอกซ์พี มีการออกรุ่นปรับปรุงตามหลังมาอีกพอสมควร ซึ่งผู้ใช้สามารถตรวจสอบรุ่นของซอฟต์แวร์ได้เอง โดยกด Start แล้วเลือก Run แล้วพิมพ์ sysdm.cpl หรือ winmsd.exe แล้วกด Run จะขึ้นหน้าต่างข้อมูลให้ผู้ใช้รับทราบ รุ่นปรับปรุงที่ออกมา จะปรากฏคำว่า Service Pack

เอกซ์พีรุ่นแรก ที่ไม่มี Service Pack ไมโครซอฟท์ได้ยุติการสนับสนุนเมื่อ 30 กันยายน พ.ศ. 2547, เอกซ์พีรุ่นปรับปรุง SP1 และ 1a ยุติการสนับสนุน 10 ตุลาคม พ.ศ. 2549, รุ่นปรับปรุง SP2 32 บิต ยุติการสนับสนุน 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ส่วนรุ่นปรับปรุง SP2 64 บิต และ SP3 จะสนับสนุนต่อไปจนถึง 8 เมษายน พ.ศ. 2557 ส่วนวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 จะได้รับการสนับสนุนต่อจนถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 และวินโดวส์ ฟันเดเมนทัลส์ ฟอร์ เลกาซี ยังแผนจะยุติการสนับสนุนอีกด้วยและ การสนับสนุน Windows XP ที่มี Service Pack 2 (SP2) ได้หยุดลงในวันที่ 13 กรกฎาคม 2553

วินโดวส์ เอกซ์พี หยุดการสนับสนุนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2557

วินโดวส์ วิสตา และ เซิร์ฟเวอร์ 2008

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ วิสตา

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ โฮม เซิร์ฟเวอร์

วินโดวส์ วิสตา หรือ วินโดวส์ เอ็นที 6.0 ได้รับลิขสิทธิ์ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 แต่เริ่มขายผู้ใช้จริง 30 มกราคม พ.ศ. 2550 ในช่วงของวิสตา วินโดวส์ สำหรับผู้ใช้ขั้นสูงและองค์กรธุรกิจ คือ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008, วินโดวส์ โฮม เซิร์ฟเวอร์ วิสตามีความสามารถสูงกว่าเอกซ์พีหลายประการ เช่น ในการตัดต่อ การพัฒนาแอปพลิเคชัน, การแสดงผลกราฟิก ที่สามารถแสดงผลแบบโปร่งแสง สามารถมองฉากหลังของหน้าต่างที่กำลังเปิดอยู่ได้ ในมุมมองแบบโปร่งแสง ในพื้นที่ที่เหมาะสม เช่น บาร์ด้านบนสุดของโปรแกรม, ความสามารถในการค้นหา, การพิมพ์ ฯลฯ แต่ทว่า วิสตา ไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่ควร สาเหตุหลักๆ ที่เป็นที่วิจารณ์ คือ ความต้องการขึ้นต่ำของระบบ ที่สูงกว่าวินโดวส์เอกซ์พีหลายเท่าตัว ดังตัวอย่างเปรียบเทียบในตาราง

ประเภทความต้องการความต้องการขั้นต่ำของเอกซ์พี (SP3)ความต้องการขั้นต่ำของวิสตา
หน่วยประมวลผลกลาง (โปรเซสเซอร์) 233 MHz 800 MHz
แรม 64 MB 512 MB
เนื้อที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ 4.2 GB 15 GB
ไดรฟ์ที่ต้องการ CD-ROM DVD-ROM

เครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปในช่วงนั้น มีความสามารถไม่ถึง หรือ ถึง แต่เกินความต้องการมาเพียงเล็กน้อย ทำให้วิสตาเป็นระบบที่มีขนาดใหญ่มาก ทำให้เครื่องทำงานไม่มีประสิทธิภาพ หรือช้า อีกทั้งยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ว่าซอร์ซโค้ดไม่มีคุณภาพ ผู้ใช้ส่วนใหญ่ โดยเฉพาะที่ไม่ได้ใช้คุณสมบัติพิเศษที่เพิ่มมาของวิสตา จึงยังคงใช้เอกซ์พี วิสตาจึงไม่ประสบความสำเร็จมากนัก

วิสตา รุ่นแรก ที่ไม่มี Service Pack ไมโครซอฟท์ได้ยุติการสนับสนุนลงแล้วเมื่อ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 ส่วนวิสตารุ่นปรับปรุง SP1 ได้ยุติการสนับสนุนลงแล้วเมื่อ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 ส่วนรุ่นปรับปรุง SP2 ยังไม่มีแผนการจะยกเลิกการสนับสนุน (ตรวจสอบโดย กด Start แล้วพิมพ์ที่ช่องว่างด้านล่างซ้ายว่า winver แล้ว Enter)

วินโดวส์ โฮม เซิร์ฟเวอร์ สิ้นสุดการสนับสนุนแล้วเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2556 สนับสนุน ส่วนวินโดวส์วิสตา และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 จะสนับสนุนต่อไปจนถึง 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอ วินโดวส์ 7

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2

วินโดวส์ 7 หรือ วินโดวส์ เอ็นที 6.1 เปิดตัวการขายปลีกเมื่อ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552 เป็นวินโดวส์รุ่นล่าสุดของไมโครซอฟท์ ส่วน เอ็นที 6.1 อีกรุ่นหนึ่ง ที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ใช้ระดับสูง คือ วินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 เปิดตัวในวันเดียวกับวินโดวส์ 7 ในวินโดวส์ 7 ได้มีการแก้ไขข้อบกพร่องที่ทำให้วิสตาไม่ประสบความสำเร็จ และมีความต้องการขั้นต่ำไม่ต่างจากวิสตามากนัก นอกจากแรมและการ์ดจอ ที่ต้องการเพิ่ม แต่ที่ผ่านมา จากการเปิดตัววิสตา ได้กรุยทางส่วนหนึ่งไว้ให้ วินโดวส์ 7 เพราะช่องว่างระหว่างการเปิดตัวนั้น ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์หลายรายได้เพิ่มความสามารถในหลายด้าน คอมพิวเตอร์ในช่วงหลังวิสตา พร้อมจะรองรับวินโดวส์ที่ใหญ่กว่าเอกซ์พีได้ อีกทั้งวินโดวส์ 7 ได้มีการบริหารจัดการดี ทำงานมีประสิทธิภาพสูงกว่าวิสตา ปัจจุบัน มีผู้ใช้วินโดวส์ 7 มากกว่าวิสตาเสียอีก

วินโดวส์ 7 และ เซิร์ฟเวอร์ 2008 อาร์2 จะสนับสนุนต่อไปจนถึง 14 มกราคม 2563

วินโดวส์ 8

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอวินโดวส์ 8

วินโดวส์ 8 เป็นระบบปฏิบัติการรุ่นต่อไปในตระกูลวินโดวส์ เปิดตัวเมื่อ 22 ตุลาคม 2553 ผ่านทางบล็อกภาษาดัชต์ของไมโครซอฟท์เอง วินโดวส์ 8 มีคุณสมบัติเพิ่มเติมมากมายหลายอย่าง เช่น ไลฟ์ ไทลส์ ช่วยให้เข้าข้อมูลพื้นฐานได้ง่ายขึ้น วินโดวส์ เอกซ์พลอเรอร์ ที่ใช้การจัดข้อมูลแบบริบบอนแทนแบบเดิม  เป็นต้น ปัจจุบันวินโดวส์ 8 ได้เปิดวางขายเป็นที่เรียบร้อยในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2555

วินโดวส์ 8.1

ไฟล์:Windows 8.1 Example.png

ภาพหน้าจอวินโดวส์ 8.1

ในวันที่ 18 ตุลาคม 2013 ทาง Microsoft ออกชุดอัปเดตระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ที่ชื่อ Windows 8.1 สนุบสนุนการใช้ Skype แอพ Mail XBox Video Office Bing Food and Drink Xbox Music Internet Explorer 11 (IE11)

Windows 8.1 เหมาะสำหรับการทำงานหลายๆ อย่างในเวลาพร้อมกันและการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน รวมถึงการแสดงผลและใช้งานได้สูงสุดถึง 4 แอปพลิเคชัน 

ในเวลาเดียวกัน สามารถปรับขนาดหน้าต่างของแต่ละแอปพลิเคชันบนหน้าจอได้ ความสามารถสำหรับแอปพลิเคชันหนึ่งที่จะในการเปิดอีกแอปพลิเคชันหนึ่ง

และการรองรับหน้าจอหลายๆ จอทำให้ผู้ใช้เห็นเดสก์ท็อป หรือแอพต่างๆ บน วินโดวส์ สโตร์ จากหน้าจอใดหน้าจอหนึ่งหรือทั้งหมดได้

- การทำงานได้ครบวงจรบนคลาวด์ด้วย SkyDrive ทำให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้จากทุกที่ สะดวกกว่าแต่ก่อน สามารถเข้าถึงไฟล์ได้เสมอไม่ว่าจะผ่านดีไวซ์หรือสถานที่ใดก็ตาม ด้วย SkyDrive Smart Files ผู้ใช้สามารถสร้าง แก้ไข เก็บรักษา และแชร์ไฟล์ ที่ใดก็ได้ เมื่อใดก็ได้ บนอุปกรณ์ใดก็ตามที่กำลังใช้งานอยู่

- วินโดวส์ สโตร์ ที่ออกแบบใหม่อย่างสวยงาม ดีไซน์ใหม่ของ วินโดวส์ สโตร์ ได้ปรับปรุงวิธีการแสดงแอปพลิเคชันเด่นๆ ทำให้คุณเข้าถึงแอปพลิเคชันที่ต้องการได้ง่ายขึ้น การจัดวางหน้าจอและจัดหมวดหมู่แอปพลิเคชันแบบใหม่ เช่น หมวด ‘New & Rising’ ช่วยให้ง่ายขึ้นในการติดตามแอปพลิเคชันใหม่ๆ ที่กำลังฮอตที่สุด, ระบบการแนะนำแอปพลิเคชันที่ปรับให้เหมาะสมกับผู้ใช้งาน โดยใช้ระบบการแนะนำที่ล้ำสมัยของ Bing และระบบที่เกี่ยวข้อง ในการช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาแอปพลิเคชันโปรดใหม่ๆ, นอกจากนี้ แอปพลิเคชันต่างๆ จะได้รับการอัปเดตโดยอัตโนมัติในWindows 8.1 ดังนั้นผู้ใช้จะมีแอปพลิเคชันเวอร์ชันใหม่ที่สุดและดีที่สุดเสมอ จากนักพัฒนาที่มีชื่อเสียง รวมทั้งมีแอปพลิเคชันอย่างเป็นทางการจากFacebook, National Geography และ Thai Dictionary ซึ่งจะนำแอปพลิเคชันใหม่ๆ มาอัปเดตบนวินโดวส์ สโตร์ อย่างต่อเนื่อง

วินโดวส์ที่นิยมมากที่สุด

ในขณะนี้ Windows 7 มียอดผู้ใช้มากกว่า Windows XP ที่เป็นรุ่นเก่ากว่าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพราะว่าผู้พัฒนาโปรแกรมต่างก็เข้าไปพัฒนาโปรแกรมเพื่อ Windows 7 มากกว่า Windows XP และ Microsoft ได้หยุดสนับสนุน XP ไปแล้วเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2014ที่ผ่านมา

เส้นทางสายวินโดวส์

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

วินโดวส์ที่วางจำหน่ายในปัจจุบัน

  • วินโดวส์โมเบิล (Windows Mobile) วินโดวส์ซีอี (Windows CE) ใช้สำหรับอุปกรณ์ฝังตัว และอุปกรณ์พกพา
    • พ็อคเกตพีซี (Pocket PC) สำหรับ PDA
    • พ็อคเก็ตพีซีรุ่นสำหรับโทรศัพท์ (Pocket PC Phone Edition) สำหรับลูกผสมของ PDA และโทรศัพท์
    • สมาร์ทโฟน สำหรับโทรศัพท์
    • Portable Media Center สำหรับ Digital Media Players
  • วินโดวส์เอกซ์พี สำหรับเดสก์ท็อปและโน้ตบุ๊ค (เลขรุ่น: NT 5.1.2600)
    • Windows XP Starter Edition สำหรับคอมพิวเตอร์วางขายใหม่ ในประเทศกำลังพัฒนา (รวมประเทศไทย)
    • Windows XP Embedded สำหรับอุปกรณ์ฝังตัว
    • Windows XP Home Edition สำหรับผู้ใช้ตามบ้าน
    • Windows XP Home Edition N เป็นรุ่นที่ไม่ได้ติดตั้ง Windows Media Player ตามคำสั่งของคณะกรรมการของสหภาพยุโรป
    • Windows XP Professional Edition สำหรับธุรกิจและผู้ใช้ระดับสูง
    • Windows XP Professional Edition N เป็นรุ่นที่ไม่ได้ติดตั้ง Windows Media Player ตามคำสั่งของคณะกรรมการของสหภาพยุโรป
    • Windows XP Tablet PC Edition สำหรับโน้ตบุ้คที่มีจอแบบสัมผัส
    • Windows XP Media Center Edition สำหรับเดสก์ท็อปและโน้ตบุ้คที่เน้นไปทางบันเทิงโดยเฉพาะ
  • วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 สำหรับเซิร์ฟเวอร์ (เลขรุ่น: NT 5.2.3790)
    • Small Business Server สำหรับเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็ก (สนับสนุน 2 ซีพียู)
    • Web Edition สำหรับเว็บเซิร์ฟเวอร์ทั่วไป (สนับสนุน 2 ซีพียู)
    • Standard Edition สำหรับเซิร์ฟเวอร์ขนาดเล็กที่ไม่ได้ทำคลัสเตอร์ (สนับสนุน 4 ซีพียู)
    • Enterprise Edition สำหรับเซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ หรือคลัสเตอร์ (สนับสนุน 8 ซีพียู)
    • Datacenter Edition สำหรับเซิร์ฟเวอร์เทียบเท่าเมนเฟรม (สนับสนุน 128 ซีพียู)
    • Storage Server สำหรับเก็บข้อมูลแบบเครือข่าย
  • วินโดวส์ วิสตา (Windows Vista) หรือชื่อเก่าคือ วินโดวส์ ลองฮอร์น (เลขรุ่น: NT 6.0.6000 , NT 6.0.6001 , NT 6.0.6002)
    • Windows Vista Ultimate เป็นเวอร์ชันที่รวบรวมทุกความสามารถไว้ในตัวเดียว
    • Windows Vista Enterprise ออกแบบมาสำหรับลดขั้นตอนการดูแล และเหมาะสำหรับองค์กรที่มีความซับซ้อนสูง
    • Windows Vista Business ออกแบบมาเพื่อธุรกิจขนาดเล็ก มีระบบรักษาความปลอดภัยสำหรับข้อมูล และมีค่าใช้จ่ายในการดูแลต่ำ
    • Windows Vista Home Premium ออกแบบมาไว้สำหรับใช้ในบ้าน เพื่อความบันเทิง และเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย
    • Windows Vista Home Basic ออกแบบให้มีฟังก์ชันพื้นฐานและไม่ซับซ้อนสำหรับผู้ใช้งานเริ่มต้น
    • Windows Vista Starter มีขายในประเทศที่กำลังพัฒนา (รวมไทย)
  • วินโดวส์ 7 (Windows 7) หรือ วินโดวส์ เซเวน (Windows Seven) (เลขรุ่น: NT 6.1.7600 , NT 6.1.7601)
    • Windows 7 Ultimate เป็นเวอร์ชันที่รวมทุกๆ ความสามารถไว้ทั้งหมด
    • Windows 7 Enterprise เหมือนรุ่น Ultimate แต่จำหน่ายให้ผู้ใช้ระดับองค์กรเท่านั้น
    • Windows 7 Professional เหมือน Windows Vista Business แต่เพิ่มคุณสมบัติด้านความบันเทิงเข้ามาด้วยเหมือน Windows XP Professional
    • Windows 7 Home Premium ออกแบบมาไว้สำหรับใช้ในบ้าน เพื่อความบันเทิง และเทคโนโลยีการเชื่อมต่อไร้สาย
    • Windows 7 Home Basic มีขายในประเทศที่กำลังพัฒนา (รวมไทย)
    • Windows 7 Starter รุ่นนี้ไม่มีวางจำหน่าย แต่ว่าจะติดมากับเน็ตบุ๊ค (Netbook) รุ่นใหม่ๆ เท่านั้น
  • วินโดวส์ 8 (Windows 8) หรือ วินโดวส์ เอท (Windows Eight) (เลขรุ่น: NT 6.2.9200)
    • Windows 8 รุ่นมาตรฐาน
    • Windows 8 Pro เทียบได้กับรุ่น Professional ของ Windows รุ่นเก่าๆ คือเพิ่มฟีเจอร์มาจากรุ่นมาตรฐานอีกบางส่วน
    • Windows 8 Enterprise รุ่น Pro แบบขายกับองค์กร เพิ่มฟีเจอร์มาอีกเล็กน้อย ไม่มีวางจำหน่ายสำหรับผู้ใช้ทั่วไป
    • Windows RT ไม่มีวางจำหน่าย แต่จะติดตั้งมากับฮาร์แวร์ เช่น แท็บเลต สมาร์ทโฟน และมี Office 2013 RT ที่ทำงานในโหมดเดสก์ท็อปมาให้

วินโดวส์รุ่นก่อนๆ

  • ใช้ฐานจากดอส
    • พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985) - 20 พฤศจิกายน - วินโดวส์ 1.0
    • พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) - 9 ธันวาคม - วินโดวส์ 2.0
    • พ.ศ. 2533 (ค.ศ. 1990) - 22 พฤษภาคม - วินโดวส์ 3.0
    • พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) - สิงหาคม - วินโดวส์ 3.1 (เลขรุ่น: 3.1.103)
    • พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) - ตุลาคม - วินโดวส์ for Workgroups (เลขรุ่น: 3.1 3.1.102)
    • พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) - พฤศจิกายน - วินโดวส์ for Workgroups 3.11 (เลขรุ่น: 3.1 3.11.412)
  • วินโดวส์ 9x
    • พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) - 24 สิงหาคม - วินโดวส์ 95 (เลขรุ่น: 4.00.950)
    • พ.ศ. 2541 (ค.ศ. 1998) - 25 มิถุนายน - วินโดวส์ 98 (เลขรุ่น: 4.1.1998)
    • พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) - 5 พฤษภาคม - วินโดวส์ 98 Second Edition (เลขรุ่น: 4.1.2222)
    • พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) - 14 กันยายน - วินโดวส์ Me (เลขรุ่น; 4.9.3000)
  • ใช้เคอร์เนลเอ็นที
    • พ.ศ. 2536 (ค.ศ. 1993) - 27 กรกฎาคม - วินโดวส์เอ็นที 3.1 (เลขรุ่น: NT 3.10.528)
    • พ.ศ. 2537 (ค.ศ. 1994) - 21 กันยายน - วินโดวส์เอ็นที 3.5 (เลขรุ่น: NT 3.50.807)
    • พ.ศ. 2538 (ค.ศ. 1995) - 30 พฤษภาคม - วินโดวส์เอ็นที 3.51 (เลขรุ่น: NT 3.51.1057)
    • พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) - 29 กรกฎาคม - วินโดวส์เอ็นที 4.0 (เลขรุ่น: NT 4.0.1381) - รุ่นสุดท้ายที่ทำงานบนสถาปัตยกรรม RISC เช่น DEC Alpha, MIPS และ PowerPC รุ่นหลังจากนี้จะเน้นสถาปัตยกรรม x86 เพียงอย่างเดียว
    • พ.ศ. 2543 (ค.ศ. 2000) - 17 กุมภาพันธ์ - วินโดวส์ 2000 (เลขรุ่น: NT 5.0.2195)

วินโดวส์ที่ถูกยกเลิก


ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอวินโดวส์แนชวิลล์

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

ภาพหน้าจอวินโดวส์เนปจูน

  • พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) - วินโดวส์แนชวิลล์ (เลขรุ่น: 4.10.999) ออกรุ่นสำหรับทดสอบ แต่ไม่ได้วางจำหน่ายจริง ควรจะเป็นรุ่นถัดจากวินโดวส์ 95
  • พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) - วินโดวส์เนปจูน (เลขรุ่น: NT 5.5.5111) ออกรุ่นสำหรับทดสอบ แต่ไม่ได้วางจำหน่ายจริง ควรจะเป็นรุ่นถัดจากวินโดวส์ 2000

    วินโดวส์ในอนาคต

    พ.ศ. 2556 (ค.ศ. 2013) - วินโดวส์ 8.1 (เลขรุ่น: NT 6.3.9431 , NT 6.3.9600) ออกรุ่นสำหรับทดสอบ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 คาดว่าจะออกจำหน่ายในปลายปี พ.ศ. 2556

             LINUX

    Linux

    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
    ผู้พัฒนามีหลายคน
    ตระกูลแบบยูนิกซ์
    สถานะปัจจุบัน/เสถียร
    รูปแบบ
    รหัสต้นฉบับ
    โอเพนซอร์ส
    วันที่เปิดตัว1996
    รุ่นเสถียรKernel: 3.3.2  (เม.ย. 13, 2012; 2 ปีก่อน)
    ภาษาสื่อสารMultilingual
    ตัวจัดการ
    แพกเกจ
    dpkg
    แพลตฟอร์ม
    ที่รองรับ
    DEC Alpha, ARM, AVR32, Blackfin,ETRAX CRIS, FR-V, H8/300,Hexagon, Itanium, M32R, m68k,Microblaze, MIPS, MN103,OpenRISC, PA-RISC, PowerPC,s390, S+core, SuperH, SPARC,TILE64, Unicore32, x86, Xtensa
    ชนิดเคอร์เนลMonolithic
    อินเทอร์เฟซ
    พื้นฐาน
    Many
    ลิขสิทธิ์Many ("Linux" trademark owned by Linus Torvalds and administered by the Linux Mark Institute)

    ลินุกซ์ (Linux) และรู้จักในชื่อ จีเอ็นยู/ลินุกซ์ (GNU/Linux) โดยทั่วไปเป็นคำที่ใช้ในความหมายที่หมายถึงระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ โดยใช้ลินุกซ์ เคอร์เนล เป็นศูนย์กลางทำงานร่วมกับไลบรารีและเครื่องมืออื่น ลินุกซ์เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่ประสบความสำเร็จและมีชื่อเสียง ทุกคนสามารถดูหรือนำโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน, แก้ไข, และแจกจ่ายได้อย่างเสรี ลินุกซ์นิยมจำหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ โดยผู้จัดทำจะรวมซอฟต์แวร์สำหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้าด้วยกัน

