ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ

แบบทดสอบเรื่อง .การจัดองค์การ.. จำนวน .15.. ข้อ
วิชา.การบริหารงานคุณภาพในองค์การ ระดับ ประกาศนียบัติวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)...
เรื่อง .การจัดองค์การ.. จำนวน .15.. ข้อ
โดย ครูชลิต พานทอง. .. วิทยาลัยสารพัดช่างพิจิตร...
คำสั่ง เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุด
ข้อที่ 1)
คำว่า ประสิทธิภาพ ในการพัฒนาองค์การหมายถึง ?
   คนรักใคร่กันดีในองค์การ
   แต่ละคนมีเงินเดือนงามในองค์การ
   คนเกลียดกันรักกันพอสมควร
   การบริหารบรรลุเป้าหมายและประหยัดทรัพยากร

ข้อที่ 2)
การจัดการเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับสิ่งใดต่อไปนี้ ?
   การบริหารงานอย่างราบรื่นโดยเกิดประโยชน์สูงสุด
   การประสานงานและการผสมผสานกิจกรรมต่างๆให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
   การวางแผนและการจัดองค์การ
   การใช้คนอย่างถูกต้องกับตำแหน่งงาน

ข้อที่ 3)
ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของลักษณะองค์การ ?
   การรวมตัวกันของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
   การมีเป้าหมายร่วมกัน
   การเจรจาต่อรองเพื่อผลประโยชน์ขององค์การ
   การมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน

ข้อที่ 4)
บุคคลต่อไปนี้ใครได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ ?
   Adam Smith
   Frederick Taylor
   Harry L. Gantt
   Douglas McGregor

ข้อที่ 5)
โครงสร้างขององค์การในความคิดของ Max Weber คือ ?
   อำนาจที่มาจากความชอบธรรมทางกฎหมาย ประเพณีและบารมี
   ระบบราชการที่เป็นประชาธิปไตย
   อำนาจที่ประกอบด้วย อำนาจจากกฎหมาย อำนาจจากจารีตประเพณี
   อำนาจที่มาจากบารมี

ข้อที่ 6)
องค์การหนึ่งๆย่อมประกอบด้วยผู้บริหารระดับต่างๆผู้บริหารระดับใดที่ถูกเรียกว่าเป็น "ผู้อยู่ระหว่างกลาง" ?
   ลูกจ้าง
   ผู้จัดการ
   หัวหน้างาน
   ประธานกรรมการ

ข้อที่ 7)
ผู้บริหารมักจะลังเลใจในการมอบหมายอำนาจหน้าที่ เพราะว่า ?
   กลัวการควบคุมไม่เพียงพอ
   พวกเขาขาดความความเชื่อมั่นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
   พวกเขามีความรู้สึกว่าพวกเขาสามารถทำงานได้ดีกว่าโดยตัวเอง
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 8)
ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการมอบหมายงาน
   ช่วยให้ประหยัดงบประมาณ
   ช่วยในการพัฒนาผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
   เป็นการสร้างขวัญที่ดีให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน
   ช่วยลดภาระของผู้บริหารระดับสูง

ข้อที่ 9)
โครงสร้างขององค์การแบบสูงให้ประโยชน์ตามข้อใด ?
   ช่วยเพิ่มระดับขวัญให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชา เพราะมีความใกล้ชิดกับผู้บังคับบัญชา
   การติดต่อสื่อสารทำได้รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
   ควบคุมงานได้ทั่วถึง โอกาสที่ผู้ใต้บังคับบัญชาจะทำผิดมีน้อย
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 10)
โครงสร้างขององค์การแบบกว้างให้ประโยชน์ตามข้อใด ?
   ช่วยเพิ่มระดับขวัญให้คนงานเพราะการควบคุมไม่อาจทำได้อย่างใกล้ชิดและเข้มงวด
   ประสานงานได้ง่าย เพราะการสื่อสารทำได้รวดเร็ว
   สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการบริหาร
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 11)
ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของ อำนาจหน้าที่ (authority) ?
   สิทธิในตำแหน่งหน้าที่ ที่จะนำเอาทรัพยากรมาใช้ในแต่ละกิจการขององค์การ อย่างถูก ต้องตามกฎเกณฑ์
   อำนาจที่เกิดจากปทัสถานทางสังคม(Social norms)
   อำนาจมาจากเบื้องบนลงสู่เบื้องล่างหรือเบื้องล่างขึ้นสู่เบื้องบนตามสายการบังคับบัญชา
   ถูกทุกข้อ

