อุปกรณ์ ประกอบ การแสดงมี กี่ ประเภท อะไร บาง

นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นศิลปะการแสดงอันเต็มไปด้วยความงดงาม , อ่อนช้อย อีกทั้งยังเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย ซึ่งอยู่คู่กับประเทศไทยมาเนิ่นนาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะต้องมีองค์ประกอบที่ช่วยให้การแสดงเต็มไปด้วยความงดงามสมบูรณ์ ได้แก่

อุปกรณ์ ประกอบ การแสดงมี กี่ ประเภท อะไร บาง

ลีลาท่าทางร่ายรำ

การแสดงนาฏศิลป์ไทยมีเอกลักษณ์ คือ เป็นการแสดงที่มีท่าทางร่ายรำสวยงาม ด้วยการประดิษฐ์ท่ารำต่างๆ ให้เป็นระเบียบแบบแผน ใช้ในการถ่ายทอดเรื่องราว รวมทั้งสื่อความหมายในการแสดง เช่น ระบำพรหมาสตร์ คือ ท่าทางร่ายรำแบบนางฟ้า เป็นต้น

จังหวะใช้ในการแสดง

จังหวะคือการฝึกขั้นพื้นฐาน ที่ใช้แสดงนาฏศิลป์ โดยผู้แสดงนาฏศิลป์ จะต้องทำความเข้าใจกับจังหวะ , ดนตรี อย่างลึกซึ้ง เพื่อให้สามารถร่ายรำ ออกท่าทางได้ถูกต้องตามจังหวะ ถ้าคุณแสดงไม่ถูกต้องตามจังหวะ จะทำให้การแสดงไม่สวยงาม

ดนตรีใช้ประกอบการแสดง

ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะใช้วงปี่พาทย์บรรเลงเพลงเพื่อประกอบการแสดง โดยบทเพลงที่ใช้บรรเลงเพลง จะต้องนำมาประกอบกับกิริยาท่าทางของแต่ล่ะตัว โดยตัวละครสามารถแบ่งออกเป็น หน้าพาทย์ธรรมดากับหน้าพาทย์ชั้นสูง ส่วนใหญ่แล้วจะบรรเลงด้วยไม่มีเนื้อร้อง นอกจากนี้การบรรเลงเพลงหน้าพาทย์ จะต้องบรรเลงโดยดูจากความหมายและอารมณ์ของตัวละครในบริบทนั้นๆด้วย

คำร้องหรือเนื้อร้อง

ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะประกอบด้วยชุดการแสดงที่มีทั้งบทร้องและไม่มีบทร้อง ซึ่งการแสดงแบบมีเนื้อร้องจะทำให้ผู้ชมเข้าใจการแสดงมากขึ้น โดยทางผู้ประดิษฐ์ท่ารำ ให้เหมาะสมกับคำร้องเพื่อให้ผู้ชมมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องประดิษฐ์ให้มีความเหมาะสมกับคำร้อง เพื่อให้ผู้แสดงถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างถูกต้องและมีความสวยงามอีกด้วย เช่น ระบำดาวดึงส์ ที่ต้องแสดงให้เห็นถึงความยินดีปรีดา เป็นต้น

แต่งกาย – แต่งหน้า

การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะเป็นการแสดงที่มีความสวยงามและบ่งบอกถึงความเป็นไทย จึงทำให้การแสดงมีเอกลักษณ์ เช่น การแสดงโขนซึ่งมีการแต่งกายอันงดงาม มีโขนที่นำมาสวมศีรษะพร้อมตกแต่งลวดลายประดิษฐ์ขึ้นมาอย่างวิจิตร โดยโขนก็จะมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของตัวละคร

อุปกรณ์ใช้ประกอบการแสดง

อุปกรณ์จัดเป็นองค์ประกอบนาฏศิลป์ที่มีความสำคัญอีกหนึ่งชนิดหนึ่ง ที่ทำให้การแสดงมีความสวยงามและมีเอกลักษณ์ แต่อย่างไรก็ตามการแสดงนาฏศิลป์ไทยในบางชุด อาจไม่มีอุปกรณ์ประกอบก็ได้ หากแต่บางชุดก็มีอุปกรณ์ประกอบการแสดงเข้ามา ทำให้การแสดงมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น รำฟ้อนเทียน มีอุปกรณ์สำคัญ คือ เทียน โดยจะนิยมแสดงในช่วงกลางคืน แสงเทียนที่สว่างไสวท่ามกลางความมืด จะทำให้การแสดงมีความงดงามมาก