    เริ่มแรกของของลินุกซ์พัฒนาและใช้งานในเฉพาะกลุ่มผู้ที่สนใจ ซึ่งในปัจจุบันลินุกซ์ได้รับความนิยมเนื่องมาจากระบบการทำงานที่เป็นอิสระ ปลอดภัย เชื่อถือได้ และราคาต่ำ จึงได้มีการพัฒนาจากองค์กรต่าง ๆ เช่น ไอบีเอ็ม ฮิวเลตต์-แพคการ์ด และ โนเวลล์ ใช้สำหรับในระบบเซิร์ฟเวอร์และพีซี เริ่มแรกลินุกซ์พัฒนาสำหรับใช้กับเครื่อง อินเทล 386 ไมโครโพรเซสเซอร์ หลังจากที่ได้รับความนิยมปัจจุบัน ลินุกซ์ได้พัฒนารับรองการใช้งานของระบบสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในระบบต่าง ๆ รวมถึงในโทรศัพท์มือถือ และกล้องวิดีโอ

    ลินุกซ์มีสัญญาอนุญาตแบบ GPL ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตที่กำหนดให้ผู้ที่นำโค้ดไปใช้ต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดิมต่อคือใช้สัญญาอนุญาต GPL เช่นเดียวกัน ซึ่งลักษณะสัญญาอนุญาตแบบนี้เรียกว่า copyleft

    ประวัติ

    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

    ริชาร์ด สตอลแมน (ซ้าย) ผู้ก่อตั้ง โครงการจีเอ็นยู, และ ลินุส โตร์วัลดส์ (ขวา) ผู้ให้กำเนิด ลินุกซ์ เคอร์เนล

    ผู้เริ่มพัฒนาลินุกซ์ เคอร์เนลเป็นคนแรก คือ ลินุส โตร์วัลดส์ (Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ เมื่อสมัยที่เขายังเป็นนักศึกษาคอมพิวเตอร์ ที่มหาวิทยาลัยเฮลซิงกิ โดยแรกเริ่ม ริชาร์ด สตอลแมน (Richard Stallman) ได้ก่อตั้งโครงการจีเอ็นยูขึ้นในปี พ.ศ. 2526 จุดมุ่งหมายโครงการจีเอ็นยู คือ ต้องการพัฒนาระบบปฏิบัติการคล้ายยูนิกซ์ที่เป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งระบบ ราวช่วงพ.ศ. 2533 โครงการจีเอ็นยูมีส่วนโปรแกรมที่จำเป็นสำหรับระบบปฏิบัติการเกือบครบทั้งหมด ได้แก่ คลังโปรแกรม (Libraries) คอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมแก้ไขข้อความ(Text Editor) และเปลือกระบบยูนิกซ์(Shell) ซึ่งขาดแต่เพียงเคอร์เนล(Kernel) เท่านั้น ในพ.ศ. 2533 โครงการจีเอ็นยูได้พัฒนาเคอร์เนลชื่อ Hurd เพื่อใช้ในระบบจีเอ็นยูซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาเกี่ยวกับความเร็วในการประมวลผล

    ในพ.ศ. 2534 โตร์วัลดส์เริ่มโครงการพัฒนาเคอร์เนล ขณะศึกษาในมหาวิทยาลัยแล้ว โดยอาศัย Minix ซึ่งเป็นระบบที่คล้ายกับ Unix ซึ่งมากับหนังสือเรื่องการออกแบบระบบปฏิบัติการ มาเป็นเป็นต้นแบบในการเขียนขึ้นมาใหม่โดย Torvalds เขาพัฒนาโดยใช้ IA-32 assembler และภาษาซี คอมไพล์เป็นไฟล์ไบนารี่และบูทจากแผ่นฟลอปปี้ดิสก์ เขาได้พัฒนามาเรื่อยๆจนกระทั่งสามารถบูทตัวเองได้ (กล่าวคือสามารถคอมไพล์ภายในลินุกซ์ได้เลย) และในปัจจุบันมีนักพัฒนาจากพันกว่าคนทั่วโลกได้เข้ามามีส่วนรวมในการพัฒนาโครงการ Eric S. Raymond ได้ศีกษากระบวนการพัฒนาดังกล่าวและเขียนบทความเรื่อง The Cathedral and the Bazaar

    ในรุ่น 0.01 นี้ถือว่ามีเครื่องมือที่เพียงพอสำหรับระบบ POSIX ที่ใช้เรียก ลินุกซ์ ที่รันกับ จีเอ็นยู Bash Shell และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและอย่างรวดเร็ว

    โตร์วัลดส์ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาระบบต่อไป ซึ่งต่อมาก็สามารถรันบน X Window System และมีการเลือกนกเพนกวินที่ชื่อ Tux ให้เป็นตัวนำโชคหรือ Mascot ของระบบลินุกซ์

    การอ่านออกเสียง

    หน้าจอคอมพิวเตอร์ของลินุกซ์ อูบุนตุ

    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
    ในขณะที่ในไทยใช้คำว่า "ลินุกซ์" ในหลายประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักนิยมออกเสียงเป็น "ลินิกซ์" หรือ "ไลนิกซ์" โดยพยางค์ท้ายอ่านเหมือนพยางค์ท้ายของคำว่า"ยูนิกซ์" โดยลินุส โตร์วัลดส์ผู้ที่คิดค้นลินุกซ์ได้กล่าวไว้ว่า "li" อ่านเหมือนเสียงสระอิ /ɪ/ และ "nux" อ่านเสียงสระเหมือนเสียง /ʊ/ ซึ่งคล้ายเสียง "อุ" ในภาษาไทย ในอินเทอร์เน็ตมีไฟล์ที่เก็บคำพูดของโตร์วัลดส์ ที่พูดว่า "Hello, this is Linus Torvalds, and I pronounce Linux as Linux" เก็บไว้เนื่องจากมีการโต้เถียงกันมากในเรื่องการออกเสียง

    เพราะทุกคนเข้าใจตรงกันว่าหมายถึงอะไร

    การใช้งาน

             การใช้งานดั้งเดิมของลินุกซ์ คือ ใช้เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องเซิร์ฟเวอร์ แต่จากราคาที่ต่ำ ความยืดหยุ่น พื้นฐานจากยูนิกซ์ ทำให้ลินุกซ์เหมาะกับงานหลาย ๆ ประเภท

    ลินุกซ์ ถือเป็นส่วนสำคัญของซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า LAMP ย่อมาจาก Linux, Apache, MySQL, Perl/PHP/Python ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ และพบมากสุดระบบหนึ่ง ตัวอย่างซอฟต์แวร์ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบนี้คือ มีเดียวิกิ ซอฟต์แวร์สำหรับวิกิพีเดีย

    เนื่องจากราคาที่ต่ำและการปรับแต่งได้หลากหลาย ลินุกซ์ถูกนำมาใช้ในระบบฝังตัว เช่นเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ลินุกซ์เป็นคู่แข่งที่สำคัญของ ซิมเบียนโอเอส ซึ่งใช้ในโทรศัพท์มือถือจำนวนมาก และใช้แทนวินโดวส์ซีอี และปาล์มโอเอส บนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องบันทึกวิดีโอก็ใช้ลินุกซ์ที่ดัดแปลงเป็นพิเศษ ไฟร์วอลล์และเราเตอร์หลายรุ่น เช่นของ Linksys ใช้ลินุกซ์และขีดความสามารถเรื่องทางเครือข่ายของมัน

    ระยะหลังมีการใช้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการของซูเปอร์คอมพิวเตอร์มากขึ้น ในรายชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์ TOP500 ของเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์ที่เร็วที่สุดสองอันดับแรกใช้ลินุกซ์ และจาก 500 ระบบ มีถึง 371 ระบบ (คิดเป็น 74.2%) ให้ลินุกซ์แบบใดแบบหนึ่ง

    เครื่องเล่นเกม โซนี่ เพลย์สเตชัน 3 ที่ออกในปี พ.ศ. 2549 รันลินุกซ์ โซนียังได้ปล่อย PS2 Linux สำหรับใช้กับเพลย์สเตชัน 2 อีกด้วย ผู้พัฒนาเกมอย่าง Atari และ id Software ก็เคยออกซอฟต์แวร์เกมบนลินุกซ์มาแล้ว

    ส่วนแบ่งการตลาด

            ส่วนแบ่งการตลาดในปัจจุบันของลินุกซ์มีเพิ่มมากขึ้น สอดคล้องจากรายงานการวิจัยจาก Company IDC ในปี พ.ศ. 2545 โดย 25% ของเซิร์ฟเวอร์ และ 2.8% ของ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทำงานระบบลินุกซ์ เนื่องจากคุณสมบัติต่าง ๆ ของลินุกซ์ ฟรี และระบบความปลอดภัยสูง ทำให้ลินุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เติบโตสูงที่สุดในปัจจุบัน

    การติดตั้ง

    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

    รายการลินุกซ์ดิสทริบิวชัน (ดิสโทร) ทั้งหมด

    ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
    การติดตั้งโดยทั่วไป จะติดตั้งผ่านซีดีที่มีโปรแกรมบรรจุอยู่ในแผ่นซึ่งแผ่นซีดีนั้นสามารถหามาได้หลายวิธี เช่นสามารถเบิร์นได้จาก ISO image ที่ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต หรือสามารถหาซื้อซีดีได้ในราคาถูกโดยอาจจะซื้อรวมหรือแยกพร้อมกับคู่มือ เนื่องจากสัญญาอนุญาตของโปรแกรมเป็นแบบ GPL ลินุกซ์จากผู้จัดทำบางตัวเช่น เดเบียน สามารถติดตั้งได้จากโปรแกรมขนาดเล็กผ่านฟลอปปีดิสก์ ซึ่งเมื่อติดตั้งส่วนหนึ่งสำเร็จ ตัวโปรแกรมของมันเองจะดาวน์โหลดส่วนอื่นเพิ่มขึ้นมาผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือสำหรับบางตัวเช่นอูบุนตุ สามารถทำงานได้ผ่านซีดีโดยติดตั้งในแรมในช่วงที่เปิดเครื่อง

    การทำงานของลินุกซ์สามารถติดตั้งได้ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง จนถึงเครื่องที่สมรรถนะต่ำ ที่ไม่มีฮาร์ดไดรฟ์หรือมีแรมน้อยโดยทำงานเป็นเครื่องไคลเอนต์โดยที่เครื่องไคลเอนต์ สามารถบูตและเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆผ่านทางเน็ตเวิร์กจากเครื่องเทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งวิธีการนี้ยังคงช่วยให้ประหยัดเวลาในการติดตั้งโปรแกรม เพราะติดตั้งเพียงเครื่องเดียวที่เทอร์มินอลเซิร์ฟเวอร์ รวมถึงราคาของเครื่องไคลเอนต์ที่ไม่จำเป็นต้องมีสมรรถภาพสูงซึ่งมีราคาถูกกว่าเครื่องทั่วไป

    การเขียนโปรแกรมบนลินุกซ์

    ส่วน GNU Compiler Collection (GCC) สนับสนุนการเขียนภาษาโปรแกรมที่สำคัญ เช่น ภาษาซี ภาษาซีพลัสพลัส และภาษาจาวา รวมถึงภาษาอื่น ๆ รวมถึงมี IDEจำนวนมาก ซึ่งได้แก่ Emacs Vim Eclipse KDevelop Anjuta


                   UNIX

      ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

                           ยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T Bell Labs โดยกลุ่มนักพัฒนาที่เป็นที่รู้จัก คือ Ken ThompsonDennis Ritchie และ Douglas McIlroy

      ประวัติ

              ในทศวรรษที่ 60 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ (MIT) , AT&T Bell Labs และบริษัท General Electric ได้ร่วมมือกันวิจัยระบบปฏิบัติการที่ชื่อว่า Multics (ย่อมาจาก Multiplexed Information and Computing Service) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อทำงานบนเครื่องเมนเฟรมรุ่น GE-645 แต่ภายหลัง AT&T ได้ถอนตัวออกจากโครงการนี้

      Ken Thompson ซึ่งเป็นหนึ่งในทีมพัฒนาในขณะนั้น ได้เขียนเกมบนเครื่อง GE-645 ชื่อว่าเกม Space Travel และพบปัญหาว่าเกมทำงานได้ช้ากว่าที่ควร เขาจึงย้ายมาเขียนเกมใหม่บนเครื่อง PDP-7 ของบริษัทDEC แทนด้วยภาษาแอสเซมบลี โดยความช่วยเหลือของ Dennis Ritchie ประสบการณ์เหล่านี้ทำให้ Thompson หันมาพัฒนาระบบปฏิบัติการบนเครื่อง PDP-7

      ระบบปฏิบัติการนี้มีชื่อว่า UNICS ย่อมาจาก Uniplexed Information and Computing System เนื่องจากว่าการออกเสียงสามารถสะกดได้หลายแบบ และพบปัญหาชื่อใกล้เคียงกับ Multics ภายหลังจึงเปลี่ยนชื่อเป็น Unix

      การพัฒนายูนิกซ์ในช่วงนี้ยังไม่ได้รับความสนับสนุนด้านการเงินจาก Bell Labs เมื่อระบบพัฒนามากขึ้น Thompson และ Ritchie จึงสัญญาว่าจะเพิ่มความสามารถในการประมวลผลคำ (Word Processing) บนเครื่อง PDP-11/20 และเริ่มได้รับการตอบรับจาก Bell Labs ในปีค.ศ. 1970 ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงได้รับการเรียกชื่ออย่างเป็นทางการ โปรแกรมประมวลผลคำมีชื่อว่า roff และหนังสือ UNIX Programmer's Manual ตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1971

      ค.ศ. 1973 ได้เขียนยูนิกซ์ขึ้นมาใหม่ด้วยภาษาซีใช้ได้ทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล มินิคอมพิวเตอร์และเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ สามารถทำงานได้หลายงานพร้อมกัน ดังนั้น ยูนิกส์จึงใช้ได้กับเครื่องที่เชื่อมโยงและต่อกับปลายทางได้หลายเครื่องพร้อมกัน ลักษณะการติดต่อกับผู้ใช้เป็นทั้งแบบ Command-line และ GUI ทำให้สะดวกต่อการนำยูนิกซ์ไปทำงานบนเครื่องชนิดอื่นมากขึ้น ทาง AT&T ได้เผยแพร่ยูนิกซ์ไปยังมหาวิทยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล โดยสัญญาการใช้งานเปิดเผยซอร์สโค้ด ยกเว้นเคอร์เนลส่วนที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลี

      ยูนิกซ์เวอร์ชัน 4,5 และ 6 ออกในค.ศ. 1975 ได้เพิ่มคุณสมบัติ pipe เข้ามา ยูนิกซ์เวอร์ชัน 7 ซึ่งเป็นเวอร์ชันสุดท้ายที่พัฒนาแบบการวิจัย ออกในค.ศ. 1979 ยูนิกซ์เวอร์ชัน 8,9 และ 10 ออกมาในภายหลังในทศวรรษที่ 80 ในวงจำกัดเฉพาะมหาวิทยาลัยบางแห่งเท่านั้น และเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการ Plan 9

      ค.ศ. 1982 AT&T นำยูนิกซ์ 7 มาพัฒนาและออกขายในชื่อ Unix System III แต่บริษัทลูกของ AT&T ชื่อว่า Western Electric ยังคงนำยูนิกซ์รุ่นเก่ามาขายอยู่เช่นกัน เพื่อยุติความสับสนทางด้านชื่อ AT&T จึงรวมการพัฒนาทั้งหมดจากบริษัทและมหาวิทยาลัยต่างๆใน Unix System V ซึ่งมีโปรแกรมอย่าง vi ที่พัฒนาโดย Berkeley Software Distribution (BSD) จากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ รวมอยู่ด้วย ยูนิกซ์รุ่นนี้สามารถทำงานได้บนเครื่อง VAX ของบริษัท DEC

      ยูนิกซ์รุ่นที่เป็นการค้าไม่เปิดเผยซอร์สโค้ดอีกต่อไป ทางมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กลีย์ จึงพัฒนายูนิกซ์ของตัวเองต่อเพื่อเป็นทางเลือกกับ System V การพัฒนาที่สำคัญที่สุดคือเพิ่มการสนับสนุนโพรโทคอลสำหรับเครือข่าย TCP/IP เข้ามา

      บริษัทอื่นๆ เริ่มพัฒนายูนิกซ์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของตนเอง โดยส่วนมากใช้ยูนิกซ์ที่ซื้อสัญญามาจาก System V แต่บางบริษัทเลือกพัฒนาจาก BSD แทน หนึ่งในทีมพัฒนาของ BSD คือ Bill Joy มีส่วนในการสร้าง SunOS (ปัจจุบันคือ โซลาริส) ของบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์

      ค.ศ. 1981 ทีมพัฒนา BSD ได้ออกจากมหาวิทยาลัยและก่อตั้งบริษัท Berkeley Software Design, Inc (BSDI) เป็นบริษัทแรกที่นำ BSD มาขายในเชิงการค้า ในภายหลังเป็นต้นกำเนิดของระบบปฏิบัติการFreeBSD, OpenBSD และ NetBSD

      AT&T ยังคงพัฒนาความสามารถต่างๆ เข้าสู่ยูนิกซ์ System V และรวมเอา Xenix (ยูนิกซ์ของบริษัทไมโครซอฟท์) , BSD และ SunOS เข้ามารวมใน System V Release 4 (SVR4) เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งเดียวสำหรับลูกค้า ซึ่งเพิ่มราคาขึ้นอีกมาก

      หลังจากนั้นไม่นาน AT&T ขายสิทธิ์ในการถือครองยูนิกซ์ให้กับบริษัทโนเวลล์ และโนเวลเองได้สร้างยูนิกซ์ของตัวเองที่ชื่อ UnixWare ซึ่งพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการ NetWare เพื่อแข่งกับระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอ็นทีของไมโครซอฟท์

      ค.ศ. 1995 โนเวลขายส่วนต่างๆ ของยูนิกซ์ให้กับบริษัท Santa Cruz Operation (SCO) โดยโนเวลยังถือลิขสิทธิ์ของยูนิกซ์ไว้ ค.ศ. 2000 SCO ขายสิทธิ์ส่วนของตนเองให้กับบริษัท Caldera ซึ่งเปลี่ยนชื่อภายหลังเป็น SCO Group ซึ่งเป็นสาเหตุในการดำเนินคดีละเมิดลิขสิทธิ์กับลินุกซ์

      เส้นทางสายยูนิกซ์

      ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

                MAC OS

        ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

             แมคโอเอส (Mac OS) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช โดยทั้งคู่เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์. แมคโอเอสเป็นระบบปฏิบัติการที่มีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบกราฟิก(GUI) รายแรกที่ประสบความสำเร็จในเชิงพาณิชย์

        รุ่นแรกๆ ของระบบปฏิบัติการนี้ ไม่ได้ใช้ชื่อแมคโอเอส, อันที่จริงระบบปฏิบัติการนี้ในรุ่นแรกๆ ยังไม่มีชื่อเรียกด้วยซ้ำ

        ทีมพัฒนาแมคโอเอสประกอบด้วย บิลล์ แอตคินสัน, เจฟ รัสกิน, แอนดี เฮิตซ์เฟลด์ และคนอื่นๆ

        แมคโอเอสเป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมเป็นอันดับสองรองจาก วินโดวส์ 

        แมคโอเอสรุ่นต่างๆ

                 แรกสุดนั้นแมคโอเอสถูกเรียกว่า ซิสเต็ม (System) และเปลี่ยนมาใช้คำว่า แมคโอเอส ครั้งแรกใน แมคโอเอส 7.5 (ค.ศ. 1996) เนื่องจากเครื่องแมคเลียนแบบที่แพร่หลายในยุคนั้น ทำให้แอปเปิลต้องการแสดงว่าแมคยังเป็นลิขสิทธิ์ของตนอยู่

        แมคโอเอสสามารถแบ่งได้เป็นสองยุค คือ

        • Classic นับตั้งแต่แมคโอเอสตัวแรกสุด จนถึงแมคโอเอส 9

        แมคโอเอสเท็น (Mac OS X) ใช้แกนกลางที่พัฒนามาจากยูนิกซ์ ตระกูลบีเอสดี โดยปัจจุบันนั้นแมคโอเอสเท็นได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อนำมาใช้งานได้บนคอมพิวเตอร์แมคอินทอชรุ่นใหม่ ที่ได้ใช้หน่วยประมวลระบบสถาปัตยกรรม x86 Intel แล้ว แต่ยังสามารถที่จะใช้งานได้เฉพาะคอมพิวเตอร์จากแมคอินทอชเท่านั้น

        เทคโนโลยีที่ใช้ในแมคโอเอส

        • QuickDraw: the imaging model which first provided mass-market WYSIWYG
        • Finder: the interface for browsing the filesystem and launching applications
        • MultiFinder: the first version to support simultaneously running multiple apps
        • Chooser: tool for accessing network resources (e.g., enabling AppleTalk)
        • ColorSync: technology for ensuring appropriate color matching
        • Mac OS memory management: how the Mac managed แรม and virtual memory before the switch to ยูนิกซ์
        • PowerPC emulation of Motorola 68000: how the Mac handled the architectural transition from CISC to RISC (see Mac 68K emulator)
        • Desk Accessories: small "helper" apps that could be run concurrently with any other app, prior to the advent of MultiFinder or System 7.
        • PlainTalk: speech synthesis and speech recognition technology
        • Mac-Roman : Character set

          1.  สัดส่วนผู้ใช้งานระบบปฏิบัติการ

          [ซ่อน]

          •    
          •    

          บริษัทแอปเปิล

          ผู้ก่อตั้ง

          สตีฟ จอบส์ · สตีฟ วอซเนียก · โรนัลด์ เวนน์

          ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

          ผู้บริหารหลัก

          บิล แคมป์เบล · มิลลาร์ด เดรกเลอร์ · อัล กอร์ · ทิม คุก · อังเดรีย จุง · ปีเตอร์ ออปเพนไฮเมอร์ · โจนาธาน ไอฟ์ · อาเธอร์ ดี. เลวินสัน · โรนัลด์ ชูการ์

          คอมพิวเตอร์

          แมคอินทอช (ไอแมคแมคบุ๊กแอร์ , แมคบุ๊กแมคบุ๊กโปร, แมคมินิ, แมคโปร)

          ซอฟต์แวร์

          ไอทูนส์ · แมคโอเอส (แมคโอเอสเท็น (KodiakCheetahPumaJaguarPantherTigerLeopardSnow LeopardLionMountain Lionมาร์เวลริคส์แมคโอเอสเท็น เซิร์ฟเวอร์)) · ไอโอเอส · ซาฟารี ·ไอไลฟ์ (ไอโฟโต้ไอมูฟวี่การาจแบนด์ไอเว็บไอดีวีดี)