ข้อที่ 12)
แผนภูมิองค์การ แบบสายงานปิรามิด เริ่มเขียนจากด้านใดไปทางไหน?
   บนลงล่าง
   ล่างขึ้นบน
   ซ้ายไปขวา
   ขวาไปซ้าย

ข้อที่ 13)
แผนภูมิองค์การ แบบตามแนวนอน เริ่มเขียนจากด้านใดไปทางไหน?
   บนลงล่าง
   ล่างขึ้นบน
   ซ้ายไปขวา
   ขวาไปซ้าย

ข้อที่ 14)
ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของแผนภูมิองค์การ
   แบบสายงานปิรามิด
   แบบก้างปลา
   แบบวงกลม
   แบบซ้ายไปขวา

ข้อที่ 15)
หน่วยงานแม่บ้าน เป็นการจัดโครงสร้างขององค์การแบบใด ?
   โครงสร้างองค์การตามหน้าที่การงาน
   โครงสร้างองค์การแบบคณะที่ปรึกษา
   โครงสร้างองค์การแบบคณะกรรมการบริหาร
   โครงสร้างองค์การงานอนุกรม


จำนวนผู้เยี่ยมชมหน้านี้

“โครงสร้างองค์กร (Organizational Structure)” ปัจจัยสำคัญที่สามารถช่วยให้ทีมทำงานได้อย่างเต็มศักยภาพ ช่วยให้ธุรกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว !

โดยทั่วไปแล้วโครงสร้างองค์กร ส่วนใหญ่จะดูเหมือนพีระมิด โดยมีผู้บริหารระดับ C-level จะอยู่ด้านบนสุด ตามมาด้วยผู้บริหารระดับกลาง และปิดท้ายด้วยพนักงาน แต่ไม่ใช่ว่าทุกบริษัทที่มีโครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้นจะทำงานได้ดีที่สุด

Predictive เชื่อว่าการที่เราจะเลือกโครงสร้างองค์กรให้เหมาะสม เราต้องวิเคราะห์จากล่างขึ้นบน (Bottom-Up) เริ่มต้นจากพนักงานไล่ขึ้นไปยังผู้บริหารแทน ปรับเปลี่ยนสไตล์ให้เข้ากับยุคสมัย และลักษณะของพนักงานส่วนมากที่ร่วมงานอยู่ด้วย ณ ช่วงเวลานั้น

มารู้จักกับโครงสร้างองค์กรทั้ง 7 นี้ไปด้วยกัน เพื่อดูว่าองค์กรเราเหมาะกับโครงสร้างการทำงานแบบไหนมากที่สุด

เลือกอ่านหัวข้อที่คุณสนใจ

  • 1. โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น (Hierarchical Structure)
    • ข้อดี    
    • ข้อเสีย
  • 2. โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ (Functional Structure)
    • ข้อดี
    • ข้อเสีย
  • 3. โครงสร้างองค์กรแนวนอนหรือแบน (Horizontal / Flat Structure)
    • ข้อดี    
    • ข้อเสีย
  • 4. โครงสร้างองค์กรตามหน่วยงาน (Divisional Structure)
    • ข้อดี
    • ข้อเสีย
  • 5. โครงสร้างองค์กรแบบแมททริกซ์ (Matrix Structure)
    • ข้อดี
    • ข้อเสีย
  • 6. โครงสร้างองค์กรแบบทีมงาน (Team-based Structure)
    • ข้อดี
    • ข้อเสีย
  • 7. โครงสร้างองค์กรแบบเครือข่าย (Network Structure)
    • ข้อดี
    • ข้อเสีย

1. โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น (Hierarchical Structure)

ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ
ข้อใด ไม่ใช่ประเภทการจัดโครงสร้างขององค์การ

โครงสร้างองค์กรที่มีความสมเหตุสมผลในการกระจายทรัพยากร โดยที่สำนักงานใหญ่จะทำหน้าที่เป็น ศูนย์กลาง (Hub) ในการประสานหน้าที่สำคัญท่ีกระจายอยู่ในบริษัทในเครืออื่นๆ หรือหน้าที่บางอย่างอาจทำโดยบริษัทอื่นที่ไม่ใช่บริษัทในเครือก็ได้ (Subcontract) นอกจากนี้โครงสร้างเครือข่ายยังเน้นการสื่อสารและความสัมพันธ์แบบเปิดมากกว่าลำดับชั้น