                   7. อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วย เช่น ระบำพัด ระบำนกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการแสดงจะต้องสมบูรณ์ สวยงามและสวมใส่ได้พอดี หากเป็นอุปกรณ์ ที่ต้องใช้ประกอบการแสดง เช่น ร่ม ผู้แสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ววางอยู่ในระดับที่ ถูกต้องสวยงาม

ในการแสดงนาฏศิลป์บ้างชุดการแสดงอาจมีอุปกรณ์ประกอบการแสดง เพื่อให้การแสดงมีความสมบูรณ์สวยงามมากขึ้น ซึ่งการสร้างสรรค์อุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการแสดงจะมีการออกแบบ ตกแต่งให้เหมาะสมกับชุดการแสดง เช่น การแสดงระบำตารีกีปัส มีการใช้พัดประกอบการแสดง 

ซึ่งมีการออกแบบพัดให้สวยงามเหมาะสมกับการแสดง

การนวดแผนไทย ถือเป็นอีกหนึ่งการแพทย์แผนโบราณของไทยที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน บ้างก็ว่าบันทึกของศาสตร์การนวดแผนไทยมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย

ในขณะที่นักประวัติศาสตร์หลายคนก็เห็นว่าการนวดแผนไทยอาจมีมาตั้งแต่ 2,500 ปีก่อนโดยชาวอินเดียคนหนึ่ง ที่นำมาเผยแพร่ไปทั่วเอเชียใต้จนกลายเป็นที่นิยมมากขึ้น

ด้วยความที่บันทึกต่างๆ มีจำนวนน้อย ทำให้ความเป็นมาของการนวดแผนไทยอาจมีหลายความเชื่อ แต่ศาสตร์การนวดแผนไทยก็ถูกส่งต่อกันแบบปากต่อปากมาจนถึงปัจจุบัน

ในบทความนี้จะพามารู้จักกับการนวดแผนไทย ทั้งประเภท ประโยชน์ และข้อควรระวังของการนวดแผนไทย


เลือกหัวข้อที่สนใจเกี่ยวกับการนวดแผนไทยได้ที่นี่

  • นวดแผนไทยคืออะไร?
  • นวดแผนไทยมีกี่ประเภท?
  • นวดแผนไทยต่างจากการนวดประเภทอื่นอย่างไร?
  • ประโยชน์ของการนวดแผนไทย
  • ใครไม่ควรนวดแผนไทย?
  • การเตรียมตัวก่อนการนวดแผนไทย
  • ขั้นตอนการนวดแผนไทย
  • อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการนวดแผนไทย
  • นวดแผนไทยแล้วเจ็บเกิดจากอะไร?
  • ต้องนวดแผนไทยบ่อยไหม?

  • นวดแผนไทยคืออะไร?

    การนวดแผนไทย (Thai Massage) หรือเรียกอีกอย่างว่าการนวดแผนโบราณ เป็นหนึ่งในรูปแบบการนวดบำบัด (Therapeutic Touch) โดยให้ผู้รับบริการนอนราบบนเสื่อหรือฝูกนอนที่พื้น แล้วให้ผู้นวด บีบ คลึง และกดตามลำตัว เพื่อกระตุ้นอวัยวะภายในและเพิ่มความยืนหยุ่นของกล้ามเนื้อ

    ผู้ให้บริการนวดแผนไทยจะใช้มือ นิ้วหัวแม่มือ ศอก ท่อนแขน หรือแม้แต่ฝ่าเท้าประกอบในการนวดกล้ามเนื้อ รวมถึงมีการเคลื่อนไหวร่างกายมากกว่าการนวดประเภทอื่นๆ ที่ให้ผู้รับบริการนอนราบไปเฉยๆ

    แม้จะมีชื่อว่าการนวดแผนไทย แต่ลักษณะความเชื่อนั้นคล้ายคลึงกับศาสตร์การแพทย์แผนจีน คือเชื่อว่าในร่างกายมีพลังงานไหลเวียนผ่านส่วนต่างๆ การนวดคลึงและยืดเหยียดร่างกายอาจช่วยให้พลังงาน และเลือดไหลเวียนดีขึ้นนั่นเอง

    อุปกรณ์ ประกอบ การแสดงมี กี่ ประเภท อะไร บาง

    นวดแผนไทยมีกี่ประเภท?