          ฮาร์ดแวร์

          ไอโฟน (3จี3จีเอส44เอส55ซี5เอส) · ไอพอด (คลาสสิกมินิโฟโต้นาโนชัฟเฟิลทัช) · ไอแพด (2รุ่นที่ 3รุ่นที่ 4แอร์มินิมินิ 2) · แอปเปิล ทีวี (รุ่นที่ 2รุ่นที่ 3)

          บริการ

          แอปเปิลสโตร์ (ออนไลน์) · ร้านดนตรีไอทูนส์ · แอพสโตร์ · เกมเซ็นเตอร์ · ไอคลาวด์


                    FREEBSD

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell


            FreeBSD

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            FreeBSD welcome screen

            ผู้พัฒนาThe FreeBSD Project
            ตระกูลUnix-like (BSD)
            ยูเซอร์แลนด์BSD
            ลิขสิทธิ์FreeBSD License, FreeBSD Documentation License
            เว็บไซต์freebsd.org

            ฟรีบีเอสดี (อังกฤษ: FreeBSDคือซอฟต์แวร์เสรีซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่เหมือนยูนิกซ์ (Unix-like) สืบทอดมาจาก AT&T UNIX ผ่านทางสายของ Berkeley Software Distribution (BSD) คือ 386BSD และ 4.4BSD ฟรีบีเอสดีรองรับการทำงานบนซีพียูตระกูลหลักๆ หลายตระกูลด้วยกัน นอกจากตระกูล X86 ของอินเทลที่ใช้กันอย่างกว้างขวาง ก็ยังมี DEC Alpha, UltraSPARC ของ Sun Microsystems, Itanium (IA-64), AMD64 และ PowerPC ส่วนของตระกูลรองได้แก่คอมพิวแตอร์สถาปัตยกรรมแบบ PC-98 การรองรับสำหรับตระกูล ARM และ MIPS กำลังอยู่ระหว่างการพัฒนา จุดเด่นที่สำคัญของฟรีบีเอสดีคือประสิทธิภาพและเสถียรภาพ โลโก้ดั้งเดิมและตัวมาสคอตของโครงการฟรีบีเอสดีคือตัวดีม่อนสีแดงซึ่ง มาร์แชล เคิร์ก แมคคูสิก (Marshall Kirk McKusick) เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์

            การพัฒนาฟรีบีเอสดีเป็นแบบเบ็ดเสร็จทั้งระบบปฏิบัติการ กล่าวคือทั้งเคอร์เนล ยูเซอร์แลนด์ยูทิลิตี้เช่น เชลล์ และดีไวซ์ไดรเวอร์อยู่ในทรีของระบบควบคุมเวอร์ชันของซอร์สโค้ด (CVS) เดียวกัน ซึ่งแตกต่างจากลินุกซ์ที่มีการพัฒนาเฉพาะส่วนของเคอร์เนลโดยบุคคลกลุ่มหนึ่ง ส่วนของยูเซอร์แลนด์ยูทิลิตี้พัฒนาโดยกลุ่มอื่นๆ เช่น กลุ่มในโครงการของกนูและนำมารวมเข้าด้วยกันกับโปรแกรมประยุกต์กลายเป็นดิสทริบิวท์ชั่นซึ่งนำมาเผยแพร่ให้ผู้ใช้ได้ใช้กัน

            ฟรีบีเอสดีได้รับการยกย่องว่าเป็นระบบปฏิบัติการที่มีชื่อเสียงทางด้านเสถียรภาพและความอึด (แต่ไม่อืด) จึงเป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้รันเซิร์ฟเวอร์อย่างแพร่หลาย ข้อยืนยันนี้ดูได้จากรายงานอัพไทม์ (uptime เวลาจากการรีบูตครั้งล่าสุด) ในรายการ 50 อันดับของเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่มีอัพไทม์นานที่สุดก็มฟรีบีเอสดีและBSD/OS ปรากฏอยู่เป็นจำนวนมาก[1] สิ่งนี้เป็นตัวบ่งบอกถึงความมั่นคงของฟรีบีเอสดีว่า ตลอดเวลาการปฏิบัติงานอันยาวนานนี้นอกจากจะไม่มีการแครชแล้ว ยังไม่จำเป็นต้องมีการอัปเดตเคอร์เนลแต่อย่างใด (หลังจากอัพเกรดเคอร์เนลจำเป็นต้องรีบูต)

                 โอเอส/2

            OS/2

            150px
            OS/2 Warp 4

            A typical OS/2 Warp 4 desktop

            ผู้พัฒนาIBM & Microsoft (v. 1.0 - 1.2)
            เขียนด้วยC/C++
            ตระกูลOS/2
            สถานะHistorical, now developed aseComStation
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            Closed source
            วันที่เปิดตัวApril 1987
            รุ่นเสถียร4.52 / December 2001
            ภาษาสื่อสารEnglish, French, German, Spanish,Portuguese
            ภาษาโปรแกรมREXX, Object Rexx, Java
            ตัวจัดการ
            แพกเกจ
            Solid
            แพลตฟอร์ม
            ที่รองรับ
            x86
            ชนิดเคอร์เนลHybrid kernel
            อินเทอร์เฟซ
            พื้นฐาน
            Workplace Shell Graphical user interface
            ลิขสิทธิ์Proprietary

            โอเอส/2 (อังกฤษ: OS/2 อ่านว่าโอเอสทู) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ที่เริ่มแรกพัฒนาโดยไมโครซอฟท์และไอบีเอ็ม แต่ต่อมาทางไอบีเอ็มได้พัฒนาต่อเพียงผู้เดียว ชื่อของโอเอส/2ย่อมาจาก "Operating System/2" การพัฒนาโอเอส/2เริ่มต้นเมื่อสิงหาคม พ.ศ. 2528 ภายใต้ชื่อรหัสว่า ซีพี/ดอส (CP/DOS) โดยใช้เวลาในการพัฒนาทั้งหมดสองปีในการออกรุ่นโอเอส/2 1.0 เมื่อเมษายน พ.ศ. 2530 จนกระทั่งในปี 2533 ไมโครซอฟท์ได้แยกและถอนตัวจากการพัฒนาเมื่อทางไมโครซอฟท์ได้ออกซอฟต์แวร์ วินโดวส์ 3.0 ในขณะที่โอเอส/2 ออกรุ่น 1.3

            โอเอส/2 เลิกพัฒนาตั้งแต่ 31 ธันวาคม 2549

            ต่อมาบริษัท Serenity Systems ได้วางจำหน่ายระบบปฏิบัติการโอเอส/2ภายใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า eComStation โดยเวอร์ชันแรกที่สเถียรคือรุ่น 1.2R ออกเมื่อเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 เวอร์ชันล่าสุดคือรุ่น 2.0 RC7 Silver ออกเมื่อเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2552

                      RISC OS         

                      BEOS           

                      AMIGA           

                      PLAN9          

                      NETWARE

                      เน็ตแวร์ (อังกฤษ: NETWARE) เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่พัฒนาโดย NOVELL และเป็นครั้งแรกที่ใช้ COOPERATIVE MULTITASKING เพื่อให้บริการสิ่งต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ และโพรโทคอลเครือข่ายที่เป็นพื้นฐานบนรูปแบบแรกเริ่มของ XEROX , XNS STACK

                            NETWARE อาจจะถูกแทนที่ด้วย OPEN ENTERPRISE SERVER เวอร์ชันล่าสุดของ NETWARE ก็คือ V.6.5 สนับสนุน PACK 7 ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับ OES 2 NETWARE KERNEL

            ประวัติ

            NetWare วิวัฒนาการมาจากความคิดที่ง่ายมากคือ การแชร์ไฟล์แทนที่การแชร์ดิสก์ ในปี ค.ศ. 1983 เมื่อเวอร์ชันแรกของ Netware ได้ถูกออกแบบมา การแข่งขันของผลิตภัณฑ์อื่นๆทั้งหมด จะมีพื้นฐานบนความคิดที่ว่าการเตรียมการแชร์ดิสก์โดยการเข้าถึงโดยตรง อีกทางเลือกหนึ่งของ Novell ที่จะทำให้เข้าใกล้ความสำเร็จคือ ในปี 1984 โดย IBM ให้ความช่วยเหลือในการโฆษณาผลิตภัณฑ์ไปพร้อมกับผลิตภัณฑ์ของ IBM

            กับ Novell NetWare แล้วที่ว่างบนดิสก์มีการแชร์อยู่ในรูปแบบของ NetWare ทั้งหมดเปรียบได้เท่ากันกับ DOS เครื่องลูกที่ทำงานบนระบบ MS-DOS จะทำงานเป็นแบบที่พิเศษคือแบบ Terminate and Stay Resident (TSR) โปรแกรมจะอนุญาตให้ TSR แมพกับ local drive และส่งไปยังระดับ NetWare เครื่องลูกจะมีการเข้าถึง server ในรายการที่มีการอนุญาตเพื่อการแมพและการสามารถมีการควบคุมซึ่งขึ้นอยู่กับชิ่อที่ทำการ login ในทำนองเดียวกัน NetWare ก็สามารถติดต่อกับการแชร์ปริ๊นเตอร์บน dedicated server และปริ๊นได้ถ้าเครื่องปริ๊นเตอร์มีการเชื่อมต่อแบบ local และการสร้าง NetWare มีอิทธิพลต่อสภาพทางการตลาดในยุคแรกๆและในกลางปี 1990 ด้วยการพัฒนา XNS-derived โพรโทคอล IPX/SPX ตามแบบ local area network (LAN) เป็นมาตรฐาน

            ตอนท้ายปี 1990 ระบบอินเทอร์เน็ตมีการติดต่อกันอย่างรวดเร็ว โดยระบบอินเทอร์เน็ตจะใช้โพรโทคอล TCP/IP มาเป็นส่วนสำคัญของระบบ Novell มีการแนะนำถึงข้อจำกัดของโพรโทคอล TCP/IP ว่ามันจะสนับสนุนเพียง Netware v3.x ( รุ่นปี 1992 ) และ v4.x ( รุ่นปี 1995 ) แต่ NetWare ส่วนใหญ่จะใช้ได้กับโพรโทคอล FTP และ UNIX- style LPR/LPD printing ( เหมาะที่จะใช้ใน NetWare v3.x ) และ Novell ได้พัฒนา webserver ( ใน NetWare v4.x ) โดยทั่วไปโพรโทคอล TCP/IP จะสนับสนุนระบบไฟล์ของเครื่องลูกและการให้บริการพิมพ์แบบปกติ อันเกี่ยวเนื่องกับ Netware ซึ่งได้แนะนำไว้ใน Netware v5.0 ( ปล่อยออกมาในปี 1998 )

            ในขณะที่คุณสมบัติบางประการของ Novell ก็ได้รับมาจาก TCP/IP ซึ่งเป็นโพรโทคอลพื้นฐานที่ใกล้สูญหายของ Netware มันเป็นการแน่นอนว่าการพูดถึง Novell ว่าอนุญาตให้ตัวมันเองเป็น outmarketed ช่วงเวลาในยุคแรกจนกระทั่งกลางปี 1980 บริษัท Microsoft ได้แนะนำพวกเขาให้มาเป็นเจ้าของระบบ LAN ใน LAN-Manager บนพื้นฐานการแข่งขันโพรโทคอล NBF ในยุคแรกได้พยายามถึงความแข็งแกร่งบน Netware ไม่ประสบผลสำเร็จ แต่การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ได้รวบรวมการแก้ไขระบบเครือข่ายเพื่อให้สนับสนุน Windows for Workgroup และจากนั้น Windows NT , Windows 95 ก็ได้ประสบความสำเร็จอย่างมหาศาล โดย Windows NT มีจุดเด่นคือการเสนอการบริการมีความคล้ายคลึงกับการเสนอการบริการของ Netware แต่บนระบบเหล่านั้นยังสามารถใช้งานบนเดสก์ทอปได้ด้วย และการติดต่อโดยตรงถึง Windows desktop อื่นๆในที่ไหนๆ NBF ก็จะถูกใช้เป็นสากล

            จุดเริ่มต้นของ NETWARE

            ความนิยมของผู้ใช้และการเจริญเติบโตของ Novell NetWare เริ่มในปี 1985 ในขณะเดียว กันก็ได้ปล่อยผลิตภัณฑ์ของ NetWare 286 2.0a และโปรเซสเซอร์ Intel 80286 16-bit โดย CPU 80286 มีลักษณะเฉพาะในรูปแบบใหม่ก็คือ มี protection mode เป็น 16 บิต การเข้าถึง RAM 16 MB ตามวิธีการเพื่อสนับสนุน multi-tasking

            ก่อนที่จะมาใช้ CPU 80286 เครื่อง server มีการใช้ Intel 8086/8088 8/16-bit เป็นพื้นฐานมาก่อนซึ่งโปรเซสเซอร์แบบนี้จะจำกัดพื้นที่ว่างของ Address คือใน 1 MB ให้ใช้งานได้ 640 KB หรือต่ำกว่า RAM ที่ใช้อยู่และมีความบกพร่องกว่าแบบ multi-tasking การรวมกันของ RAM 16 MB มีข้อจำกัด โปรเซสเซอร์ 80286 จะมีลักษณะเฉพาะในการใช้ประโยชน์และขนาด 256 MB เป็นขนาดที่จำกัดของ NetWare ที่มีการอนุญาตให้ใช้งานได้ cost-effective server- based ของพื้นที่เครือข่ายท้องถิ่นมีการสร้างขึ้นมาสำหรับช่วงเวลาแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง RAM 16 MB มีการจำกัดความสำคัญ หลักจากที่สร้าง RAM ตามความต้องการสำหรับความจำแคชของดิสก์เพื่อดำเนินการแก้ไขสิ่งที่สำคัญต่างๆ การกลับมาครั้งนี้เป็นกุญแจสู่การดำเนินการของ Novell ในขณะเดียวกันได้มีการอนุญาตให้สร้างเครือข่ายที่ใหญ่กว่าอีกด้วย

            ลักษณะที่สำคัญอื่นๆที่แตกต่างจาก NetWare 286 คือ มันมี hardware ที่ไม่ขึ้นกับใคร หรือเป็นอิสระแตกต่างกับระบบ server ที่มาจาก 3Com โดย Novell server สามรถใช้งานร่วมกับระบบเป็นบางรุ่น เช่นกับ Intel 80286 หรือ CPU ที่ขั้นสูงกว่าหรืออาจใช้ MFM ,RLL,ESDI, หรือ SCSI hard driveและอุปกรณ์เครือข่าย 8 บิต หรือ 16 บิตอื่นๆ แต่มันมีปัญหาอยู่ก็คือการหาไดร์เวอร์ที่มีความเหมาะสม

            Novell ได้ออกแบบให้มีความกะทัดรัดและโปรแกรมซอฟต์แวร์ DOS client ที่ไม่ยุ่งยากและจะอนุญาตให้ DOS station ติดต่อกับ server และการเข้าถึงการแชร์ server hard drive ถึงแม้ว่าระบบไฟล์ของ NetWare server เริ่มนำการออกแบบระบบไฟล์ขึ้นมาใหม่แต่นั้นมันมีกรรมสิทธิ์ มันปรากฏเป็นมาตรฐานซึ่งเข้ากันได้กับ DOS จนถึง Workstation และมีการรับรองการทำงานร่วมกันกับ DOS ยังคงอยู่ทั้งหมด

            ยุคปีแรก

            NetWare อยู่บนพื้นฐานของ consulting work โดยซอฟต์แวร์ SuperSet ก่อตั้งโดยกลุ่มเพื่อนๆได้แก่ Drew Major, Dale Neibaur, Kyle Powell และ Mark Hurst งานนี้มีฐานกำลังอยู่บน ห้องทำงานของพวกเขาเองที่ Brigham Young University ใน Provo, Utah เริ่มในเดือนตุลาคมในปี 1981 ในปี 1983 Raymond Noorda ยุ่งอยู่กับงานที่ทำโดยทีม SuperSet โดยทีมมีความคิดริเริ่มในการกำหนดการสร้างระบบ CP/M disk sharing เพื่อช่วยเหลือเครือข่าย CP/M hardware เช่นนั้น Novell จึงมีการจำหน่ายขณะเวลานี้ ทีมมีความลับที่ทำให้เชื่อมันว่า CP/M จะมีวาระที่จะได้ขึ้นแท่นและจะกลับขึ้นมาแทนที่กับการประสบความสำเร็จของระบบไฟล์แชร์ริ่งเพื่อวิธีการใหม่ IBM จะสามารถเข้ากันได้ดีกับ PC พวกเขาทำการเขียนการร้องขอด้วย application ที่เรียกว่า Snipes กลวิธี text-mode และวิธีใช้งานเพื่อทดสอบเครือข่ายใหม่และแสดงถึงประสิทธิภาพของมัน Snipes เป็น application เครือข่ายอันแรกทีมีการเขียนตลอดการใช้งานสำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และมันเป็นที่รู้จักของผู้ที่ทำงานในด้านนี้มาก่อนที่นิยมใช้ดลวิธีแบบ multiplayer เช่น Doom และ Quake เป็นต้น

            Network operating system (NOS) ในภายหลังเรียกกันว่า Novell NetWare โดย NetWare อยู่บนพื้นฐานของ NetWare Core Protocol (NCP) ซึ่งเป็นโพรโทคอลแบบ packet- based จะเปิดให้เครื่องลูกทำการร้องขอเพื่อการตอบรับจาก NetWare ครั้งแรก NCP คือการจำกัดโดยตรงของโพรโทคอล IPX/SPX ซึ่งมีความมุ่งหมายตั้งแต่แรกว่า NetWare สามารถใช้ IPX/SPX เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารเท่านั้น

            ผลิตภัณฑ์ตัวแรกที่ทรงไว้ในชื่อ NetWare ที่ได้ถูกปล่อยออกมาในปี 1983 มันเรียกว่าNetWare 68 (aka S-Net) มันทำงานบนโปรเซสเซอร์ Motorola 68000 และมี network topology เป็นแบบ star มันถูกแทนที่ในปี 1985 ด้วย NetWare เวอร์ชัน 1.5 ซึ่งมีการเขียนไว้สำหรับ Intel 8086 หลังจากที่โปรเซสเซอร์ Intel 8086 ได้ถูกเปิดตัวออกมาก็ได้ปล่อยผลิตภัณฑ์ NetWare 286ในปี 1986 สิ่งที่เกิดขึ้นเหมือนกันกับการปล่อยผลิตภัณฑ์ของ Intel Novell 80386 คือ Novell ได้มีการปล่อย NetWare 386 ในปี 1989 ต่อมา Novell ได้ทำหมายเลขของ NetWare ที่ปล่อยออกมาให้ดูมั่นคงยิ่งขึ้นโดย NetWare 286 กลายเป็น NetWare 2.x และ NetWare 386 กลายเป็น NetWare 3.xเท่านั้น

            เวอร์ชันของ NETWARE

            NETWARE 286 2.X

            NetWare เวอร์ชัน 2 เป็นเวอร์ชันที่รู้จักกันไปทั่วในเรื่องความยากในการตั้งค่า หลังจากที่ระบบปฏิบัติการเตรียมการรวมกันของการตั้งค่าของ object modules ที่ต้องการตั้งค่าและเชื่อม โยง การรวมกันนั้นไม่มีความสะดวกในการโปรเซสและออกแบบเพื่อการทำงานจาก diskettes หลายๆอันซึ่งจะช้าและไม่น่าเชื่อถือ

            การเปลี่ยนแปลงใดๆของระบบปฏิบัติการต้องการเริ่มการเชื่อมโยงใหม่ของ kernel และการเริ่มต้นการทำงานใหม่จะต้องมีการแลกเปลี่ยน diskettes น้อยกว่า 20 อัน NetWare เป็นการบิหารจัดการที่ใช้ text-based มาทำประโยชน์ เช่น SYSCON เป็นต้น ระบบไฟล์ที่ใช้ NetWare 2 นั้นเป็น NetWare รุ่น 286 หรือ NWFS 286 ที่สนับสนุนในระดับที่ค่อนข้างสูงคือ 256 MB โดย NetWare 286 ยอมรับ protection mode 80286 เท่านั้น และจำกัดการสนับสนุนของ RAM ที่มีขนาด 16 MB หรือต่ำกว่า โดยหน่วยความจำที่มีขนาดเล็กเป็น 2 MB ถ้ามีความต้องการเริ่มการทำงานกับระบบปฏิบัติการจะต้องใช้ RAM อื่นๆร่วมด้วยเพื่อใช้สำหรับ FAT,DET และfile cachingหลังจากที่ protection mode 16 บิต เป็นวิธีการของ i80286 และทั้งหมดที่เป็นรุ่นหลังโปรเซสเซอร์ Intel x86 และ NetWare 286 เวอร์ชัน 2.x มีการทำงานบน 80286 หรือโปรเซสเซอร์รุ่นถัดมาที่เข้ากันได้ NetWare 2 มีวิธีการในการตั้งหมายเลขให้เรียบร้อยและลักษณะเฉพาะของหมายเลขได้แรงบันดาลใจจาก mainframe และระบบ minicomputer ไม่มีความเหมาะสมที่จะใช้ในระบบปฏิบัติการอื่นๆของวันนี้ ลักษณะเฉพาะของ System Fault Tolerance (SFT) ประกอบด้วย มาตรฐาน read-after-write ตามข้อเท็จจริง (SFT- I ) กับ on-the-fly เป็นการบล็อกที่ไม่ดี (ในเวลาที่ดิสก์ไม่มีคุณลักษณะที่จะสร้างได้ ) และซอฟต์แวร์ RAID1 ( ดิสก์ที่มีผิวหน้าสะท้อนแสง SFT-II ) Transaction Tracking System (TTS) เป็นทางเลือกในการป้องกันหรือต้านไฟล์ที่ไม่สมบูรณ์ สำหรับ single file มีความต้องการคุณลักษณะของไฟล์เท่านั้นเพื่อการตั้งค่า การจัดการกับหลายๆไฟล์และการควบคุม roll-back มีความเป็นไปได้ด้วยการโปรแกรมโดย TTS API

            NetWare 286 2.x สนับสนุนสองโหมดของระบบปฏิบัติการคือ dedicated และ non- dedicated โดยในโหมดของ dedicated เครื่อง server จะใช้ boot loader ในการดำเนินการระบบปฏิบัติการไฟล์ net$os.exe หน่วยความจำทั้งหมดมีการจัดสรรเพื่อ NetWare และไม่มี DOS ทำงานบน server สำหรับ non- dedicated จะเป็นระบบปฏิบัติการ DOS 3.3 หรือสูงกว่า การเริ่มต้นการทำงานจะใช้ฟลอปปี้ดิสก์ หรือ bootable DOS จาก hard drive โดยที่ DOS มีการจำกัดหน่วยความจำเพียง 640 MB เท่านั้นเนื่องด้วยไม่มีการอนุญาตการจัดการหน่วยความจำ การขยายตัวทั้งหมดของ RAM เป็นการจัดสรรเพื่อ NetWare 286 และโปรเซสเซอร์จะเป็นแบบ time-slice ระหว่าง DOS กับโปรแกรม NetWare เวลาเล็กๆมีความสบบูรณ์ในการใช้ keyboard ในการขัดจังหวะ ลักษณะเฉพาะนี้ต้องการความแน่นอนและยอมรับได้กับการออกแบบในรูปแบบ IBM PC เป็นการกระทำอย่างหนึ่งที่มีผลกระทบ สำหรับเครือข่ายเล็กๆที่มีผู้ใช้ 2-5 คน โหมด non- dedicated ใน NetWare จึงมีความนิยมมาก อย่างไรก็ตามมันเป็นมากกว่าความรู้สึกไวต่อการเปิดที่เหมาะสมถึงปัญหาของโปรแกรม โดย NetWare 386 3.x และเวอร์ชันต่อไปเท่านั้นที่จะสนับสนุนการกระทำแบบ dedicated