ข้อดี

  • แสดงให้เห็นถึงโครงข่ายที่ซับซ้อนของความสัมพันธ์ในบริษัททั้งในและนอกสถานที่
  • ช่วยให้บริษัทมีความยืดหยุ่นและคล่องตัวมากขึ้น
  • ให้อำนาจพนักงานทุกคนในการทำงานร่วมกัน มีความคิดริเริ่ม และตัดสินใจมากขึ้น
  • ช่วยให้พนักงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าใจ Workflow และกระบวนการต่างๆ

ข้อเสีย

  • สามารถเกิดความซับซ้อนอย่างรวดเร็วเมื่อต้องรับมือกับกระบวนการนอกสถานที่จำนวนมาก
  • ทำให้พนักงานรู้ว่าใครมีสิทธิ์ตัดสินใจเป็นคนสุดท้ายได้ยากขึ้น

หลังจากที่เราได้เห็นทั้งข้อดีและข้อเสียของโครงสร้างองค์กรแต่ละแบบแล้ว การตัดสินใจเลือกโครงสร้างที่เหมาะกับทีมเราก็ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป หากเพื่อนๆคนไหนสนใจอยากเติบโตไปพร้อมกับองค์กรที่ปรับโครงสร้างให้เหมาะสมกับทีมอยู่ตลอดเวลา Predictive ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่เพื่อนๆอาจกำลังมองหาอยู่

โครงสร้างขององค์การมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

1. โครงสร้างองค์กรแบบลำดับขั้น (Hierarchical Structure) ... .
2. โครงสร้างองค์กรตามหน้าที่ (Functional Structure) ... .
3. โครงสร้างองค์กรแนวนอนหรือแบน (Horizontal / Flat Structure) ... .
4. โครงสร้างองค์กรตามหน่วยงาน (Divisional Structure) ... .
5. โครงสร้างองค์กรแบบแมททริกซ์ (Matrix Structure).

ข้อใดถือเป็นโครงสร้างองค์การที่ไม่มีรูปแบบเป็นทางการ

2. องค์การแบบไม่เป็นทางการ (Informal Organization) เป็นองค์การที่รวมกันหรือจัดตั้งขึ้นด้วยความพึ่งพอใจและความสัมพันธ์กันเป็นส่วนตัวไม่มีการจัดระเบียบโครงสร้างภายในมีการรวมตัวกันอย่างง่ายๆ และเลิกล้มได้ง่าย องค์การแบบนี้เรียกว่า องค์การรูปนัยหรือองค์การนอกแบบ เช่น ชมรมต่างๆ หรือกลุ่มต่างๆอาจเป็นการรวมกลุ่มกันด้วยความ ...

ข้อใดคือ โครงสร้างองค์การ

โครงสร้างองค์การ (Organizational structure) หมายถึง งานกันทำ และการประสานการทำงานกันของสมาชิกในองค์กรให้ “ ว่าใครจะต้องรายงานการทำงานให้กับใคร (Robbins, 1990: 5) ตามแนวคิดห่วงโซ่คุณค่า ที่ได้กล่าว105) 4 ว่า กิจการประกอบด้วยกิจกรรม ต่าง ๆ ที่ต่อกันเป็นลูกโซ่ กิจกรรมหนึ่งจะทำการเปลี่ยนสิ่งที่เป็นปัจจัยนำเข้าให้กลายเป็น ๆ

โครงสร้างองค์การแบบแมทริกซ์เป็นโครงสร้างแบบใด

5. โครงสร้างแบบแมททริกซ์ (Matrix Structure) คือโครงการองค์การที่ระดมบุคลากรจากหลายฝ่ายหลายแผนกมาร่วมทำงานในโครงการพิเศษ ในขณะที่ยังต้องปฏิบัติงานประจำ ด้วยโครงสร้างแบบนี้จึงมีสายการบังคับบัญชา 2 สาย และมีผู้บังคับบัญชา 2 คน จึงมีปัญหาเรื่องเอกภาพในการบังคับบัญชา และความขัดแย้งของผู้บังคับบัญชาทั้ง 2 คน แต่มีข้อดีที่ ...