    การนวดแผนไทยสามารถแบ่งได้หลายประเภท ขึ้นอยู่กับว่าจะแบ่งด้วยวิธีไหน โดยหากแบ่งให้เข้าได้ง่าย คือการแบ่งตามสรรพคุณ ซึ่งแบ่งได้หลักๆ 3 ประเภท ดังนี้

    • นวดเพื่อสุขภาพ เป็นการนวดที่สามารถนวดได้ทุกคน รวมถึงผู้สูงอายุ ช่วยกระตุ้นระบบของร่างกายให้ผ่อนคลาย เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ช่วยให้การนอนหลับดีขึ้น
    • นวดเพื่อการรักษา เป็นการเน้นบรรเทากลุ่มอาการปวดต่างๆ เช่น ปวดหลัง ปวดคอ ปวดกล้ามเนื้อ ไหล่ติด เข่าตึง
    • นวดเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นการนวดฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วย เช่น ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคพาร์กินสัน

    อย่างไรก็ตาม บางสถานที่อาจแบ่งตามกระบวนการนวดเป็น 2 ประเภทคือนวดเชลยศักดิ์ (นวดแบบจับเส้น) และนวดราชสำนัก (ใช้เฉพาะนิ้วมือนวดกดจุด)

    นวดแผนไทยต่างจากการนวดประเภทอื่นอย่างไร?

    การนวดมีด้วยกันหลายแบบ แม้ส่วนใหญ่จะมีจุดประสงค์เพื่อความผ่อนคลายเป็นหนึ่งในจุดประสงค์หลัก แต่การนวดแผนไทยอาจต่างจากการนวดประเภทอื่นเล็กน้อย ดังนี้

    • การนวดแผนไทยนอนราบกับพื้น แต่การนวดในหลายๆ ประเภทมักให้นอนบนเตียง หรือโต๊ะนวด
    • การนวดแผนไทยยังใส่เสื้อผ้าไว้ได้ โดยอาจใส่เสื้อผ้าหลวมให้ขยับตัวได้สะดวก ในขณะที่การนวดบางประเภทอาจต้องถอดเสื้อผ้าออกทั้งหมด หรือเกือบทั้งหมด
    • การนวดแผนไทยไม่มีการใช้น้ำมันนวด ต่างกับการนวดน้ำมัน (Oil Massage) ที่ใช้น้ำมันหอมระเหยเพื่อให้ความผ่อนคลาย เพราะน้ำมันนวดอาจส่งผลต่อการควบคุมแรงกดของผู้นวดแผนไทย
    • การนวดแผนไทยขยับร่างกายเยอะ เช่น อาจมีการปรับท่าทางคล้ายท่าโยคะ มีการดึง หรือกดเพื่อให้ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ต่างกับการนวดหลายๆ ประเภทที่มักจะนอนเฉยๆ เพียงอย่างเดียว
    อุปกรณ์ ประกอบ การแสดงมี กี่ ประเภท อะไร บาง

    ประโยชน์ของการนวดแผนไทย

    การนวดแผนไทยมีประโยชน์หลายข้อ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการนวด ดังนี้

    • ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ทั้งคอ บ่า และส่วนอื่นๆ ทั่วร่างกาย
    • ช่วยลดอาการปวดตึงตามข้อ มีการศึกษาทดลองให้ผู้เข้าร่วมที่มีอาการข้อเข่าอักเสบ เข้ารับการนวดแผนไทยร่วมกับการออกกำลังกายด้วยไม้เท้าเป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าผู้เข้าร่วมรู้สึกปวดน้อยลง และเดินได้ดีขึ้น
    • บรรเทาอาการปวดหลัง การนวดแผนไทยมีส่วนช่วยบรรเทาอาการปวดหลังและรักษาร่วมกับวิธีอื่นๆ ได้ มีการศึกษากับคนที่มีอาการปวดหลัง 120 คน โดยครึ่งหนึ่งในจำนวนนี้เข้ารับการนวดแผนไทยสัปดาห์ละ 2 ครั้งนาน 4 สัปดาห์ พบว่าอาการปวดหลังลดลงอย่างมีนัยะสำคัญ บางการศึกษาพบว่าอาจช่วยลดอาการปวดหลังส่วนบนด้วย แต่อย่างไรก็ตาม หากมีอาการปวดหลังต่อเนื่องมานาน ควรไปพบแพทย์ก่อนนวดแผนไทย
    • มีส่วนช่วยลดอาการปวดหัว มีการศึกษาแสดงว่าผู้ที่เข้ารับการนวดแผนไทย 9 ครั้งใน 3 สัปดาห์ สามารถลดอาการปวดหัวจากความเครียดหรือไมเกรนลงได้
    • ช่วยขยายขอบเขตการเคลื่อนไหวร่างกาย การนวดแผนไทยประกอบไปด้วยการกด บีบ และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ช่วยให้ข้อต่อและกล้ามเนื้อสามารถเคลื่อนไหวได้มากขึ้น ไม่ยึดเกร็งง่ายเกินไป
    • มีส่วนช่วยลดความเครียด แม้การนวดแผนไทยจะใช้น้ำหนักมากกว่าการนวดประเภทอื่น แต่สำหรับหลายคนก็รู้สึกผ่อนคลายจากการนวดแผนไทย เคยมีนักวิจัยทำการสแกนสมองผู้ที่เข้ารับการนวดแผนไทย พบว่าช่วยลดความวิตกกังวลได้ ทั้งนี้การลดความเครียดอาจได้ผลดีขึ้นเมื่อพักผ่อนอย่างเพียงพอ
    • ช่วยให้กระปรี้กระเปร่า นวดแผนไทยมีการเคลื่อนไหวเกือบทั้งร่างกายเช่นเดียวกับโยคะ ทำให้ผู้ที่รับการนวดแผนไทยอาจรู้สึกกระปรี้กระเป่ามากขึ้นด้วย
    • มีส่วนช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น การนวดแผนไทยช่วยให้ระบบไหลเวียนของเลือดและน้ำเหลืองดีขึ้นผ่านการยืดเหยียด ทำให้เนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อการเจริญเติบโตของเซลล์
    • อาจมีส่วนช่วยผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมอง การศึกษาในปี 2012 พบว่าผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่รับการนวดแผนไทยเป็นประจำ อาจช่วยให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ดีขึ้น รวมถึงอาจลดอาการปวด ช่วยให้นอนหลับดีขึ้นด้วย แต่อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองควรปรึกษาแพทย์ผู้ดูแลก่อนเสมอ

    นอกจากนี้ ประโยชน์อื่นที่อาจได้รับจากการนวดแผนไทย เช่น ช่วยให้นอนหลับดีขึ้น ระบบย่อยอาหารดีขึ้น เป็นต้น

    อย่างไรก็ตาม หากคุณมีอาการปวดกล้ามเนื้อรุนแรง หรืออาการผิดปกติอื่นๆ ของร่างกาย ควรไปพบแพทย์ก่อนตัดสินใจรักษาด้วยการนวดแผนไทย เพราะโรคบางชนิดไม่อาจรุนแรงมากขึ้นหากรับการนวดแผนไทย

    อุปกรณ์ ประกอบ การแสดงมี กี่ ประเภท อะไร บาง

    ใครไม่ควรนวดแผนไทย?

    การนวดแผนไทยมีผลกระทบต่อระบบไหลเวียนเลือด และกล้ามเนื้อ จึงอาจไม่เหมาะกับผู้ที่มีโรคประจำตัวบางชนิดหรือเงื่อนไขต่างๆ ดังนี้

    • ผู้ป่วยโรคหัวใจ หรือโรคหลอดเลือดหัวใจ
    • ผู้ป่วยโรคความดันสูง
    • ผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกสันหลัง เช่น โรคกระดูกพรุน
    • ผู้ป่วยโรคเบาหวาน
    • ผู้ที่เพิ่งรับการผ่าตัดมาไม่นาน
    • ผู้ที่มีแผลเปิด
    • ผู้ป่วยโรคมะเร็ง
    • ผู้ที่กำลังอยู่ระหว่างตั้งครรภ์
    • ผู้ป่วยโรคเลือด
    • ผู้ที่มีภาวะลิ่มเลือด
    • ผู้ที่มีแผลไฟไหม้
    • ผู้ที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ (Thrombocytopenia)
    • ผู้ที่ปวดกล้ามเนื้อจากการมีไข้
    • ผู้ที่ปวดกล้ามเนื้อเฉียบพลัน บวม แดง