            NETWARE 3.X

            เริ่มต้นกับ NetWare 3.x สนับสนุน protection mode ขนาด 32 บิต เป็นการเพิ่มและจำกัดหน่วยความจำได้แค่ 16 Mb ของ NetWare 286 การปูทางบนเส้นทางสำหรับการสนับสนุน hard drive ที่มีขนาดใหญ่ หลังจากที่ NetWare 3.x ได้ทำสำเนาเป็นแบบ file allocation table (FAT) ทั้งหมดและ directory entry table (DET) ลงไปในหน่วยความจำสำหรับการปรับปรุงการดำเนินการ

            NetWare เวอร์ชัน 3 มีความง่ายต่อการพัฒนาและการจัดการด้วย modularization แต่ละฟังก์ชันมีการควบคุมด้วยรูปแบบของซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า Netware Loadable Module (NLM) โหลดแต่ละอันเริ่มต้นการทำงานหรือเมื่อมีความต้องการ มันมีความเป็นไปได้ถึงการเพิ่มฟังก์ชัน เช่น ซอฟต์แวร์ anti-virus ,ซอฟต์แวร์สำรองข้อมูล,ฐานข้อมูลและ webserver ความยาวของชื่อสนับสนุน (มาตรฐานของชื่อไฟล์จะจำกัดเป็น 8 อักขระรวมกับ 3 ตัวอักษร ) และเข้ากันกับ MS-DOS หรือรูปแบบไฟล์แบบ Macintosh

            NetWare ทำงานจัดการด้วยการใช้คุณสมบัติ console-based ระบบไฟล์ได้มีการแนะนำด้วย NetWare 3.x และใช้งานด้วยค่าเริ่มต้นจนกระทั่ง NetWare 5.x เป็น NetWare File System 386 หรือ NWFS 386 ซึ่งสิ่งสำคัญในการขยายความจุ (1 TB, 4 GB ไฟล์) และสามารถใช้ได้ถึงลำดับ 16 ระดับ การประเมินเซกเมนต์เป็นแบบมัลติฟิสิคอลดิสก์ไดรฟ์ ระดันเซกเมนต์สามารถเพิ่มเข้าไปใน server และเป็นระดับที่ตั้งไว้ อนุญาตให้ server ขยายออกจากการขัดจังหวะ

            ครั้งแรก NetWare ใช้ Bindery Services เพื่อทำให้น่าเชื่อถือเป็นระบบฐานข้อมูลแบบ stand - alone ที่ไหนๆใช้การเข้าถึงและระบบความปลอดภัยของข้อมูลขึ้นอยู่กับรายบุคคลแต่ละ server เมื่อสิ่งที่เป็นโครงสร้างบรรจุมากกว่าหนึ่ง server แล้ว ผู้ใช้มีการ log-in ถึงแต่ละส่วนของพวกเขาเป็นรายบุคคลไปและแต่ละ server มีการตั้งค่ากับรายการของการอนุญาตทั้งหมดของผู้ใช้

            “Netware Name Services”เป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุญาตให้ผู้ใช้ข้อมูลมีการขยายข้อมูลได้ซึ่งตรงข้ามกับแบบ multiple server และ Windows “Domain” มีความคิดเป็นฟังก์ชันที่เทียบเท่ากับ Netware v3.x โดย Bindery Services กับ Netware Name Services ได้เพิ่มอยู่บน (เช่นฐานข้อมูลขนาด 2 มิติกับ flat namespace และ static schema )

            ชั่วขณะหนึ่ง Novell พร้อมด้วยการตลาดของ OEM เวอร์ชันของ Netware 3 ได้ถูกเรียกว่า Portable NetWare พร้อมกันกับ OEM เช่น Hewlett-Packard ,DEC และ Data ผู้ซึ่งถือโค้ด Novell เพื่อทำงานบนระดับสูงของพวกเขาเป็นระบบปฏิบัติการ UNIX และ Netware แบบเดียวกันเท่านั้นที่จะพบกับความสำเร็จที่มีขอบเขต

            ในรุ่น 3.x Novell ได้แนะนำให้มันเป็นสิ่งแรกที่เหมาะที่จะใช้กับระบบ clustering โดยให้มีชื่อว่า Netware SFT-III ซึ่งอนุญาตให้ลอจิคอล server เพื่อให้ความสำเร็จของการแยกกลไกระดับฟิสิคอล วิธีการทำ shared-nothing ให้เป็นกลุ่ม ภายใต้ของ SFT-III ของ OS เป็นเหตุผลในการแบ่งการขัดจังหวะของ อินพุต/เอาต์พุต ของเครื่องและ event-driven OS core โดย อินพุต/เอาต์พุต ของเครื่องทำให้เป็นแบบอนุกรมในการขัดจังหวะ (ดิสก์ เครือข่าย เป็นต้น) ในการรวมกันของเหตูการณ์เป็นกระแสให้ความเหมือนที่น่าเบื่อในการทำสำเนาอยู่สองอย่างเป็นของระบบเครื่องที่เร็วเกินไป (100 Mbit/s) และการเชื่อมโยง inter-server เพราะว่ามันไม่เกี่ยวกับลักษณะของ OS อินพุต/เอาต์พุต ของแบบ non- dedicated เป็นการกระทำแบบเสี่ยงดวงซึ่งเหมือนกับ finite state machine ที่มีขนาดใหญ่

            เอาต์พุตของเครื่อง 2 ระบบ เป็นการเปรียบเทียบถึงการรับรองการปฏิบัติการที่เหมาะสมและทั้งสองสำเนาได้ถูกป้อนกลับสู่อินพุต/เอาต์พุตของเครื่อง และการใช้การดำรงอยู่ของ SFT-II ซอฟต์แวร์ RAID ทำหน้าที่เสนอในแก่นแท้ ดิสก์สามารถสะท้อนระหว่าง 2 เครื่องที่ปราศจากฮาร์ดแวร์ที่มีความพิเศษทั้ง 2 เครื่องสามารถแยกออกได้ไกลพอๆกับ server-to-server ที่มีการอนุญาตให้ติดต่อกัน ในบล็อกของ server หรือดิสก์ที่ไม่สามารถทำงานได้ server ที่คงอยู่ควรจะเข้ามาแทนที่เครื่องลูก หลังจากการหยุดการทำงานที่สั้นมันมีสภาพการประชาสัมพันธ์เต็มรูปแบบและไม่สามารถทำงานได้ตัวอย่างเช่น มีการติดอยู่ในระดับโปรเซสซึ่ง NetWare จะขึ้นชื่อในด้านความล่าช้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น SFT-III เป็น NetWare เวอร์ชันแรกที่สามารถทำให้ใช้ SMPฮาร์ดแวร์ อินพุต/เอาต์พุตของเครื่องสามารถมีคุณสมบัติทำงานบน CPU ของตัวมันเอง

            NetWare SFT-III มีความเป็นอยู่ข้างหน้าของเวลาในหลายๆด้านเป็นการรวมความสำเร็จ มันควรจะมีชื่อเสียงที่มีความนำสมัยของ NetWare’s clustering โดย Novell Cluster Services (ได้แนะนำใน NetWare v5.0) มันมีความแตกต่างอย่างว่าจาก SFT-III NetWare 386 3.x เป็นการออกแบบทั้งหมดของแอปพลิเคชันบน server ที่มีระดับที่เหมือนกันของโปรเซสที่การป้องกันหน่วยความจำจะรู้จักกันใน” ring 0 ” ชั่วขณะที่จัดหาสิ่งที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในการดำเนินการมันเป็นการเสียสละที่น่าไว้วางใจ ผลลัพธ์ที่ได้มันล้มเหลวมันเป็นไปได้และผลลัพธ์ได้ยุติลงพร้อมกับระบบ เริ่มต้นกับ NetWare 5.x รูปแบบซอฟต์แวร์ (NetWare Loadable Modules หรือ NLM’s) สามารถกำหนดการทำงานในโปรเซสเซอร์ที่มีความแตกต่างในการปกป้องการติดต่อเพื่อรับรองว่าซอฟต์แวร์ error หรือไม่และระบบจะไม่ล้มเหลว

            ในการเปรียบเทียบมันช้าพอๆกับ Windows NT v4.0 ส่วนใหญ่แล้ว “best-practices” แนะนำให้อยู่ในทุกเดือนหรือทุกสัปดาห์ในการเริ่มการทำงานใหม่ที่เหมาะสมกับความจำที่เป็นรอยแยก

            NETWARE 4.X

            เวอร์ชัน 4 ในปี 1993 ได้ถูกแนะนำในชื่อ Novell Directory Services (NDS) อยู่บนฐานของ X.500 ซึ่งได้เข้ามาแทนที่ Bindery กับ Directory service ทั้งหมด ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นโครงสร้างเพื่อระบุและจัดการในทีเดียว การเพิ่ม NDS ให้ขยายตัวออกไปได้อนุญาตให้แนะนำชนิดของวัตถุใหม่และอนุญาตให้ผู้ใช้ที่น่าเชื่อถือแค่คนเดียวเพื่อดูแลการเข้าถึง server ที่พวกเขาอยู่ด้วย ถึงแม้ว่าผู้ใช้ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้งานก็ยังคงจำกัดเพราะว่าเป็น server ส่วนบุคคล (โครงการใหญ่ๆสามารถเลือกอนุญาตให้เป็นรูปแบบพื้นฐานของพวกเขาและไม่จำกัดผู้ใช้ต่อ server ถ้าพวกเขาอนุญาตให้ Novell ทำบัญชีจำนวนผู้เข้าใช้ทั้งหมด )

            เวอร์ชัน 4 ได้ถูกแนะนำว่าเป็นหมายเลขเครื่องมือในการใช้ประโยชน์และลักษณะเฉพาะเช่นการบีบอัดที่เข้าใจง่ายที่ระดุบระบบไฟล์และ RSA เป็นทั้ง public/private นอกจากนี้มีลักษณะเฉพาะแบบใหม่เป็น NetWare Asynchronous Services Interface (NASI) มันอนุญาตให้เครือข่ายแชร์อุปกรณ์หลายๆอย่าง เช่น โมเด็ม เป็นต้น และเครื่องลูกเปลี่ยนพอร์ตใหม่ให้เกิดขึ้นโดยทาง MS-DOS หรือ Microsoft Windows ที่อนุญาตให้บริษัททำให้โมเด็มมีความแข็งแรงและใช้สายโทรศัพท์แบบอนาล็อก

            NETWARE 5.X

            กับการปล่อย NetWare 5 ในเดือนตุลาคมปี 1998 สุดท้าย Novell ก็ได้ยอมรับการโผล่ออกมาของอินเทอร์เน็ตโดยการสวิทชิ่งมันเป็นอินเตอร์เฟส NCP แบบปฐมภูมิจาก IPX/SPX เครือ ข่ายโพรโทคอล TCP/IP แต่ยังคงสนับสนุน IPX/SPX อยู่แล้วเปลี่ยนมาเป็นความสำคัญถึง TCP/IP เช่นเดียวกันแล้ว Novell ได้เป็น GUI ให้กับ NetWare โดยมีลักษณะเฉพาะใหม่แบบอื่นๆด้วย

            • Novell Storage Services (NSS) เป็นระบบไฟล์ใหม่ที่เข้ามาแทนที่ NetWare File System ซึ่งยังคงสนับสนุนอยู่
            • มี Java virtual machine สำหรับ NetWare
            • มี Novell Distributed Print Services
            • การบริหารเป็นแบบใหม่โดยใช้ Java – based GUI
            • Directory-enabled ใช้งานแบบ Public key infrastructure services (PKIS)
            • Directory-enabled เป็นทั้ง DNS และ DHCP server
            • สนับสนุนสำหรับ Storage Area Networks (SANs)
            • มี Novell Cluster Services
            • มี Oracle 8i กับการอนุญาตให้มีผู้ใช้ได้ 5 user

            กลุ่มบริการส่วนใหญ่เป็นมากกว่า SFT-III ตามที่ NCS ไม่ต้องการความเชี่ยวชาญด้านฮาร์ดแวร์หรือการตั้งค่า server ที่เหมือนกัน NetWare 5 ได้ถูกปล่อยออกมาระหว่างที่การตลาดของ NetWare หยุดนิ่ง หลายบริษัทและองค์กรต่างๆมีการแทนที่ NetWare server ที่กำลังทำงานกับระบบปฏิบัติการ Microsoft’s Windows NT เช่นนั้นแล้ว Novell ได้ปล่อย NetWare ที่มีการอัพเกรดล่าสุดถึงระบบปฏิบัติการ NetWare 4 , NetWare 4.2

            NetWare 5.1 ได้ถูกปล่อยออกมาในเดือนมกราคมปี 2000 เป็นเวลาสั้นๆจากผลิตภัณฑ์ตัวก่อนมันได้เข้าสู่ประโยชน์ของเครื่องมือ เช่น

            • มี IBM WebSphere Application Server
            • มี NetWare Management Portal (ต่อมาเปลี่ยนเป็นชื่อ Novell Remote Manager) เป็นการจัดการ web server ของระบบปฏิบัติการ
            • มี FTP,NNTP และ streaming media server
            • มี NetWare Web Search Server
            • มีการสนับสนุน WebDAV

            NETWARE 6.0

            NetWare 6 ได้ถูกปล่อยออกมาในเดือนตุลาคมปี 2001 เป็นเวอร์ชันที่มีการอนุญาตทำแผนผังพื้นฐานของผู้ใช้ให้ง่ายขึ้นโดยไม่ใช้ server และได้ลดต้นทุนของกรรมสิทธิ์ลงและอนุญาตให้การติดต่อแบบไม่จำกัดต่อผู้ใช้ การเลี่ยนแปลงอื่นๆคือมีลักษณะเฉพาะและการแก้ไขรวมไว้ในที่นี้

            • เพิ่ม SMP เพื่อสนับสนุนโปรเซสเซอร์ขนาด 32 บิต ต่อ server
            • มี iFolder – location และรูปแบบที่เป็นตัวของตัวเองการเข้าถึงไฟล์แบบ local โดยอัตโนมัติอย่างชาญฉลาดของ local iFolder Directory กับ Directory server
            • มี NetStorage การเข้าถึงไฟล์ส่วนบุคคลผ่าน web server
            • iPrint ความสามารถในการติดตั้งปริ๊นเตอร์จาก web server รองรับการพิมพ์งานมากกว่าการพิมพ์ผ่านอินเทอร์เน็ตด้วยโพรโทคอล IPP
            • iManager การบริหาร web-based สำหรับ NetWare และผลิตภัณฑ์ Novell อื่นๆ
            • มี Apache web server และ Jakarta Tomcat รวมอยู่ด้วย
            • แต่แรกแล้วโพรโทคอลเข้าถึงไฟล์สนับสนุนสำหรับ SMB, AFP และโพรโทคอล NFS จนถึง Windows, Macintosh และ Unix/Linux กับการเข้าถึงไฟล์บน NetWare server โดยปราศจากเครื่องลูก

            NETWARE 6.5

            NetWare 6.5 ได้ถูกปล่อยออกมาในเดือนสิงหาคมปี 2003 บางอย่างของลักษณะเฉพาะในเวอร์ชันนี้คือ

            • เป็นมากกว่าผลิตภัณฑ์ open -source เช่น PHP, MySQL และ OpenSSH
            • พอร์ตของ Bash shell และได้สืบทอดมาจากประโยชน์ของ Unix เช่น wget, grep, awk และ sed เพื่อเพิ่มความสามารถสำหรับการเขียนต้นร่าง
            • สนับสนุน iSCSI (ทั้งคู่มีจุดมุ่งหมายและการริเริ่มเดียวกัน)
            • แก่นแท้ขององค์กรคือ “out of the box” ทางเข้าเว็บสำหรับการเตรียมการเข้าถึงอีเมลของผู้ใช้ ที่เก็บไฟล์ส่วนบุคคล สมุดที่อยู่ของบริษัท
            • มีหน้าที่เกี่ยวกับ Domain controller
            • มี Password เป็นสากล
            • มี DirXML Starter Pack เข้ารหัสของผู้ใช้งานกับอย่างอื่นคือ eDirectory tree,Windows NT Domain หรือ Active Directory
            • มี extend Application Server – a J2EE 1.3 ซึ่งเข้ากันได้กับ Application server
            • สนับสนุนสำหรับ customized printer driver profile และ วิธีการใช้ปริ๊นเตอร์
            • สนับสนุน NX bit
            • สนับสนุนสำหรับอุปกรณ์ต่อพวงแบบ USB
            • สนับสนุนสำหรับระดับการเข้ารหัส
            • สนับสนุน FAB FAB FAB


                      MORPHOS          ZAURUS          VMS          EPOC          SOLARIS

                      โซลาริส (อังกฤษ: SOLARIS) หรือในชื่อเต็ม THE SOLARIS OPERATING ENVIRONMENT เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบยูนิกซ์ ที่พัฒนาโดย ซัน ไมโครซิสเต็มส์

            ระบบปฏิบัติการโซลาริส

            ผู้พัฒนาซัน ไมโครซิสเต็มส์
            ตระกูลยูนิกซ์
            สถานะยังพัฒนาอยู่
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            ผสม open source / closed source
            รุ่นเสถียร11 / 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554; 1013 วันก่อน
            แพลตฟอร์ม
            ที่รองรับ
            SPARC, x86, x86-64
            ชนิดเคอร์เนลMonolithic kernel
            อินเทอร์เฟซ
            พื้นฐาน
            Java Desktop System หรือ CDE
            ลิขสิทธิ์Proprietary software
            เว็บไซต์sun.com/solaris/

            ระบบปฏิบัติการโซลาริส ใช้ได้กับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์สองแบบ คือ แบบ สปาร์ค และแบบ x86 (แบบเดียวกับในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลทั่วไป)

            รุ่นแรก ๆ ของโซลาริสนั้น ใช้ชื่อว่า ซันโอเอส (SunOS) โดยมีพื้นฐานมาจากยูนิกซ์ตระกูลบีเอสดี แต่ต่อมาในรุ่นที่ 5 ได้เปลี่ยนมาใช้โค้ดของซิสเต็มส์ไฟว์ (System V) แทน และเปลี่ยนชื่อมาเป็น โซลาริส ดังเช่นในปัจจุบัน โดยเรียกโซลาริสรุ่นแรกว่า โซลาริส 2 และเปลี่ยนชื่อเรียกของซันโอเอสรุ่นก่อน ๆ เป็น โซลาริส 1.x และหลังจากโซลาริสรุ่น 2.6 ก็ได้ตัด "2." ข้างหน้าออกไป และเรียกเป็น โซลาริส 7 แทน

            รุ่นปัจจุบันของโซลาริสคือ โซลาริส 11

            การพัฒนาบางส่วนของโซลาริสในอนาคต ขณะนี้ได้พัฒนาในโครงการ โอเพนโซลาริส (OpenSolaris) ซึ่งเป็นโครงการระบบปฏิบัติการแบบโอเพนซอร์ซ

            ประวัติ

            ในปี 1987, AT&T และ SUN ได้ประกาศให้บุคคลทั่วไปทราบว่าได้ร่วมกันทำโปรเจกต์ที่มีความลงตัวและต่างจาก Unix อื่น ๆ ออกมาจำหน่ายในเวลานั้นคือ BSD, System V, and Xenix กลายเป็นที่มาของ Unix System V Release 4 (SVR4). วันที่ 4 กันยายน 1991 SUN ได้ประกาศให้มันเข้ามาแทนที่ BSD-derived Unix, SunOS 4 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ SVR4 ที่มีอยู่, เป็นเอกลักษณ์ที่อยู่ภายใน SunOS 5, แต่เปลี่ยนชื่อทางการตลาดว่า Solaris, ในขณะที่ SunOS 4.1.x micro เปลี่ยนชื่อเป็น Solaris 1 จาก SUN, ชื่อ Solaris เกือบจะผูกขาดใช่เรียกทั้ง SVR4-derived SunOS 5.0 ในเวลาต่อมา โดยให้รวบรวมไว้ใน overbrand ใหม่ ยกเว้น SunOS แต่เช่นเดียวกันกับ OpenWindows graphical user interface และ Open Network Computing (ONC) ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง SunOS เวอร์ชันรองลงมาได้ใช้พื้นฐานจาก Solaris และออกสู่ตลาดภายใต้ชื่อ Solaris 2.4, รวบรวมเป็น SunOS 5.4 หลัง Solaris 2.6, โดย SUN ได้วางให้เป็นหมายเลข 2. ไปเรื่อย ๆ Solaris7 รวบรวมเป็น SunOS 5.7 จนถึง SunOS 5.10 จาก Solaris10.Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่ออกแบบสำหรับงานด้านโปรแกรม E-commerce

            สถาปัตยกรรมที่สนับสนุน

            Solaris ใช้ร่วมกับ code base เช่น SPARC และ i86pc (ซึ่งรวมถึง x86 and x64) , Solaris มีชื่อเสียงพอสมควรใน symmetric multiprocessing, และ รองรับ CPU ได้อย่างมากมาย และการกำหนดการใช้งานอย่างเข้มงวดจากฮาร์ดแวร์ Sun's SPARC (รวมถึงสนับสนุนจาก 64-bit SPARC ตั้งแต่ Solaris7) ซึ่งทำเป็นแพ็กเกจร่วมกันออกวางตลาด เป็นระบบที่มีความน่าเชื่อถือ, แต่ราคาธรรมเนียมจะมากกว่าราคาสินค้าของฮาร์ดแวร์ PC, อย่างไรก็ตามมันสนับสนุนระบบ x86 ตั้งแต่ Solaris 2.4 จนถึงเวอร์ชันล่าสุด Solaris10 รวมถึงสนับสนุนจาก 64-bit x86 แอฟฟิเคชั่น Solaris7, SUN ยอมให้ CPU 64- bit เป็นสถาปัตยกรรมจาก x86 64, SUN ได้ประโยชน์จาก Solaris อย่างมากจากผู้ใช้ซึ่งเป็นเจ้าของ x64 ซึ่งเป็นพื้นฐานของ AMD Opteron and Intel Xeon รวมทั้งระบบ x86 ที่โรงงานผลิตของ Dell, Hewlett-Packard, and IBM. ในปี 2007 ผู้ขายทั้งหลายดังที่กล่าวมาได้สนับสนุน Solaris สำหรับระบบเครื่องแม่ข่าย x86

            • Dell ได้ทดสอบและยอมรับว่าเหมาะสมและกลายเป็นสิ่งหนึ่งที่ปรากฏบนเมนูของ Dell
            • IBM ยังเลือก Solaris x86 เป็นระบบพื้นฐานของระบบเครื่องแม่ข่าย
            • Intel
            • Hewlett Packard

            การสนับสนุนแพลต์ฟอร์มอื่น ๆ

            โซลาลิสเวอร์ชัน 2.5.1 รองรับแพลต์ฟอร์ม PowerPC แต่คุณลักษณะนี้ถูกยกเลิกจากโซลาลิสก่อนเวอร์ชัน 2.6 จะออกสู่ตลาด

            ในเดือนมกราคม 2006 นักพัฒนาจากเว็บไซต์ Blastwave เริ่มที่จะทำการพอร์ทโซลาริสให้สนับสนุนแพลต์ฟอร์ม PowerPC อีกครั้งโดยใช้ชื่อว่า Polaris

            ในปี 1997 มีการประกาศว่า Solaris จะรองรับสถาปัตยกรรม Itanium ของ Inter แต่ Solaris เวอร์ชันนี้ไม่เคยออกสู่ตลาด

            ในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2007 IBM, Sun และ Sine Nomine Associated เผยบางส่วน OpenSolaris ที่รองรับ System z ที่รันบน System z เมนเฟรมของ IBM โดยใช้ชื่อว่า Sirius

            วันที่ 17 ตุลาคม 2008 Sirius ตัวต้นแบบถูกเข็นออกสู่ตลาด

            และ Solaris สามารถที่จะรันไบนารี่ของ Linux บนแพลต์ฟอร์ม x86 โดยคุณลักษณะนี้มีชื่อว่า Solaris Containers for Linux Applications หรือ SCLA

            ภาพรวมของเดสก์ท็อป

            Solarisรุ่นล่าสุดที่ใช้ OpenWindows เป็นเดสค์ทอป ใน Solaris ที่ 2.0 ถึง2.2, OpenWindows ที่สนับสนุนทั้งข่าว และ applications, และภายใต้เงื่อนไข backward compatibility สำหรับ SunView จากdesktop environment. SUN ได้สนับสนุนข่าวและ SunView applications: OpenWindows 3. 3 (ซึ่งติดมาด้วยกับ Solaris 2.3) คือพอร์ตของ X11 สมาชิกของCOSE, เป็น Open Software ที่เกี่ยวกับการริเริ่มที่ SUN พัฒนาจาก Desktop ธรรมดา CDE มาเป็น Unix desktop ผู้ขายแต่ละอันจะสนับสนุนส่วนประกอบแตกต่างกันโดย Hewlett- Packard จะจัดการส่วน window manager, IBMจัดการส่วน file manager Sun จะจัดการส่วน e- mail และปฏิทินและสนับสนุนการลากและวาง (ToolTalk ). Solaris 2.5 สนับสนุนCDE, และ OpenWindows ถูกวางบน Solaris 9 Solaris 98/ 03 ยังแนะนำ GNOME 2.0 เป็นทางเลือกของCDE Solaris 10 สนับสนุนระบบเดสค์ทอปภาษาจาวา (Java Desktop System) , สิ่งซึ่งอาศัยพื้นฐานบน GNOME และที่มา กับ applicationsรวมถึงStarOffice SUN บรรยาย JDSว่าเป็น"ส่วนประกอบหลัก"ของ Solaris 10 .

            ลิขสิทธิ์

            Solaris ซอสโค้ดกับ Exception เล็กน้อย ถูกเผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ Common Development and Distribution License (CDDL) โดยใช้ชื่อว่า OpenSolaris ซึ่ง CDDL เป็นลิขสิทธิ์ที่รับรองโดย OSI (Opensource Initative)

            Free Software foundation ถือว่าโซลาลิสเป็นซอร์ฟแวร์ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย แต่ไม่สามารถเข้าได้กับลิขสิทธิ์แบบ GPL

            โครงการ OpenSolaris เริ่มต้นในวันที่ 14 มิถุนายน ค.ศ. 2005 โดยพัฒนามาจากโค้ดของ Solaris โดยสามารถที่จะโหลดโค้ดต้นฉบับหรือไบนารี่ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ปรับคุณลักษณะใหม่ เช่น การรองรับ Xen จะกลายเป็นคุณลักษณะพื้นฐาน Opensolaris ในเวอร์ชันต่อ ๆ ไป Sun ยังกล่าวอีกว่า Solaris ในเวอร์ชันต่อ ๆ ไปจะได้รับแรงผลักดันจากโครงการ OpenSolaris เป็นหลัก

            เวอร์ชัน

            ความสามารถที่โดดเด่นของ Solaris ประกอบไปด้วย DTrace, Doors, Service Management Facility, Solaris Containers, Solaris Multiplexed I/O, Solaris Volume Manager, ZFS, and Solaris Trusted Extensions.เวอร์ชันต่าง ๆ มีดังต่อไปนี้

            Solaris versionSunOS versionRelease dateMajor New Features
            Solaris 10 SunOS 5.10 31January 2005 ส่วนที่สนับสนุนประกอบด้วยx64 (AMD64/EM64T) , DTrace (Dynamic Tracing) , Solaris Containers, Service Management Facility (SMF) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของสคริป, NFSv4. Least privilege เป็นโมเดลรักษาความปลอดภัย. สนับสนุน sun4m และ UltraSPARC. สนับสนุนเอา EISA-based PCs removed ออก. เพิ่ม Java Desktop System (บนพื้นฐาน GNOME) default desktop.

            •Solaris 10 1/06 เพิ่ม GRUB bootloader สำหรับระบบx86 และสนับสนุน iSCSI.

            •Solaris 10 6/06 เพิ่ม filesystem ZFS.

            •Solaris 10 11/06 เพิ่มชนิด Solaris และLogical Domains.

            Solaris 10 8/07 เพิ่ม Samba ที่สนับสนุนการแอคทีฟของไดเรคทอรี, ตัวอย่างIP, สนับสนุนเป้าหมายของiSCSI และเก็บข้อมูล Solaris สำหรับ Linux Applications (บนพื้นฐาน branded zones).

            Solaris 9 SunOS 5.9 28พฤษภาคม 2002 (SPARC)

            10 มกราคม 2003 (x86)

            ใช้iPlanet เป็นไดเรคทอรีเครื่อง Server, จัดการทรัพยากร, Solaris Volume Manager, ขยายลักษณะไฟล์, IKE IPsec, และเพิ่มความเข้ากันได้ของ Linux; ทั้งการวางOpenWindows, เอา sun4dออก. จะอัปเดตให้ Solaris 9 9/05เป็นปัจจุบัน.
            Solaris 8 SunOS 5.8 กุมภาพันธ์ 2000 รวบรวม Multipath I/O, IPMP, สนับสนุน IPv6 และIPsec (แมนนวลทั้งหมด) เป็นครั้งแรก, ใช้โมดูล mdb ในการแก้ไข. แนะนำ Role-Based Access Control (RBAC) ; ยกเลิกสนับสนุน sun4c. อัปเดตล่าสุดใน Solaris 8 2/04.
            Solaris 7 SunOS 5.7 พฤศจิกายน 1998 ออก 64-bit UltraSPARC เป็นรุ่นแรก. เพิ่มการสนับสนุน file system meta-data logging (UFS logging).

            วาง MCA สนับสนุนบนรูปแบบ x86 . อัปเดตล่าสุดใน Solaris 7 11/99.

            Solaris 2.6 SunOS 5.6 กรกฎาคม 1997 รวบรวม Kerberos 5, PAM, ตัวอักษรTrueType, WebNFS, สนับสนุนไฟล์ที่มีขนาดใหญ่ เพิ่ม procfs.

            สนับสนุน SPARCserver 600MP

            Solaris 2.5.1 SunOS 5.5.1 พฤษภาคม 1996 สนับสนุนเฉพาะรูปแบบ PowerPC เท่านั้น; เพิ่มการสนับสนุนUltra Enterprise; user และ group IDs (uid_t, gid_t) ขยายเป็น 32 bits, ยังรวมถึงการเซทโปรเซสเซอร์ และสนับสนุนทรัพยากรเทคโนโลยีตั้งแต่เนิ่น ๆ
            Solaris 2.5 SunOS 5.5 พฤศจิกายน 1995 สนับสนุน UltraSPARC เป็นครั้งแรก และรวมไปถึง CDE, NFSv3 และ NFS/TCP. สนับสนุน sun4 (VMEbus) .

            POSIX.1c-1995 เพิ่ม pthreads . เพิ่มทางเข้าแต่ไม่เพิ่ม document

            Solaris 2.4 SunOS 5.4 พฤศจิกายน 1994 ออกวาง SPARC/x86 เป็นครั้งแรก. รวมถึงสนับสนุน runtime OSF/Motif.
            Solaris 2.3 SunOS 5.3 พฤศจิกายน 1993 SPARC-only release. OpenWindows 3.3 เปลี่ยนจาก NeWS เป็น Display PostScript และสนับสนุนSunView

            สนับสนุนและเพิ่มสำหรับ autofs และ cachefs filesystems.

            Solaris 2.2 SunOS 5.2 พฤษภาคม 1993 ออกวางเฉพาะ SPARC เท่านั้น. สนับสนุนสถาปัตยกรรม sun4d เป็นครั้งแรก. สนับสนุน multithreading libraries

            (UI threads API in libthread)

            Solaris 2.1 SunOS 5.1 ธันวาคม 1992 (SPARC)

            พฤษภาคม 1993 (x86)

            สนับสนุน sun4 และเพิ่มสถาปัตยกรรม sun4m; ออกวางSolaris x86 เป็นครั้งแรก. Solaris 2 สนับสนุน SMP เป็นครั้งแรก.
            Solaris 2.0 SunOS 5.0 มิถุนายน 1992 ออกวางตลาดครั้งแรก, สนับสนุนสถาปัตยกรรม sun4c เท่านั้น. NIS+ ปรากฏตัวป็นครั้งแรก.
            Solaris 1.x SunOS 4.1.x 1991 - 1994 SunOS 4 เปลี่ยนเป็น Solaris 1 สำหรับออกวางตลาด.

            การพัฒนา

            Solaris ที่อยู่ภายใต้ Code Base ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 1980 ได้นำเสนอ Solaris 2.0 จนกระทั่งถึง Solaris 10 ได้พัฒนาโดยการ “train” ซึ่งพัฒนาในแต่ละช่วงเวลาของมัน สืบทอดมาจากโปรเจกต์แต่ละโปรเจกต์และได้ปรับปรุงเป็นเวลาหลายปีจนกระทั่งรุ่นล่าสุดที่ออกมา

            เวอร์ชันของ Solaris ภายใต้การพัฒนาของ SUN ก็คือ codenamed Nevada, ในปี 2003 การเพิ่มกระบวนการพัฒนาของ Solaris ถูกแนะนำภายใต้ชื่อ Solaris Express Developer Edition (SXDE) , การพัฒนาที่ได้จาก “train” ถูกนำมามาให้ดาวน์โหลดและตีพิมพ์ทุก ๆ 3 เดือนและยอมให้บุคคลทั่วไปทดสอบความสามารถและคุณภาพและความเสถียรต่อระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับความก้าวหน้าของ Solaris รุ่นถัดไป

            ในปี 2007 SUN ได้ประกาศความเป็นหนึ่งของ Project Indiana รวมถึงการ open source binary ของ OpenSolaris เพื่อปรับปรุงการติดตั้ง Solaris อีกทั้งแจก packaging โมเดลและเทคโนโลยีเพื่อแทนที่รุ่น SXDE ซึ่งเป็นรุ่นแรก โดยวาแผนเป็นผู้นำในปี 2008 เพราะว่า Solaris ได้เปิดตัวล่วงหน้าสำหรับ Solaris codebase ให้เป็นโปรแกรมไบนารีเท่านั้น แต่ Solaris ได้แสดง Community Release สำหรับผู้พัฒนา OpenSolaris หลังจากนั้นสัปดาห์ต่อมามันก็จะถูกปรับปรุงไว้สำหรับประเมินผลถึงแม้ว่าการดาวน์โหลดจะถูกจำกัดการอนุญาตให้ดาวน์โหลดได้ส่วนบุคคลแต่ก็มีจุดประสงค์เพื่อการศึกษาและประเมินผล

                   IRIX       

                   DARWIN

            ชาลส์ ดาร์วิน
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ชาลส์ ดาร์วิน ในวัย 45 ปี

            วันที่เกิด12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809
            Mount House, ชรูสบรี, ชร็อพไชร์, อังกฤษ
            วันที่เสียชีวิต19 เมษายน ค.ศ. 1882 (73 ปี)
            Down House, Downe, เคนท์, อังกฤษ
            เมืองที่อาศัยอังกฤษ
            สัญชาติอังกฤษ
            เชื้อชาติอังกฤษ
            กลุ่มวัฒนธรรมอังกฤษ
            สาขาประวัติศาสตร์ธรรมชาติ
            สถาบันที่ทำงานGeological Society of London
            สถาบันการศึกษาที่เรียนมหาวิทยาลัยเอดินเบอร์ก
            มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
            อาจารย์ที่ปรึกษาJohn Stevens Henslow
            Adam Sedgwick
            งานที่เป็นที่รู้จักThe Voyage of the Beagle
            On the Origin of Species
            Natural selection
            มีอิทธิพลต่อAlexander von Humboldt
            John Herschel
            Charles Lyell
            ได้รับอิทธิพลจากJoseph Dalton Hooker
            Thomas Henry Huxley
            George Romanes
            Ernst Haeckel
            รางวัลที่ได้รับRoyal Medal (1853)
            Wollaston Medal (1859)
            Copley Medal (1864)
            ลายเซ็น
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

             ชาลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน (อังกฤษ: Charles Robert Darwin FRS; 12 ก.พ. ค.ศ. 1809 – 19 เม.ย. ค.ศ. 1882) เป็นนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ผู้ทำการปฏิวัติความเชื่อเดิม ๆ เกี่ยวกับที่มาของสิ่งมีชีวิต และเสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่ และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (natural selection) เขาตีพิมพ์ข้อเสนอของเขาในปี ค.ศ. 1859 ในหนังสือชื่อ The Origin of Species(กำเนิดของสรรพชีวิต) ซึ่งเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงที่สุดของเขา ผลงานนี้ปฏิเสธแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ทั้งหมดที่เคยมีมาก่อนหน้านี้เกี่ยวกับการกลายพันธุ์ของสปีชีส์ ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1870 ชุมชนวิทยาศาสตร์และสาธารณชนส่วนมากจึงยอมรับทฤษฎีวิวัฒนาการในฐานะที่เป็นความจริง อย่างไรก็ดี ยังมีคำอธิบายที่เป็นไปได้ทางอื่นๆ อีก และยังไม่มีการยอมรับทฤษฎีนี้เป็นเอกฉันท์ว่าเป็นกลไกพื้นฐานของวิวัฒนาการ ตราบจนกระทั่งเกิดแนวคิดการสังเคราะห์วิวัฒนาการยุคใหม่ (modern evolutionary synthesis) ขึ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1930-1950 การค้นพบของดาร์วินยังถือเป็นรูปแบบการควบรวมทางทฤษฏีของศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต ที่อธิบายถึงความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิต

            ความสนใจเกี่ยวกับธรรมชาติตั้งแต่วัยเด็กทำให้ดาร์วินไม่สนใจการศึกษาวิชาแพทย์ในมหาวิทยาลัยเอดินเบอระเลย แต่กลับหันไปช่วยการตรวจสอบสัตว์น้ำที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เมื่อศึกษาที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ได้ช่วยกระตุ้นความหลงใหลในวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมากขึ้น การเดินทางออกไปยังท้องทะเลเป็นเวลา 5 ปีกับเรือบีเกิล (HMS Beagle) และโดยเฉพาะการเฝ้าสำรวจที่หมู่เกาะกาลาปากอส เป็นทั้งแรงบันดาลใจ และให้ข้อมูลจำนวนมาก ซึ่งเขานำมาใช้ในทฤษฎีของเขา ผลงานตีพิมพ์เรื่อง การผจญภัยกับบีเกิล (The Voyage of the Beagle) ทำให้เขามีชื่อเสียงในฐานะนักเขียน

            ด้วยความพิศวงกับการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตในภูมิภาคที่แตกต่างกัน กับฟอสซิลที่เขาสะสมมาระหว่างการเดินทาง ดาร์วินเริ่มการศึกษาอย่างละเอียด และในปี ค.ศ. 1838 จึงได้สรุปเป็นทฤษฎีการคัดเลือกตามธรรมชาติ แม้ว่าเขาจะอภิปรายแนวคิดของตนกับนักธรรมชาติวิทยาหลายคน แต่ก็ยังต้องการเวลาเพื่อการวิจัยเพิ่มเติม โดยให้ความสำคัญกับงานด้านธรณีวิทยา เขาเขียนทฤษฎีของตนขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1858 เมื่อ อัลเฟรด รัสเซล วอลเลซส่งบทความชุดหนึ่งที่อธิบายแนวคิดเดียวกันนี้มาให้เขา และทำให้เกิดการรวมงานตีพิมพ์ของทฤษฎีทั้งสองนี้เข้าด้วยกันในทันที งานของดาร์วินทำให้เกิดวิวัฒนาการสืบเนื่องต่อมา โดยดัดแปลงมาเป็นคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพลยิ่งต่อแนวคิดเรื่องความหลากหลายทางชีววิทยาในธรรมชาติ ในปี ค.ศ. 1871, เขาได้ตรวจดู วิวัฒนาการของมนุษย์ และ การคัดเลือกทางเพศ ใน The Descent of Man, and Selection in Relation to Sex ตามด้วยThe Expression of the Emotions in Man and Animals. งานวิจัยเกี่ยวกับพืชได้ตีพิมพ์เป็นหนังสือชุดหลายเล่ม ในเล่มสุดท้ายเขาได้ตรวจสอบ ไส้เดือนและอิทธิพลที่มันมีต่อดิน

            ดาร์วินได้รับยกย่องในฐานะนักวิทยาศาสตร์โดยมีการจัดพิธีศพอย่างเป็นทางการในมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์ และฝังร่างของเขาไว้เคียงข้างกับจอห์น เฮอร์เชล และ ไอแซก นิวตัน เขาได้รับยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบุคคลผู้ทรงอิทธิพลที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ

            ประวัติ

            วัยเด็กและวัยเรียน

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ชาลส์ ดาร์วิน วัยเจ็ดขวบ เมื่อปี ค.ศ. 1816

            ชาลส์ โรเบิร์ต ดาร์วิน เกิดที่เมืองชรูซบรี ชรอพเชอร์ ประเทศอังกฤษ เมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1809 ที่บ้านของตระกูล คือเดอะเมานท์ เขาเป็นบุตรคนที่ห้าในจำนวนทั้งหมด 6 คนของครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยและมีชื่อเสียงครอบครัวหนึ่งของอังกฤษ บิดาของดาร์วินเป็นนายแพทย์ชื่อว่า โรเบิร์ต วอริง ดาร์วิน มารดาชื่อ ซูซานนา ดาร์วิน (สกุลเดิม เวดจ์วูด) เขาเป็นหลานของเอรัสมัส ดาร์วิน กับ โจสิอาห์ เวดจ์วูด ทั้งสองตระกูลนี้เป็นคริสตชนยูนิทาเรียน (Unitarian) ผู้เคร่งครัดที่เชื่อว่ามีพระเจ้าเพียงองค์เดียว แต่ตัวโรเบิร์ต ดาร์วิน นั้นเป็นคนหัวเสรี และให้ชาลส์บุตรชายไปรับศีลในโบสถ์ของนิกายแองกลิกัน แต่ชาลส์กับพี่น้องก็ไปเข้าโบสถ์ของยูนิทาริสต์กับมารดา เมื่อชาลส์อายุ 8 ขวบ ได้หลงใหลในประวัติศาสตร์ธรรมชาติและเริ่มสะสมสิ่งต่างๆ เมื่อเขาเข้าโรงเรียนเมื่อปี ค.ศ. 1817 มารดาของเขาเสียชีวิตเมื่อเดือนกรกฎาคมปีนั้น นับจากเดือนกันยายน ค.ศ. 1818 เขาก็ไปอยู่ประจำที่โรงเรียนซรูซบรีอันเป็นโรงเรียนนิกายแองกลิกัน กับพี่ชายของตนคือ เอรัสมัส อัลวีย์ ดาร์วิน

            ช่วงฤดูร้อนปี ค.ศ. 1825 ดาร์วินใช้เวลาเป็นผู้ช่วยแพทย์ฝึกหัด โดยช่วยบิดาของตนในการรักษาคนยากจนในชรอพเชอร์ ก่อนจะเข้าเรียนวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอดินเบอระ พร้อมกับเอรัสมัสพี่ชาย ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1825 แต่ดาร์วินกลับเห็นชั่วโมงบรรยายเป็นสิ่งน่าเบื่อ ทั้งไม่ชอบการผ่าตัด จึงไม่เอาใจใส่การเรียน เขาเรียนวิธีสตาร์ฟสัตว์ตายจาก จอห์น เอ็ดมอนสโตน ทาสผิวดำที่ได้เป็นไทซึ่งร่วมงานอยู่กับชาลส์ วอเทอร์ทันในป่าดงดิบตอนใต้ของอเมริกา และมักจะนั่งคุยกับ "ชายผู้เฉลียวฉลาดและน่าคบหา" คนนี้อยู่เป็นประจำ

            เมื่อขึ้นปีสอง ดาร์วินเข้าร่วมสมาคมพลิเนียน (Plinian Society) ซึ่งเป็นกลุ่มศึกษาด้านประวัติศาสตร์ธรรมชาติในมหาวิทยาลัยเอดินเบอระ เขาช่วยเหลือโรเบิร์ต เอ็ดมอนด์ แกรนท์ ในการสำรวจศึกษาลักษณะทางกายภาพและวงจรชีวิตของสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลังในเฟิร์ธออฟฟอร์ธ วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1827 เขานำเสนอการค้นพบของตนต่อสมาคมพลิเนียนว่า จุดสีดำที่พบในเปลือกหอยนางรมนั้นเป็นไข่ของปลิง วันหนึ่ง แกรนท์ยกย่องแนวคิดเรื่องวิวัฒนาการของ ชอง-แบบติสต์ ลามาร์ค (Jean-Baptiste Lamarck) ดาร์วินถึงกับตะลึง แต่ก่อนหน้านั้นเขาเคยอ่านแนวคิดคล้ายคลึงกันนี้จากเอรัสมัสผู้เป็นปู่ และเห็นว่ามันไม่ต่างกัน ดาร์วินค่อนข้างเบื่อหน่ายกับวิชาประวัติศาสตร์ธรรมชาติของโรเบิร์ต เจมสัน ซึ่งวุ่นวายกับธรณีวิทยา รวมถึงการโต้แย้งกันระหว่างทฤษฎีการเกิดของน้ำ (Neptunism) กับทฤษฎีการเกิดพลูตอน (Plutonism) เขาได้เรียนรู้การจัดอันดับของพืช และได้ช่วยงานด้านการเก็บรักษาในรอยัลมิวเซียม ซึ่งเป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ที่ใหญ่ที่สุดในยุโรปในเวลานั้น

            การไม่เอาใจใส่การเรียนแพทย์เช่นนี้ทำให้บิดาของเขาไม่พอใจ ภายหลังจึงส่งเขาไปยังวิทยาลัยไครสต์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เพื่อศึกษาในคณะอักษรศาสตร์สำหรับการเตรียมตัวเข้าบวชในนิกายแองกลิกัน ดาร์วินสอบไทรพอส ไม่ผ่าน จึงสำเร็จการศึกษามาด้วยปริญญาระดับปกติ เมื่อเดือนมกราคม ค.ศ. 1828 ดาร์วินชอบท่องเที่ยวและกีฬายิงปืนมากกว่าการเล่าเรียน ญาติคนหนึ่งของเขาคือ วิลเลียม ดาร์วิน ฟ็อกซ์ จึงแนะนำให้เขาไปเข้าร่วมชมรมสะสมแมลงเต่าทอง ซึ่งดาร์วินตั้งหน้าตั้งตาร่วมกิจกรรมอย่างกระตือรือร้น จนงานค้นพบของเขาได้รับการตีพิมพ์ใน Illustrations of British entomology ของเจมส์ ฟรังซิส สตีเฟน ดาร์วินกลายเป็นเพื่อนสนิทและผู้ติดตามของศาสตราจารย์ด้านพฤกษศาสตร์ จอห์น สตีเฟน เฮนสโลว์ และได้พบปะกับนักธรรมชาติวิทยาชั้นแนวหน้าหลายคน จนกระทั่งใกล้ถึงการสอบปลายภาค ดาร์วินจึงหันมาสนใจการเรียนแล้วมาชื่นชอบงานเขียนของวิลเลียม พาลีย์ Evidences of Christianity ดาร์วินทำคะแนนได้ดีในการสอบไล่ครั้งสุดท้ายในเดือนมกราคม ค.ศ. 1831 โดยได้ลำดับที่ 10 จาก 178 คนที่อยู่ในหลักสูตรปริญญาปกติ

            ดาร์วินยังต้องอยู่เคมบริดจ์จนกระทั่งเดือนมิถุนายน เขาศึกษางานของพาลีย์ เรื่อง Natural Theology ซึ่งทำให้เกิดข้อโต้แย้งเรื่องการออกแบบธรรมชาติจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยอธิบายถึงการปรับตัวของธรรมชาติว่าเป็นการกระทำของพระผู้เป็นเจ้าโดยผ่านกฎของธรรมชาติ เขาอ่านหนังสือใหม่ของจอห์น เฮอร์เชล ซึ่งอธิบายจุดประสงค์สูงสุดของปรัชญาทางธรรมชาติด้วยการทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์เหล่านั้นผ่านการให้เหตุผลโดยอุปนัยโดยมีพื้นฐานจากการสังเกต และงานเขียนของอเล็กซานเดอร์ ฟอน ฮัมโบลท์ เรื่อง Personal Narrative เกี่ยวกับการเดินทางของวิทยาศาสตร์ ด้วยแรงบันดาลใจจากภายใน ดาร์วินวางแผนจะไปเยือนเตเนรีเฟกับเพื่อนร่วมชั้นหลังจากจบการศึกษา เพื่อไปศึกษาประวัติศาสตร์ธรรมชาติในบริเวณภูมิภาคนั้น ระหว่างเตรียมการ เขาเข้าเรียนหลักสูตรธรณีวิทยาของอดัม เซดจ์วิค จากนั้นใช้เวลาครึ่งเดือนในช่วงฤดูร้อนเพื่อทำแผนที่ในเวลส์ และอีก 1 สัปดาห์กับเพื่อนนักเรียนในบาร์มอธ หลังจากนั้นเมื่อเขากลับมาบ้าน จึงได้รับจดหมายฉบับหนึ่งจากเฮนสโลว์เสนอให้ดาร์วินเป็นนักธรรมชาติวิทยา (แม้ยังเรียนไม่จบ) โดยใช้ทุนวิจัยของตนเอง ร่วมกับกัปตันโรเบิร์ต ฟิตซ์รอย ในการเดินทางร่วมกับเรือหลวงบีเกิลที่กำลังจะออกเดินทางไปยังชายฝั่งอเมริกาใต้ภายในเวลา 4 สัปดาห์ บิดาของเขาไม่เห็นด้วยกับการต้องออกเดินทางไปถึง 2 ปี ด้วยเห็นว่าเป็นการเสียเวลาเปล่า แต่จากการเกลี้ยกล่อมของ โจซิอาห์ เวดจ์วูด ผู้เป็นน้องเขย จึงได้ยินยอมให้ดาร์วินร่วมเดินทางได้

            การเดินทางกับเรือบีเกิล

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            เส้นทางการเดินทางสำรวจของเรือหลวงบีเกิล

            การเดินทางเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 1831 และใช้เวลาเดินทางรวมทั้งสิ้น 5 ปี ขณะที่เรือหลวงบีเกิลทำการสำรวจและทำแผนที่ชายฝั่งอเมริกาใต้นั้น ดาร์วินใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่บนฝั่งเพื่อสำรวจด้านธรณีวิทยาและเก็บสะสมตัวอย่างสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์ สมดังที่ที่ฟิตซ์รอยตั้งใจไว้ เขาเขียนบันทึกผลการสังเกตการณ์และการคาดเดาทางทฤษฎีอย่างละเอียด ระหว่างช่วงหยุดพัก ดาร์วินส่งของตัวอย่างกลับไปยังเคมบริดจ์ พร้อมกับจดหมายซึ่งมีสำเนาบันทึกงานเขียน การเดินทางกับเรือบีเกิล (The Voyage of the Beagle) ไปให้ครอบครัวด้วย ดาร์วินค่อนข้างเชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา รวมถึงการสะสมเต่าทอง และการผ่าตัดศึกษาสัตว์ทะเล แต่ในสาขาอื่นๆ แล้วเขาแทบไม่รู้อะไรเลย และเก็บตัวอย่างเอาไว้เพื่อส่งต่อไปให้ผู้เชี่ยวชาญอื่นตรวจสอบ ดาร์วินเมาคลื่นมาก แต่กระนั้นก็ยังเขียนหนังสือมากมายขณะอยู่ในเรือ งานเขียนเชิงสัตววิทยาส่วนใหญ่เกี่ยวกับสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง เริ่มจากแพลงตอนซึ่งเก็บได้ระหว่างช่วงทะเลสงบ

            เมื่อเรือหยุดพักครั้งแรกที่ St. Jago ดาร์วินพบว่าแถบสีขาวที่อยู่ด้านบนหินภูเขาไฟนั้นมีเปลือกหอยอยู่ด้วย ฟิตซ์รอยมอบหนังสือเล่มแรกในชุด Principles of Geology ของ Charles Lyell ให้เขาเพื่อศึกษาแนวคิดหลักความเป็นเอกภาพ (Uniformitarianism) ของผืนดินที่ค่อยๆ ดันตัวขึ้นหรือถล่มลงหลังจากเวลาผ่านไปนานๆ ดาร์วินเห็นเช่นเดียวกับ Lyell และได้เริ่มทฤษฎีและคิดจะเขียนหนังสือเกี่ยวกับธรณีวิทยา ดาร์วินดีใจมากที่พบป่าเขตร้อนที่บราซิล แต่ก็ไม่ชอบใจที่พบเห็นการใช้งานทาสที่นั่น

            ที่ Punta Alta ใน Patagonia เขาได้ค้นพบครั้งใหญ่คือกระดูกฟอสซิลของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ที่สูญพันธุ์ไปแล้วในหุบเขา ข้างกันกับเปลือกหอยใหม่ๆ ซึ่งบ่งชี้ว่าเป็นการสูญพันธุ์เมื่อไม่นานมานี้โดยที่ไม่มีร่องรอยการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศหรือหายนะภัยใดๆ เลย เขาแยกแยะว่าซากนั้นคือ Megatherium โดยดูจากฟันและความสัมพันธ์ของโครงกระดูกซึ่งในตอนแรกเขาคิดว่าดูเหมือน armadillo ในท้องถิ่นที่มีขนาดยักษ์ การค้นพบนี้กลายเป็นจุดสนใจอย่างมากเมื่อพวกเขากลับไปยังอังกฤษ ขณะขี่ม้าไปกับพวกกอโช (gaucho) สู่ด้านในแผ่นดินเพื่อสำรวจทางธรณีวิทยาและเก็บรวบรวมฟอสซิลเพิ่มขึ้น เขาได้รับมุมมองด้านสังคม การเมือง และมานุษยวิทยา ในหมู่ชนพื้นเมืองกับชาวอาณานิคมในยุคของการปฏิวัติ และได้เรียนรู้ว่านก rhea สองชนิดนั้นอยู่แยกกันแต่มีอาณาเขตที่คาบเกี่ยวกัน ยิ่งสำรวจไกลลงไปทางใต้ เขาแลเห็นที่ราบลดหลั่นกันเป็นชั้น เต็มไปด้วยกรวดและเปลือกหอยเหมือนกับชายหาดที่ยกตัวขึ้นมา เขาอ่านหนังสือเล่มที่ 2 ของ Lyell และยอมรับมุมมองว่าด้วย "ศูนย์กลางการสร้างสรรค์" ของสปีชีส์ แต่การค้นพบของเขากับทฤษฎีที่คิดขึ้นมานั้นท้าทายต่อแนวคิดของ Lyell ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องราบรื่น กับการสูญพันธุ์ของบางสปีชีส์

                      HPUX          UNICOS          MINIX          AIX          CHROME OS          UNICOS          MINIX          AIX          CHROME OS

            กูเกิล โครมโอเอส

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ผู้พัฒนากูเกิล
            ตระกูลลินุกซ์
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            โอเพนซอร์ซ
            รุ่นเสถียร0.17.1412.234.0 (Stable)
            12 มี.ค. 2012; 2 ปีก่อน
            แพลตฟอร์ม
            ที่รองรับ
            x86, ARM
            ชนิดเคอร์เนลMonolithic kernel

              กูเกิล โครมโอเอส (อังกฤษ: Google Chrome OSเป็นโครงการระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและผลิตโดยกูเกิล โดยเป้าหมายสำหรับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเวิลด์ไวด์เว็บเป็นหลัก เปิดตัวเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ซอฟต์แวร์นี้พัฒนาต่อจากกูเกิลโครม และเคอร์เนิลลินุกซ์ โดยตัวระบบปฏิบัติการนี้มุ่งเน้นสำหรับคอมพิวเตอร์ในลักษณะของเน็ตบุ๊ก โดยวางแผนจะเปิดใช้งานในปี พ.ศ. 2553 ระบบปฏิบัติการจะทำงานกับโพรเซสเซอร์ x86 หรือ ARM architecture 

            นอกจากนี้กูเกิลได้กล่าวไว้ว่าภายในสิ้นปี 2552 ระบบปฏิบัติการตัวนี้จะเป็นโครงการในลักษณะโอเพนซอร์ซ ระบบปฏิบัติการตัวนี้จะสามารถใช้แทนระบบปฏิบัติการวินโดวส์ ถึงแม้ว่าซอฟต์แวร์นี้จะพัฒนาตามลินุกซ์เคอร์เนิลก็ตาม

            บริษัทที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาได้แก่ ควอลคอมม์ เทกซัสอินสตรูเมนตส์ โตชิบา ฟรีสเกล เลโนโว เอเซอร์ อะโดบี อัสซุส และ ฮิวเลตต์-แพคการ์ด

            คุณสมบัติ

            หน้าตา

            ลักษณะ interface ของ กูเกิล โครมโอเอส มีลักษณะเหมือน กูเกิล โครม ที่เป็นเบราว์เซอร์ของกูเกิล

            โปรแกรม

            โปรแกรมที่สามารถทำงานได้ คือ เหล่าเว็บแอปพลิเคชัน หรือก็คือเว็บไซต์ที่สามารถทำงานได้เหมือนโปรแกรมที่ติดตั้งลงคอมพิวเตอร์ ซึ่งมันมีข้อดีตรงที่ตัวเว็บแอปพลิเคชันจะมีการอัปเดตตลอดเวลา และเมื่อมีการแก้ไขข้อผิดพลาดก็ไม่จำเป็นต้องติดตั้งตัวแก้

            ความปลอดภัย

            ตัวโครม โอเอสมีพื้นฐานของระบบปฏิบัติการยูนิกส์ทำให้มีความปลอดภัย นอกจากนี้ยังมีระบบ sandbox ซึ่งจะแบ่งที่ให้โปรเซสไว้โดยที่แต่ละโปรเซสมิอาจยุ่งกับโปรเซสอื่นได้ และยังมีระบบอัปเดตอัตโนมัติด้วย

            แหล่งข้อมูลอื่น

            • Chrome OS FAQ
            • รายการฮาร์ดแวร์ที่สามารถใช้งานโครมโอเอสได้

            [ซ่อน]

            •    
            •    

            กูเกิล และผลิตภัณฑ์จากบริษัท

            บุคลากรหลัก

            เอริก ชมิดต์ (ผู้อำนวยการ) เซอร์เกย์ บริน (ผู้ร่วมก่อตั้ง ประธานฝ่ายเทคโนโลยี) แลร์รี เพจ (ผู้ร่วมก่อตั้ง ประธานฝ่ายผลิตภัณฑ์)

            โฆษณา

            แอดแมนิเจอร์ • แอดสเคป • แอดเซนส์ • แอดเวอร์ไทซิงโพรเฟสชันนัลส์ • แอดเวิดส์ • แอนะลิติกส์ • เช็กเอาต์ • ดับเบิลคลิก

            การสื่อสาร

            อะเลิตส์ • แคเลนเดอร์ • เฟรนด์คอนเนกต์ • จีเมล • กรุ๊ปส์ • ทอล์ก • ละติจูด • ออร์กัต • เควสชันส์แอนด์แอนเซอร์ส • รีดเดอร์ • ทรานสเลต • วอยซ์ • เวฟ • กูรู

            ซอฟต์แวร์

            โครม • โครมโอเอส • เดสก์ทอป • เอิร์ธ • แกเจตส์ • จีเมลโมบายล์ • แพ็ก • ปีกาซา • พาวเวอร์มิเตอร์ • สเก็ตช์อัป • ทอล์ก • ทูลบาร์ • อัปเดตเตอร์ • เออร์ชิน

            แพลตฟอร์ม

            แอกเคาต์ • แอนดรอยด์ • แอปเอนจิน • แอปส์ • เบส • บิ๊กเทเบิล • กาจา • โคออป • เกียรส์ • ไฟล์ซิสเท็ม • เฮลท์ • เนทีฟไคลเอนต์ • โอเพนโซเชียล • เวฟเฟเดอเรชันโพรโทคอล

            เครื่องมือพัฒนา

            เอแจ็กซ์เอพีไอส์ • โค้ด • แกเจตส์เอพีไอ • จีเดตา • กูเกิลบอต • กุยซ์ • เว็บเซิร์ฟเวอร์ • อิมเมจเลเบิลเลอร์ • เคเอ็มแอล • แมปรีดิวซ์ • พินอิน • สเก็ตช์อัปรูบี • ไซต์แมปส์ • ซัมเมอร์ออฟโค้ด • เทคทอล์ก • เว็บทูลคิต• เว็บไซต์ออปทิไมเซอร์

            เผยแพร่สารสนเทศ

            บล็อกเกอร์ • บุ๊กมาร์กส • ด็อกส์ • ฟีดเบิร์นเนอร์ • ไอกูเกิล • ไจกุ • โนล • แมปเมกเกอร์ • พาโนรามีโอ • ปีกาซาเว็บอัลบัมส์ • ไซตส์ (จอตสปอต) • ยูทูบ

            สืบค้น (เพจแรงก์)

            เสิร์ชแอปพลิแอนซ์ • ออดิโออินเด็กซิง • บุ๊กเสิร์ช • โค้ดเสิร์ช • เดสก์ทอป • แฟสต์ฟลิป • ไฟแนนซ์ • กูก-411 • อิมเมจเสิร์ช • แผนที่ (สตรีตวิว) • นิวส์ • แพเทนตส์ • พรอดักต์เสิร์ช • สคอเลอร์ • เสิร์ชวิกิ • ยูสเน็ต •วิดีโอ • วิดีโอ • เว็บเสิร์ช • วิเคราะห์: อินไซตส์ฟอร์เสิร์ช • เทรนดส์ • เว็บมาสเตอร์ไกด์ไลนส์

            ยุติการให้บริการ

            แอนเซอรส์ • เบราว์เซอร์ซิงก์ • คลิกทูคอล • ดอดจ์บอล • โชกาโบนีโต • ไลฟ์ลี • แมชอัปเอดิเตอร์ • โน้ตบุ๊ก • เพจครีเอเตอร์ • วิดีโอมาร์เก็ตเพลซ • เว็บแอกเซเลอเรเตอร์

            อื่น ๆ

            กูเกิลบอมบ์ • การตรวจพิจารณา • คำวิจารณ์ • กูเกิลไชน่า • กูเกิลดอตอ็อก • กูเกิลเพลกซ์ • ข่าวลวง • ไอ/โอ • แลปส์ • เครื่องหมายการค้า • ลูนาร์เอกซ์ไพรซ์ • เวนเชอรส์ • วายฟาย • ไซต์ไกสต์

            คำขวัญ: Don't be evil เว็บไซต์: Google.com

                  IOS

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            iOS

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ผู้พัฒนาแอปเปิล (บริษัท)
            เขียนด้วยC, C++, อ็อบเจกทีฟ-ซี, จาวา (มีข้อพิพาท)
            ตระกูลแมคโอเอสเท็น, ยูนิกซ์
            สถานะยังให้บริการอยู่
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์
            วันที่เปิดตัว29 มิ.ย. 2007; 7 ปีก่อน
            ภาษาสื่อสาร34 ภาษา
            แพลตฟอร์ม
            ที่รองรับ
            ARM (ไอโฟน, ไอพอด, ไอแพด, ไอแพดมินิ, และรุ่น 2 หรือสูงกว่า แอปเปิลทีวี), Apple A4, Apple A5, Apple A5X, Apple A6, Apple A6X
            ชนิดเคอร์เนลแบบผสม (XNU)
            อินเทอร์เฟซ
            พื้นฐาน
            Cocoa Touch (มัลติทัช, GUI)
            ลิขสิทธิ์กรรมสิทธิ์ EULA ยกเว้นชิ้นส่วนโอเพนซอร์ส
            เว็บไซต์www.apple.com/ios/

            ไอโอเอส (ก่อนหน้านี้ใช้ชื่อ ไอโฟนโอเอส) คือระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพา (สมาร์ตโฟน,แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์) พัฒนาและจำหน่ายโดยแอปเปิล (บริษัท) เปิดตัวครั้งแรกในปี 2007 เพื่อใช้บนไอโฟน และได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมเพื่อใช้บนอุปกรณ์พกพาอื่นๆ ของแอปเปิล เช่น ไอพอดทัช(ในเดือนกันยายน 2007), ไอแพด (ในเดือนมกราคม 2010), ไอแพด มินิ (พฤศจิกายน 2012) และ แอปเปิลทีวี รุ่นที่ 2 (ในเดือนกันยายน 2010) ไอโอเอสแตกต่างจากวินโดวส์โฟนของไมโครซอฟท์และแอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)ของกูเกิล ตรงที่แอปเปิลไม่อนุญาตให้นำไอโอเอสไปติดตั้งบนอุปกรณ์ที่ไม่ใช่อุปกรณ์ของแอปเปิล ในเดือนสิงหาคม 2013 แอปสโตร์ของแอปเปิลมีแอปพลิเคชันมากกว่า 900,000 แอปพลิเคชัน และ 375,000 ที่ออกแบบมาเพื่อ ไอแพด แอปพลิเคชันเหล่านี้มียอดดาวโหลดน์รวมกันมากกว่า 5 หมื่นล้านครั้ง ไอโอเอสมีส่วนแบ่ง 21% ของส่วนแบ่งระบบปฏิบัติการบนอุปกรณ์พกพาในไตรมาสที่ 4 ของปี 2012 ซึ่งเป็นรองจากแอนดรอยของกูเกิลเท่านั้น ในเดือนมิถุนายน 2012 ไอโอเอสมีส่วนแบ่งคิดเป็น 65% ของการบริโภคข้อมูลบนอุปกรณ์พกพา (ซึ่งรวม ไอพอดทัช และ ไอแพด) ในกลางปี 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอสมากกว่า 410 ล้านเครื่องที่เปิดใช้งาน จากการอ้างอิงจากงานแถลงเปิดตัวต่อสื่อโดยแอปเปิลใน วันที่ 12 กันยายน 2012 มีอุปกรณ์ไอโอเอส 400 ล้านตัวที่จำหน่ายไปแล้วในเดือนมิถุนายน 2012

            ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของไอโอเอสมีพื้นฐานแนวคิดมาจาก "การควบคุมโดยตรง" (direct manipulation) ด้วยการใช้มัลติทัช องค์ประกอบของการควบคุมก็คือการใช้นิ้วเลื่อน, สวิทช์ และปุ่ม เพื่อเป็นการควบคุมอุปกรณ์รวมถึงท่าทางอย่างอื่น เช่น การนำนิ้วมือ (มากกว่าสองนิ้ว) บีบเข้าหาศูนย์กลาง (swipe), แตะเบาๆ (tap), การนำนิ้วสองนิ้วบีบเขาหาศูนย์กลาง (pinch), การนำนิ้วสองนิ้วกางออกจากศูนย์กลาง (reverse pinch) ซึ่งทั้งหมดนี้มีความหมายที่เจาะจงในบริบทต่างๆ ของไอโอเอสและถือเป็นการใช้งานแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบมัลติทัช ภายในอุปกรณ์ที่ติดตั้งไอโอเอสจะมีเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหวเพื่อใช้กับบางแอปพลิเคชันเพื่อตอบสนองการสั่นของอุปกรณ์ หรือการหมุนอุปกรณ์ที่คำนวณในรูปแบบสามมิติ

            ไอโอเอสมีต้นกำเนิดมาจากแมคโอเอสเท็นซึ่งได้รากฐานมาจากดาร์วินและแอปพลิเคชันเฟรมเวริค์ต่างๆ ไอโอเอสคือรุ่นพกพาของแมคโอเอสเท็นที่ใช้บนคอมพิวเตอร์ของแอปเปิล

            รุ่นหลักของไอโอเอสจะมีการเปิดตัวทุกๆ ปี ในปัจจุบันได้มีการปล่อยตัวไอโอเอส 7 ซึ่งเป็นรุ่นล่าสุดในวันที่ 18 กันยายน ปี 2013

            เวอร์ชัน

            รายการรุ่นของไอโอเอส
            รุ่นเปิดตัวครั้งแรกรายละเอียดหลัก
            1.X 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550 เปิดตัวพร้อมกับ iPhone 2G รุ่นแรก โดยใช้ชื่อว่า 

            iPhone

              OS
            2.X 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2551 รองรับสำหรับการใช้งานใน iPhone 3G และ iPod Touch ซึ่งเปิดตัวเป็นครั้งแรก ทั้งยังรองรับ App store เป็นครั้งแรก
            3.X 17 มิถุนายน พ.ศ. 2552 รองรับสำหรับการใช้งานใน iPhone 3GS สามารถคัดลอกและวางข้อความ และส่ง MMS ได้
            4 21 มิถุนายน พ.ศ. 2553 รองรับสำหรับการใช้งานใน iPhone 4 เป็นรุ่นแรกที่ใช้ชื่อว่า iOS อย่างเป็นทางการ โดยใช้ชื่อว่า iOS 4 โดยเป็นเวอร์ชันแรกที่ iPhone รุ่นแรกไม่รองรับ ในรุ่นนี้รองรับฟังก์ชันมากมาย อาทิ Multitasking เป็นต้น และในรุ่น 4.2.1 เป็นรุ่นแรกที่เริ่มใช่งานใน ไอแพด ซึ่งเปิดตัวเป็นครั้งแรก
            5 6 มิถุนายน พ.ศ. 2554 รองรับสำหรับการใช้งานใน iPhone 4S รุ่นนี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบหน้าตาของฟังก์ชันพื้นฐาน และรองรับระบบต่างๆมากมาย อาทิ ไอคลาวด์ และ สิริ เป็นต้น
            6 19 กันยายน พ.ศ. 2555 รองรับสำหรับการใช้งานใน iPhone 5 และไอพอดทัช รุ้นที่ 5 เปลี่ยนไปใช้ระบบแผนที่ของ TomTom, สามารถ Facetime ผ่านระบบเซลลูล่าร์, การถ่ายภาพแบบพาโนรามา, คีย์บอร์ดภาษาไทยแบบ 4 แถว, แอปพลิเคชันนาฬิกาสำหรับ iPad
            7 10 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เปลี่ยนส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ใหม่ทั้งหมดให้เป็นแบบเรียบง่าย เพิ่มสถานีวิทยุไอจูนส์ ศูนย์การตั้งค่าด่วน บริการส่งไฟล์ระหว่างอุปกรณ์ของแอปเปิลผ่านแอร์ดรอป และเสริมความสามารถของซีรี(อังกฤษ: Siri) หรือที่แผลงเป็น สิริ
            8 2 มิถุนายน พ.ศ. 2557 เพิ่มไอคลาวด์ไดรฟ์ การแจ้งเตือนแบบอินเตอร์แอกทีฟ การสนับสนุนแป้นพิมพ์จากผู้พัฒนาอื่นนอกเหนือแอปเปิล การแบ่งปันข้อมูลในอุปกรณ์ของแอปเปิลภายในครอบครัว และระบบการค้นหาใหม่

            ระบบที่รองรับ

            ระบบและโปรแกรมของแอปเปิล ที่สามารถรองรับในไอโอเอสรุ่นต่างๆ

            การใช้งานพื้นฐาน
            ตระกูล iPhone iPod Touch iPad iPad Mini
            รุ่น1st3G3GS44S55C5Sรุ่น 1รุ่น 2รุ่น 3รุ่น 4รุ่น 5รุ่น 12รุ่น 3รุ่น 4Airรุ่น 1รุ่น 2
            Phone โทรศัพท์ 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 N/A N/A N/A
            Mail รับส่งอีเมล 1.1.3 2.1.1 3.1.1 4.1 6.0 3.2 4.3 5.1 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            Safari เว็บเบราว์เซอร์ 1.1
            Music เครื่องเล่นเพลงแบบพกพา N/A 5.0 5.0
            Videos เครื่องเล่นวีดีโอ 3.2 4.3
            SpringBoard หน้าจอหลัก (โฮมสกรีน) 1.0 2.0 3.0 4.0
            ค้นหาโดย Spotlight 3.0 3.0
            โฟลเดอร์ N/A 4.0 N/A 4.0 4.2.1
            ภาพพื้นหลังหน้าจอหลัก N/A 4.0 N/A 4.0 3.2
            การใช้งานขั้นรอง
            ตระกูล iPhone iPod Touch iPad iPad Mini
            รุ่นรุ่น 13G3GS44S55C5Sรุ่น 1รุ่น 2รุ่น 3รุ่น 4รุ่น 5รุ่น 12รุ่น 3รุ่น 4Airรุ่น 1รุ่น 2
            Messages การส่งข้อความตัวอักษร 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 N/A N/A N/A
            MMS N/A 3.0
            iMessage เมสเซนเจอร์ N/A 5.0 N/A 5.0 6.0 5.0 5.1 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            Calendar ปฎิทิน 1.0 2.0 3.0 4.0 1.1 2.1.1 3.1.1 4.1 3.2 4.3
            Photos ดูรูปภาพ
            ดูวีดีโอ 2.0 2.0
            การตัดขอบ, แก้ตาแดง, การปรับอัตโนมัติ และการหมุนภาพ N/A 5.0 N/A 5.0 N/A 5.0

            Camera

            ถ่ายรูป 1.0 2.0 3.0 4.0 N/A 4.1 N/A 4.3
            ถ่ายวีดีโอ N/A
            โฟกัสอัติโนมัติ 4.0 N/A N/A
            HDR N/A 4.1
            การตัดขอบ, แก้ตาแดง, การปรับอัตโนมัติ และการหมุนภาพ 5.0 5.0 5.0
            พาโนรามา N/A 6.0 N/A N/A N/A
            จับรูปภาพจากเฟรมวีดีโอ N/A N/A
            คุณลักษณะ 7.0 7.0
            ระบบจับตำแหน่งใบหน้า N/A 7.0 N/A
            FaceTime การสนทนาแบบเห็นหน้า ผ่าน Wi-Fi N/A 4.0 5.0 6.0 7.0 N/A 4.1 6.0 4.3 5.1 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            การสนทนาแบบเห็นหน้า ผ่าน 3G/LTE N/A 6.0 N/A N/A N/A 6.0 6.0.1 6.0.1
            FaceTime ด้วยเสียง 7.0 7.0 7.0 7.0
            Photo Booth การประยุกต์การใช้กล้องพร้อมการเพิ่มลูกเล่นพิเศษ N/A N/A 4.3 5.1 6.0 6.0
            Stocks รายงานราคาหุ้น โดยข้อมูลจาก Yahoo! Finance 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0 6.0 7.0 1.1.3 2.1.1 3.1.1 4.1 6.0 N/A N/A
            รายงานราคาหุ้น ผ่าน Notification Center N/A 5.0 N/A 5.0
            สภาพอากาศ รายงานสภาพอากาศโดยข้อมูลจาก Yahoo!

            Weather

            1.0 2.0 3.0 4.0 1.1.3 2.1.1 3.1.1 4.1
            รายงานสภาพอากาศ ผ่าน Notification Center N/A 5.0 N/A 5.0 N/A 7.0 7.0.3 7.0 7.0.3
            Notes โปรแกรมจดบันทึกอย่างง่าย 1.0 2.0 3.0 4.0 1.1.3 2.1.1 3.1.1 4.1 3.2 4.3 5.1 6.0 6.0
            Maps เอจีพีเอส N/A N/A 6.0.1 6.0.1
            แผนที่ของแอปเปิ้ล N/A 6.0 N/A 6.0 6.0 N/A 6.0 6.0
            เทิร์น-บาย-เทิร์น เนวิเกชัน โดยร่วมกับแผนที่ของแอปเปิ้ล N/A 6.0 N/A
            Newsstand ร้านค้าหนังสือพิมพ์และนิตยสาร N/A 5.0 5.0 5.0 N/A 5.0 5.0 5.1 6.0 6.0
            Reminders รายการที่ต้องทำ
            แจ้งเตือนสิ่งที่ต้องทำเมื่อถึงที่หมาย N/A N/A N/A 6.0.1 6.0.1
            Voice Memos บันทึกเสียง 3.0 3.0 4.0 3.0 3.1.1 4.1 6.0 N/A N/A
            Calculator เครื่องคิดเลข 1.0 2.0 1.1 2.1.1
            Scientific calculator (triggered by rotating to landscape) 2.0 2.0
            Clock เวลานานาชาติ, สตอปวอทช์, นาฬิกาปลุก และเครื่องจับเวลา 1.0 1.1 N/A 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            Settings ตั้งค่าอุปกรณ์ 3.2 4.3 5.1 6.0
            Contacts บัรทึกรายชื่อและข้อมูลผู้ติดต่อ 2.0
            iTunes เข้าถึงไอทูนส์มิวสิกสโตร์ และ ไอทูนส์พ็อดคาสต์ไดเรกทอรี 1.1
            App Store การซื้อแอปพลิเคชันในระบบไอโอเอส 2.0 2.0
            Compass เข็มทิศ N/A N/A N/A N/A
            Nike + iPod บันทึกระยะทางและความเร็วในการเดินหรือวิ่ง; สามารถเชื่อมต่อกับไนกี้ พลัส ไอพอดเซ็นเซอร์ได้ (ถูกปิดอยู่โดยค่าเริ่มต้น – สามารถเข้าไปตั้งค่าเพื่อใช้งานได้) N/A 2.1.1 3.1.1 4.1 6.0
            Game Center ระบบบันทึกคะแนนและข้อมูลผู้เล่นออนไลน์ โดยสามารถเพิ่มเพื่อนได้ 4.1 4.1 4.2.1 4.3 5.1 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            การสั่งงานด้วยเสียง สั่งงานด้วยเสียงอย่างงาย 3.0 4.0 N/A 3.1.1 4.1 N/A N/A
            Siri ผู้ช่วยด้วยเสียงส่วนตัว N/A N/A N/A 6.0 6.0 7.0.3 6.0 7.0.3
            Voice dictation 5.1
            Touch ID ระบบจดจำลายนิ้วมือ โดยแสกนที่ปุ่มโฮม;
            สแกนเพื่อปลดล็อคเครื่อง และการซื้อสินค้าจาก iTunes/App Store
            N/A 7.0 N/A N/A N/A
            Passbook ประยุกต์การใช้กระเป๋าเงินเสมือนจริง, ตั๋ว, คูปอง และบัตรโลยอลตี้ N/A 6.0 7.0 N/A 6.0 N/A N/A
            CarPlay ระบบสั่งการและฟังก์ชั่นในรถยนต์ N/A 7.1.1 N/A N/A N/A
            AirDrop การส่งไฟล์ขั้นพื้นฐานผ่าน Wi-Fi/Bluetooth N/A 7.0 N/A 7.0 N/A 7.0 7.0
            ยุติการสานต่อ
            ตระกูล iPhone iPod Touch iPad
            รุ่นรุ่น 13G3GS44Sอื่นๆรุ่น 1รุ่น 2รุ่น 3รุ่น 4รุ่น 5รุ่น 12รุ่น 3อื่นๆ
            iPod iPhone media player, iPad music player 1.0 2.0 3.0 4.0 N/A N/A 3.2 4.3 N/A
            YouTube การรับชม YouTube แบบไม่ต้องลงแอป 5.0 N/A 1.1 2.1.1 3.1.1 4.1 N/A 5.1 N/A
            Maps กูเกิล แมปส์ พร้อมด้วย กูเกิล สตรีตวิว 1.1.3

            ช่วงเวลาสายการผลิต

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ที่มา: คลังแถลงข่าวของแอปเปิล  ฐานข้อมูลโมเดลโดย Mactracker 

                      THAIOS

                      SURIYAN

            สุริยัน

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            หน้าจอของระบบปฏิบัติการสุริยัน

            ผู้พัฒนาฝ่ายโอเพนซอร์ส สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
            ตระกูลลินุกซ์
            สถานะยุติการพัฒนา
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            โอเพนซอร์ส
            รุ่นเสถียร54.10rc10 / 23 ธันวาคม พ.ศ. 2554
            ภาษาสื่อสารภาษาไทย
            เว็บไซต์เว็บทางการของระบบปฏิบัติการสุริยัน

            สุริยัน (Suriyan) คือชื่อของระบบปฏิบัติการในลักษณะของลินุกซ์ที่ปัจจุบันพัฒนาต่อมาจากอูบุนตูโดยเพิ่มความสามารถภาษาไทย พัฒนาโดยฝ่ายโอเพนซอร์ส สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ ซิป้า โดยจะเจาะจงกลุ่มเป้าหมายสำหรับผู้ใช้ทั่วไป ทั้งการใช้ที่บ้าน ที่สำนักงาน ในสถานศึกษา สำหรับคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ในรูปแบบคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์พกพา รุ่นเสถียรล่าสุดคือ 54.10

            เหตุมีชื่อว่า สุริยัน นั้นเป็นเพราะมีโครงการคู่กันที่เชื่อว่า จันทรา ซึ่งเป็นโครงการรวมโปรแกรมโอเพนซอร์สของไมโครซอฟท์วินโดวส์ โดยมีการพัฒนาต่อเนื่องกว่า สุริยัน ในปัจจุบันเมื่อได้รับการยอมรับมาขึ้นได้เปลี่ยนชื่อเป็น ไทยโอเอส

            ตั้งแต่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (วันที่แจ้งข่าว) โครงการนี้ได้ยุติการพัฒนา ด้วยเหตุผลว่าสำนักงานฯ ไม่จำเป็นต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตัวเอง ควรส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการแทน

            ประวัติ

            โครงการสุริยัน ลินุกซ์ เป็นความต้องการของซิป้า ที่จะทำให้ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยลดการใช้งานซอฟต์แวร์พาณิชย์ที่ผิดกฎหมายและเป็นการลดการค่าใช้จ่ายของประเทศ สร่างความยั่งยืนให้กับประเทศไทย เปิดตัวโครงการครั้งแรกในงาน ICT Export 2007 จัดในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ. 2548 ในบูตของสำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ หรือ ซีป้า ในขณะมีเพียงแผ่นจันทราเท่านั้นที่ได้รับการแจกจ่าย ส่วนแผ่นของสุริยัน ผู้สนใจต้องทำการลงชื่อแล้วการแจกจ่ายจะดำเนินการต่อไปหลังจากแผ่นต้นแบบเสร็จแล้ว หลังจากนั้นมีทบทวนกันใหม่อีกครั้งเกี่ยวกับโครงการในสายพัฒนาเพราะว่าไม่ต้องการให้ซับซ้อนกับลินุกซ์ทะเลของเนคเทค

            รุ่นของสุริยัน

            • Suriyan 52.04
            • Suriyan 52.10
            • Suriyan 53.04
            • Suriyan 53.10
            • Suriyan 54.04
            • Suriyan 54.10
            • Suriyan 55.04

                      ANDROID

                 แอนดรอยด์ (ระบบปฏิบัติการ)

            Android (แอนดรอยด์)

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
             
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            แอนดรอยด์ 4.4 คิทแคท บนเน็กซัส 5

            ผู้พัฒนา
            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell
             กูเกิล, โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์, แอนดรอยด์ โอเพนซอร์ซเซอร์วิส
            ตระกูลระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์
            สถานะพัฒนา
            รูปแบบ
            รหัสต้นฉบับ
            ฟรี และ โอเพนซอร์ส
            วันที่เปิดตัว21 ตุลาคม พ.ศ. 2551; 2127 วันก่อน
            รุ่นเสถียร4.4.4 KitKat (คิทแคท) / 5 ธันวาคมพ.ศ. 2556; 256 วันก่อน
            แพลตฟอร์ม
            ที่รองรับ
            ARM, MIPS, Power Architecture,x86
            ชนิดเคอร์เนลMonolithic (ลินุกซ์)
            ลิขสิทธิ์Apache 2.0 and GPLv2
            เว็บไซต์android.com

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            กาแล็กซี เน็กซัส

            แอนดรอยด์ (อังกฤษ: Androidเป็นระบบปฏิบัติการที่มีพื้นฐานอยู่บนลินุกซ์ ในอดีตถูกออกแบบมาสำหรับอุปกรณ์ที่ใช้จอสัมผัส เช่นสมาร์ตโฟน และแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันได้แพร่ไปยังอุปกรณ์หลายชนิดเพราะเป็นมาตาฐานเปิด เช่น 

            Nikon

            S800C กล้องดิจิตอลระบบแอนดรอยด์ หม้อหุงข้าว Panasonicระบบแอนดรอยด์ และ Smart TVระบบแอนดรอยด์ รวมถึงกล่องเสียบต่อ TV ทำให้สามารถใช้ระบบแอนดรอยด์ได้ด้วย Android Wear นาฬิกาข้อมือระบบแอนดรอด์ เป็นต้น ถูกคิดค้นและพัฒนาโดยบริษัท แอนดรอยด์ (Android, Inc.) ซึ่งต่อมา กูเกิล ได้ทำการซื้อต่อบริษัทในปี พ.ศ. 2548 แอนดรอยด์ถูกเปิดตัวเมื่อ ปี พ.ศ. 2550 พร้อมกับการก่อตั้งโอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ ซึ่งเป็นกลุ่มของบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์ และการสื่อสารคมนาคม ที่ร่วมมือกันสร้างมาตรฐานเปิด สำหรับอุปกรณ์พกพา โดยสมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เครื่องแรกของโลกคือ เอชทีซี ดรีม วางจำหน่ายเมื่อปี พ.ศ. 2551

            แอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ซ และกูเกิลได้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์อาปาเช ซึ่งโอเพนซอร์ซจะอนุญาตให้ผู้ผลิตปรับแต่งและวางจำหน่ายได้ รวมไปถึงนักพัฒนาและผู้ให้บริการเครือข่ายด้วย อีกทั้งแอนดรอยด์ยังเป็นระบบปฏิบัติการที่รวมนักพัฒนาที่เขียนโปรแกรมประยุกต์ มากมาย ภายใต้ภาษาจาวา ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 มีโปรแกรมมากกว่า 700,000 โปรแกรมสำหรับแอนดรอยด์ และยอดดาวน์โหลดจากกูเกิล เพลย์ มากถึง 2.5 หมื่นล้านครั้ง จากการสำรวจในช่วงเดือน เมษายน ถึง พฤษภาคม ในปี พ.ศ. 2556 พบว่าแอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัติการที่นักพัฒนาเลือกที่จะพัฒนาโปรแกรมมากที่สุด ถึง 71%

            ปัจจัยเหล่านี้ทำให้แอนดรอยด์เป็นระบบปฏิบัติการที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน นำหน้าซิมเบียน ในไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2553และยังเป็นทางเลือกของผู้ผลิตที่จะใช้ซอฟต์แวร์ ที่มีราคาต่ำ, ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ดี สำหรับอุปกรณ์ในสมัยใหม่ แม้ว่าแอนดรอยด์จะดูเหมือนได้รับการพัฒนาเพื่อใช้กับสมาร์ตโฟนและแท็บเล็ต แต่มันยังสามารถใช้ได้กับโทรทัศน์, เครื่องเล่นวิดีโอเกม, กล้องดิจิทัล และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ แอนดรอยด์เป็นระบบเปิด ทำให้นักพัฒนาสามารถพัฒนาคุณสมบัติใหม่ๆ ได้ตลอดเวลา

            ส่วนแบ่งทางการตลาดของสมาร์ตโฟนแอนดรอยด์ นำโดยซัมซุง มากถึง 64% ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2556 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2556 มีอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์มากถึง 11,868 รุ่น จาก 8 เวอร์ชันของระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ความสำเร็จของระบบปฏิบัติการทำให้เกิดคดีด้านการละเมิดสิทธิบัตรที่เรียกกันว่า "สงครามสมาร์ตโฟน" (smartphone wars) ระหว่างบริษัทผู้ผลิต ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 โปรแกรม 4.8 หมื่นล้านโปรแกรมได้รับการติดตั้งบนอุปกรณ์จากกูเกิล เพลย์ และในวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556 มีอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 1 พันล้านเครื่อง ได้ถูกเปิดใช้งาน

            ประวัติ

            บริษัทแอนดรอยด์ ก่อตั้งขึ้นที่พาโลอัลโต รัฐแคลิฟอร์เนีย ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2546 โดยแอนดี รูบิน (ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทแดนเจอร์),  ริช ไมเนอร์ (ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทไวลด์ไฟร์คอมมูนิเคชัน), นิก เซียส์ (ซึ่งเคยเป็นรองผู้จัดการที่ทีโมบายล์) และ คริส ไวท์ (หัวหน้าฝ่ายออกแบบและการพัฒนาอินเตอร์เฟซ ที่เว็บทีวี) สำหรับการพัฒนานั้น จากคำพูดของรูบิน "โทรศัพท์มือถือที่มีความฉลาดขึ้นและตระหนักถึงสถานที่ของเจ้าของมากขึ้น" จุดประสงค์แรกของบริษัทคือการพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับกล้องดิจิทัล แต่เมื่อถูกตระหนักว่าไม่ใช่ตลาดที่กว้างพอ และต่อมาได้เบี่ยงเบนความพยายามเพื่อที่จะทำระบบปฏิบัติการสำหรับสมาร์ตโฟน เพื่อแข่งกับซิมเบียน และ วินโดวส์โมเบิล (ในขณะนั้น ไอโฟน ยังไม่ได้วางขาย) แม้จะมีประวัติความสำเร็จของผู้ก่อตั้งและพนักงานของบริษัทในช่วงแรก บริษัทแอนดรอยด์ ได้ดำเนินการอย่างเงียบๆ ให้เห็นเพียงว่าเป็นบริษัทที่ผลิตระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือ ในปีเดียวกัน รูบิน ไม่มีเงินเหลือแล้ว สตีฟ เพอร์ลแมน เพื่อนสนิทของรูบิน ได้ให้ยืมเงิน 10,000 ดอลลาร์สหรัฐ โดยส่งเงินใส่ในซองมาให้ และ ปฏิเสธที่จะถือหุ้นในบริษัท

            กูเกิล ได้ซื้อกิจการบริษัทแอนดรอยด์ ในวันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2548 เพื่อให้มาเป็นบริษัทย่อยในเครือของกูเกิล โดยบุคคลสำคัญของบริษัทแอนดรอยด์ ทั้ง รูบิน, ไมเนอร์ และ ไวท์ ยังอยู่กับบริษัทหลังจากถูกซื้อกิจการ มีผู้คนไม่มากที่รู้จักบริษัทแอนดรอยด์ ในช่วงเวลานั้น แต่หลายคนสันนิษฐานว่ากูเกิลกำลังวางแผนที่จะเข้ามาสู่ตลาดโทรศัพท์มือถือจากการซื้อกิจการครั้งนี้ ที่กูเกิล รูบินนำทีมที่จะพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับโทรศัพท์มือถือซึ่งขับเคลื่อนโดยลินุกซ์ เคอร์เนล ในตลาดมือถือของกูเกิล จะมีสัญญากับผู้ให้บริการเครือข่าย ต่อมากูเกิลได้เริ่มวางแผนในเรื่องของส่วนประกอบฮาร์ดแวร์, ซอฟต์แวร์ และผู้ให้บริการเครือข่าย

            ความตั้งใจของกูเกิล ที่จะเข้าสู่ตลาดเครื่องมือสื่อสาร อย่างโทรศัพท์มือถือได้มาถึงช่วงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2549 ตามรายงานของบีบีซี และ วอลล์สตรีตเจอร์นัล ได้ตั้งข้อสังเกตว่า กูเกิลพยายามที่จะผลิตโทรศัพท์มือถือที่ใช้สำหรับค้นหา และ ใช้โปรแกรมประยุกต์ หรือ แอปพลิเคชันได้ และกูเกิลได้ทำงานอย่างหนักเพื่อสิ่งนี้ และมีข่าวลือว่า กูเกิลจะพัฒนาโทรศัพท์มือถือภายใต้ชื่อสินค้าของตนเอง บางคนก็สันนิษฐานว่ากูเกิลจะกำหนดคุณสมบัติต่างๆ ของโทรศัพท์มือถือ และส่งให้กับผู้ผลิต และ ผู้ให้บริการเครือข่าย ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2550 อินฟอร์เมชันวีก (InformationWeek) ร่วมมือกับ เอแวลูเซิร์ฟ (Evalueserve) เพื่อที่จะศึกษารายงานของกูเกิลในการยื่นสิทธิบัตรเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือ

            ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โอเพนแฮนด์เซตอัลไลแอนซ์ ซึ่งเป็นกลุ่มพันธมิตรในด้านเทคโนโลยี ซึ่งรวมไปด้วยกูเกิล กับผู้ผลิตอุปกรณ์เช่นเอชทีซี, โซนี่ และ ซัมซุง รวมไปถึงผู้ให้บริการเครือข่ายเช่น สปรินต์ เน็กเทล และ ทีโมบายล์ และบริษัทผลิตฮาร์ดแวร์เช่น ควอล์คอมม์ และ เท็กซัสอินสตรูเมนส์ ได้เปิดเผยในเป้าหมายเพื่อการพัฒนาโทรศัพท์มือถือที่มีมาตรฐานเปิด ในวันเดียวกัน แอนดรอยด์ได้เปิดตัวสินค้าชิ้นแรก ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มโทรศัพท์มือถือ สร้างบนลินุกซ์ เคอร์เนล 2.6 ส่วนโทรศัพท์มือถือเครื่องแรกที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์คือเอชทีซี ดรีม เปิดตัวเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551

            ในปี พ.ศ. 2553 กูเกิลได้เปิดตัว กูเกิล เน็กซัส ซึ่งเป็นซีรีส์หรือตระกูลของอุปกรณ์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์โดยไม่ปรับแต่งใดๆ จากผู้ผลิต ซึ่งผลิตโดยผู้ผลิตที่เป็นพาร์ตเนอร์กับกูเกิล โดยเอชทีซี ร่วมมือกับกูเกิล ในการเปิดตัวสมาร์ตโฟนเน็กซัสรุ่นแรก มีชื่อว่า เน็กซัสวัน โดยซีรีส์นี้จะได้รับการอัปเดตรุ่นใหม่ก่อนอุปกรณ์อื่นๆ กูเกิลได้เปิดตัวโทรศัพท์และแท็บเล็ต ซึ่งเป็นรุ่นเรือธงของแอนดรอยด์ โดยจะใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์รุ่นล่าสุดของแอนดรอยด์ ต่อมาในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2556 แอนดี รูบิน ได้ถูกย้ายจากฝ่ายแอนดรอยด์ ไปยังฝ่ายการผลิตใหม่ของกูเกิล ซึ่งตำแหน่งของรูบิน ถูกแทนที่ด้วยซันดาร์ พิชัย ที่จะทำงานในตำแหน่งหัวหน้าของฝ่ายกูเกิล โครมด้วย ซึ่งเขาเป็นผู้พัฒนาโครมโอเอส

            ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 แอนดรอยด์ได้ใช้การอัปเดตแบบเรียงตามเลขรุ่น ซึ่งจะมีการปรับปรุงส่วนต่างๆ ของระบบปฏิบัติการ, เพิ่มคุณสมบัติใหม่ และ แก้ไขข้อผิดพลาดในรุ่นก่อนหน้า โดยแต่ละรุ่นจะมีชื่อเฉพาะเรียงตามลำดับตัวอักษรและจะใช้ชื่อจากขนมหวาน เช่น รุ่น 1.5 "คัพเค้ก" 1.6 "โดนัท" รุ่น 4.3 "เจลลีบีน" และล่าสุด รุ่น 4.4 "คิทแคท" ซึ่งได้เปิดตัวเมื่อวันที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2556

            รายละเอียด

            หน้าตาของระบบ

            ส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ (user interface) ของแอนดรอยด์ มีพื้นฐานอยู่บนอินเตอร์เฟซแบบไดเรกต์มานิพูเลชัน (Direct manipulation) ซึ่งจะใช้การสัมผัสที่สอดคล้องกับการกระทำในโลกความจริง เช่นการปัด, การแตะ, การกวาดนิ้ว รวมไปถึงการใช้นิ้วหมุนบนหน้าจอ การตอบสนองการสัมผัสนี้ ได้รับการออกแบบมาอย่างดี และมักจะใช้การสั่นของอุปกรณ์ตอบโต้ว่าผู้ใช้ได้สัมผัสแล้ว ฮาร์ดแวร์เพิ่มเติมภายในเช่น เข็มทิศดิจิทัล, ไจโรสโคป และ เซ็นเซอร์วัดแสง จะได้รับการนำมาใช้เพิ่มเติมในการตอบสนองต่างๆ กับผู้ใช้ เช่นการหมุนหน้าจอจากแนวตั้งเป็นแนวนอน หรือการเล่นเกมแข่งรถที่ต้องใช้การหมุนอุปกรณ์ เป็นต้น

            อุปกรณ์แอนดรอยด์จะบูตเข้าหน้าหลัก ซึ่งเป้นหน้าจอหลักในการนำทางไปทุกๆ ที่ในอุปกรณ์ เหมือนกับเดสก์ท็อป บนเครื่องคอมพิวเตอร์ หน้าจอหลักของแอนดรอยด์จะสามารถวางไอคอนของแอปพลิเคชัน และ วิดเจ็ต โดยไอคอนของแอปพลิเคชันนั้นสามารถแตะเพื่อกดเข้าแอปพลิเคชันได้โดยตรง, สภาพอากาศและพยากรณ์อากาศที่อัปเดตอยู่ตลอดเวลา, กล่องขาเข้าของอีเมล รวมไปถึงหน้าจอข่าวด้วย หน้าจอหลักสามารถสร้างได้หลายหน้า โดยผู้ใช้สามารถปัดเพื่อเลื่อนไป-มา ระหว่างหน้าได้ แม้ว่าหน้าจอหลักของแอนดรอยด์ที่จะสามารถให้ผู้ใช้สามารถปรับแต่งได้ตามต้องการ เพื่อที่จะให้ผู้ใช้รู้สึกดีตามรสนิยมของตนเอง แอปพลิเคชันอื่นๆ มีให้ดาวน์โหลดบนกูเกิล เพลย์ และแอปหลายตัวสามารถที่จะเปลี่ยนรูปแบบหรือธีม ของหน้าจอหลักได้ แม้กระทั่งการเปลี่ยนหน้าจอเลียนแบบระบบปฏิบัติการอื่นๆ เช่นวินโดวส์โฟน ผู้ผลิตต่างๆ และ ผู้ให้บริการเครือข่ายบางราย จะปรับแต่งให้หน้าตาของหน้าจอหลักเปลี่ยนไปจากเดิม เพื่อให้แตกต่างจากคู่แข่งของพวกเขา

            ด้านบนของหน้าจอจะเป็นแถบสถานะ ซึ่งจะแสดงถึงข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับอุปกรณ์ และ การเชื่อมต่อต่างๆ แถบสถานะสามารถดึงลงมาเพื่อที่จะสแดงการแจ้งเตือนบนหน้าจอเมื่อแอปพลิเคชันแจ้งเตือนข้อมูลหรือมีอัปเดต เช่นการได้รับข้อความใหม่ ในรุ่นก่อนๆ ของแอนดรอยด์ สามารถแตะที่การแจ้งเตือนเพื่อเปิดแอปพลิเคชันได้โดยตรง แต่รุ่นล่าสุดได้เพิ่มคุณสมบัติการทำงานที่มากขึ้น เช่นความสามารถในการโทรกลับจากการแจ้งเตือนสายที่ไม่ได้รับโดยไม่ต้องเปิดแอปโทรศัพท์ การแจ้งเตือนจะหายไปเมื่อผู้ใช้อ่าน หรือ ทำการลบการแจ้งเตือน

            แอปพลิเคชัน (โปรแกรมประยุกต์)

            แอนดรอยด์มีแอปพลิเคชันที่เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งผู้ใช้สามารถซื้อและดาวน์โหลดได้จากกูเกิล เพลย์ หรือ แอมะซอน แอปสโตร์ และสามารถที่จะดาวน์โหลดไฟล์ APK ได้จากเว็บไซต์ต่างๆ แอปพลิเคชันจากเพลย์สโตร์อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลด และ อัปเดต ได้จากกูเกิล และ นักพัฒนาที่พัฒนาแอปนั้นๆ รวมไปถึงความสามารถในการติดตั้งกับอุปกรณ์ที่สามารถเข้ากันได้กับแอปพลิเคชัน ซึ่งนักพัฒนาอาจจำกัดด้วยเหตุผลทางด้านอุปกรณ์, ประเทศ หรือเหตุผลทางธุรกิจ เมื่อซื้อแอปแล้วสามารถขอคืนเงินได้ภายใน 15 นาที หลังจากการดาวน์โหลด และบางผู้ให้บริการจะเก็บเงินด้วยใบเสร็จจากการซื้อแอปบนกูเกิล เพลย์ ซึ่งจะคิดเงินเพิ่มเติมจากค่าใช้บริการรายเดือนปกติ ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2555 แอปพลิเคชันสำหรับแอนดรอยด์มีมากถึง 675,000 แอป และมียอดดาวน์โหลดแอปพลิเคชันจากเพลย์สโตร์ทั้งหมด 2.5 พันล้านครั้ง

            แอปพลิเคชันจะเขียนโดยใช้ภาษาจาวา และใช้แอนดรอยด์ซอฟต์แวร์เดเวล็อปเมนต์คิต (Android software development kit) หรือ SDK โดยเอสดีเคจะประกอบด้วยชุดเครื่องมือต่างๆ นานาในการพัฒนาแอปพลิเคชัน รวมไปด้วยตัวรีบัก, แหล่งรวมซอฟต์แวร์ต่างๆ, ตัวจำลองแฮนด์เซต, โคดจำลอง และวิธีใช้ต่างๆ

            ส่วนในประเทศจีนนั้น จะมีการจำกัดการใช้อินเทอร์เน็ตต่างๆ ของทางรัฐ โดยอุปกรณ์แอนดรอยด์ที่วางขายในประเทศจีนนั้นจะถูกจำกัดบริการบางอย่าง และ จะมีเพียงแค่บริการที่ได้รับอนุมัติจากรัฐบาลแล้วเท่านั้น

            การจัดการหน่วยความจำ

            อุปกรณ์แอนดรอยด์นั้นจะมีการใช้งานแบตเตอรี ทำให้แอนดรอยด์ได้รับการออกแบบเพื่อจัดารหน่วยความจำ หรือ แรม สำหรับการใช้พลังงานที่น้อยที่สุด ในทางตรงข้ามกันกับคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ ซึ่งจะมีพลังงานให้ใช้ได้อย่างไม่จำกัด เมื่อแอปพลิเคชันของแอนดรอยด์ไม่ได้ใช้งาน ระบบจะจัดการจัดเก็บไว้ในหน่วยความจำ (เมื่อเปิดแอปพลิเคชันทิ้งไว้ในการใช้งาน)

            แอนดรอยด์จะจัดการแอปพลิเคชันในหน่วยความจำอัตโนมัติ ซึ่งเมื่อแรมเหลือน้อย ระบบจะจัดการปิดแอปพลิเคชันและบริการต่างๆ ที่กำลังทำงานอยู่ทันที โดยกระบวนการนี้ผู้ใช้จะไม่สามารถมองเห็นมันได้ อย่างไรก็ตามจะมีแอปพลิเคชันบนกูเกิล เพลย์ ที่จะสามารถจัดการและปิดแอปพลิเคชันได้ ซึ่งคาดกันว่าให้ผลร้ายมากกว่าผลดี

            รุ่น

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ตัวอย่างสมาร์ตโฟน เอชทีซี อีโว 4จี ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

            รายละเอียดรุ่นของแอนดรอย์ ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2553

            รุ่นพัฒนาของแอนดรอยด์จะใช้รหัสชื่อเป็นชื่อขนมหวาน โดยมีตัวอักษรขึ้นต้นเรียงลำดับกัน

            สาเหตุ รุ่น 5.0 เพิ่งเปิดตัวให้นักพัฒนาได้ใช้งาน ยังไม่ปล่อยให้ผู้ใช้งานได้ใช้งาน

              วิวัฒนาการของ แอนดรอยด์ (Android)

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

                 แอนดรอยด์ เริ่มพัฒนาเมื่อปี พ.ศ.2550 โดยบริษัท แอนดรอยด์ร่วมกับ Google จากนั้น เมื่อปี พ.ศ. 2550 ได้มีการร่วมมือกันกว่า 30 บริษัทชั้นำเพื่อพัฒนาระบบ โดยใช้ชื่อกลุ่มว่า OHA (Open Handset Alliance) โดยแบ่งออกเป็นเวอร์ชั่น และมีชื่อเรียกแต่ละเวอร์ชั่นเป็นชื่อขนมหวาน โดยเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Zเรามาค่อยๆ ดูไปทีละเวอร์ชั่นของ แอนดรอยด์ว่ามีวิวัฒนาการเป็นอย่างไร แล้วปัจจุบัน มันไปถึงเวอร์ชั่นอะไรแล้ว

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

                    แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.0
              ในรุ่นนี้ยังไม่มีชื่อเล่น (หากมีชื่อเล่น จะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A) ออกตัวเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.2550

                       

              แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.1

              ในรุ่นนี้ยังไม่มีชื่อเล่น (หากมีชื่อเล่นจะต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร B ออกตัวเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2552 เป็นรุ่นที่พัฒนาแก้ไขบั๊ก (Bug) ของเวอร์ชั่นก่อนหน้าคือ เวอร์ชั่น 1.0 โดยในรุ่นนี้ได้มีการนำไปใช้งาน โดยติดตั้งอยู่ใน HTC Dream(G1)

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น HTC Dream (G1) ที่ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.0 เป็นระบบปฏิบิติการ

                       แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.5 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า คัพเค้ก (Cupcake) เปิดตัวเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ.2552 เป็นรุ่นที่ถูกนำมาผลิตเพื่อการค้าอย่างเต็มรูปแบบ และบริษัทที่นำมาใช้ในโทรศัพท์ของตนเองพร้อมขายทั่วโลกคือ Samsung โดยนำมาติดตั้งในเครื่อง Samsung i5700 Spica

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น Samsung i5700 Spica ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.5
              หรือ แอนดรอยด์ คัฟเค้ก (Cupcake) เป็นระบบปฏิบัติการ

                          แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.6 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โดนัท (Donut) ออกตัวเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ.2552 มีการปรับปรุงแก้ไขข้กบกพร่องของเวอร์ชั่น 1.5 มีโทรศัพท์หลายรุ่นที่ได้นำมาใช้ โดยแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้สามารถจัดให้มีการอัพเกรดออนไลน์ (Over The Air : OTA)

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น HTC A3288 Tattoo Android Donut ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 1.6
              หรือ แอนดรอยด์ โดนัท (Donut) เป็นระบบปฏิบัติการ

                         แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.0 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า อีเคร์ (Eclair) แปลว่า ขนมหวานรูปยาวมีคริมข้างในออกตัวเมื่อวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2552 โดยบริษัท Motorola ได้นำเวอร์ชั่นนี้ลงบนโทรศัพท์แบบสไลด์ ชื่อรุ่น Milestones ประเทศไทยได้นำมาวางขายผ่านเครือข่าย True

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น Motorola Milestones ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.0
              หรือ แอนดรอยด์ อีเคร์ (Eclair) เป็นระบบปฏิบัติการ

                           แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.2 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า โฟรโย่ (Froyo) แปลว่าโยเกิร์ตแช่แข็ง (Froyo - Frozenyogurt) ออกตัวเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2553 โดยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกติดตั้งในโทรศัพท์รุ่น Google Nuxus One ซึ่งบริษัท Google มอบหมายให้ทางบริษัท HTC เป็นโรงงานผลิต

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น HTC Google Nexus One ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.2
              หรือ แอนดรอยด์ โฟรโย่ (Froyo) เป็นระบบปฏิบัติการ

                           แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.3 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า จิงเกอร์เบรด (Gingerbread) เจ้าขนมปังขิง ออกตัวเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2553 เป็นรุ่นที่ถือได้ว่ามีการนำมาใช้งานในโทรศัพท์มือถือมากที่สุดความสามารถที่เพิ่มเข้ามาในเวอร์ชั่นนี้จะพิเศษที่ระบบการสื่อสารแบบใหม่ชื่อเรียกว่า Near Field Communication (NFC) เป็นระบบการจ่ายเงินผ่านโทรศัพท์ได้ โดยที่โทรศัพท์ต้องมีอุปกรณ์ที่รองรับระบบ NFC ด้วย เวอร์ชั่นนี้ได้ถูกลงบนโทรศัพท์ของ Google เช่นเดิม เป็นรุ่นที่ 2 ต่อจาก HTC Nexus One แต่ครั้งนี้ Google ให้บริษัท Samsung เป็นผู้ผลิตให้ และใช้ชื่อว่า Google Nexus S

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น Samsung Google Nexus One ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 2.3
              หรือ แอนดรอยด์ จิงเกอร์เบรด (Gingerbread) เป็นระบบปฏิบัติการ

                           แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 3.0 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ฮันนี่คอม (Honeycomb) รังผึ้ง ออกตัวเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554 ระบบปฏิบัติการเวอร์ชั่นนี้ถูกพัฒนาเพื่อใช้กับ Tablet โดยเฉพาะ ถูกติดตั้งในแท็บเล็ต Motorola ในรุ่น XOOM เป็นรุ่นแรก

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างแท็บเล็ต Motolora Xoom ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 3.0
              หรือ แอนดรอยด์ ฮันนี่คอม (Honeycomb) เป็นระบบปฏิบัติการ

                           แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 4.0 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า ไอศรีมแซนวิช (ICS : Ice Cream Sandwich) ออกตัวเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ.2554 เวอร์ชั่นนี้จะสามารถใช้งานได้ทั้งในโทรศัพท์ และแท็บเล็ต ทำให้บริษัทผู้ผลิตเตรียมอัพเกรดอุปรณ์ของตนเองเพื่อให้สามารถใช้งานเวอร์ชั่นนี้ได้ โทรศัพท์รุ่นที่รับการติดตั้งระบปฏิบัติการเวอร์ชัั่นนี้ได้แก่ Google Galaxy Nexus และแท็บเล็ตเครื่องแรกที่ได้รับการอัพเกรดเป็นเวอร์ชั่นนี้ได้แก่ Asus Transformer Prime span class='highlight red'>โดยแอนดรอยด์เวอร์ชันนี้ จะเป็นพระเอกสำหรับโครงการ OTPC ก็ว่าได้ เพราะเป็นระบบปฏิบัติการที่แท็บเล็ตในโครงการใช้งาน ทำไมต้องไอศรีมแซนวิช (ICS)

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น Samsung Galaxy Nexus ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 4.0
              หรือ ไอศรีมแซนวิช (ICS : Ice Cream Sandwich) เป็นระบบปฏิบัติการ

                         แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 4.1 ในรุ่นนี้มีชื่อเล่นว่า เจลลี่บีน (JB : Jelly Bean) เวอร์ชั่นนี้จะเน้นเพิ่มความสามารถทางด้านความเร็วเป็นหลัก เพราะแอนดรอยด์ชอบโดนดูถูกเรื่องความ อืด ความช้า เมื่อเทียบกับ IOS ในเวอร์ชั่นนี้จึงเน้น ที่ความเร็วไหลลื่นให้ผู้ใช้ไม่มีสะดุด ด้วยเทคโนโลยีที่มีชื่อว่า V-Sync adaptations และ triple buffering จะนำคุณเข้าสู่ประสบการณ์การเรนเดอร์หน้าจอระดับ 60 เฟรมต่อวินาที (FPS) โดยมีผลิตภัณฑ์ ของ Google ก็คือ แท็บเล็ต Nexus 7 ที่ผลิตโดยโรงงานของ Asus เป็นผลิตภัณฑ์ชิ้นแรกที่ได้นำ Jelly Bean เป็นระบบปฏิบัติการ หลังจาก Google ได้เปิดจำหน่าย Nexus 7 ไปแล้ว ถึงได้ทำการเปิดโค้ด (Source Code) ให้กับผู้ผลิตแบรนด์อื่นๆ ได้นำ Jelly Bean ไปใช้งาน ไปพัฒนาต่อไป

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ระบบ ปฏิบัติการ เครือ ขาย ใด ที่ ผลิต ขึ้น โดย บริษัท โน เว ล ล์ Novell

              ภาพตัวอย่างมือถือรุ่น Asus Nexus 7 ที่ได้ใช้แอนดรอยด์ เวอร์ชั่น 4.1
              หรือ เจลลี่บีน (JB : Jelly Bean)เป็นระบบปฏิบัติการ

              ขอขอบคุณแหล่งที่มาข้อมูลอ้างอิง :Deitel, Harvey M.; Deitel, Paul; Choffnes, David. Operating Systems. Pearson/Prentice Hall. ISBN 978-0-13-092641-8 จากสารานุกรมเสรี : http://th.wikipedia.org และ http://www.otpchelp.com/android-evalution.php