    หากใครอยู่ในเงื่อนไขดังกล่าว ควรหลีกเลี่ยงการนวดแผนไทยจนกว่าจะรักษาให้หายดี หรือปรึกษาแพทย์ผู้ดูแลเพื่อประเมินความเหมาะสมก่อนรับบริการ

    การเตรียมตัวก่อนการนวดแผนไทย

    ผู้ที่มานวดแผนไทยมักไม่ต้องเตรียมตัวเป็นพิเศษ ขั้นตอนการเตรียมตัวเล็กๆ น้อยๆ อาจมีดังนี้

    • มาก่อนเวลานัด 10-30 นาที ควรมาถึงเวลานัดเล็กน้อยเพื่อกรอกเอกสาร โดยเฉพาะเมื่อมาใช้บริการเป็นครั้งแรก
    • แจ้งข้อมูลสุขภาพ ก่อนเริ่มนวดแผนไทยควรแจ้งกับผู้ให้บริการถึงประวัติสุขภาพ เพราะโรคประจำตัวบางชนิดอาจไม่เหมาะกับการนวดแผนไทย หรือหากนวดได้ ผู้ให้บริการจะได้ระมัดระวังมากขึ้น
    • สวมเสื้อหลวมๆ หลีกเลี่ยงการสวมเสื้อผ้ารัดรูป เพราะทำให้เคลื่อนไหวระหว่างนวดไม่สะดวก หรือบางสถานที่อาจมีชุดให้เปลี่ยน

    ทั้งนี้ สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัวควรปรึกษาแพทย์ผู้ดูแลก่อนตัดสินใจนวดแผนไทย เพื่อลดโอกาสเกิดผลกระทบให้มากที่สุด

    ขั้นตอนการนวดแผนไทย

    ขั้นตอนการนวดแผนไทยอาจแตกต่างกันออกไปตามเทคนิคของผู้ให้บริการ และประเภทของการนวด โดยขั้นตอนหลักๆ อาจมีดังนี้

    1. ผู้ให้บริการอาจให้คุณเปลี่ยนเป็นชุดที่ทางสถานที่เตรียมไว้ให้ หรือบางกรณีอาจให้สวมชุดที่หลวมๆ เคลื่อนไหวสะดวกของคุณเอง
    2. เมื่อเปลี่ยนชุดแล้ว ผู้ให้บริการจะเตรียมเสื่อนอน หรือฝูกนอนไว้ให้ที่พื้น รวมถึงหมอนรองศีรษะด้วย
    3. ผู้ให้บริการจะค่อยๆ ยืดเหยียดส่วนต่างๆ ของร่างกายคุณโดยอาจใช้แรงกดช่วย
    4. ผู้ให้บริการจะใช้มือ นิ้วหัวแม่มือ ข้อศอก และหัวเข่า เพื่อกดคลึงส่วนต่างๆ ของร่างกาย
    5. ในบางกรณีผู้ให้บริการอาจมีการขยับร่างกายคล้ายกับท่าโยคะผ่านการดึงและกด
    6. ขั้นตอนเหล่านี้อาจทำให้บางคนรู้สึกเจ็บหรือปวดกล้ามเนื้อได้ โดยสามารถแจ้งกับผู้ให้บริการเพื่อลดการลงน้ำหนัก

    สำหรับผู้ที่มีอาการบาดเจ็บ หรือส่วนไหนของร่างกายที่เจ็บง่ายเป็นพิเศษ ควรแจ้งกับผู้ให้บริการก่อนเริ่มการนวดทุกครั้ง

    อันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการนวดแผนไทย

    การนวดแผนไทยมีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นบางประการ เช่นเดียวกับการนวดหลายๆ ประเภท ดังนี้

    • อาจเกิดอันตรายกับผู้ป่วยโรคหัวใจ เนื่องจากการนวดแผนไทยทำให้อัตราการเต้นของหัวใจเปลี่ยนแปลง ผู้ที่มีโรคเกี่ยวกับระบบเลือดและหัวใจจึงควรปรึกษาแพทย์ก่อนทุกครั้ง
    • อาจเกิดอาการปวด หากผู้นวดมือหนัก หรือใช้น้ำหนักไม่เหมาะกับร่างกายของคุณ อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บกล้ามเนื้อหรือกระดูกได้

    อย่างไรก็ตาม คนส่วนใหญ่ได้รับความผ่อนคลายและประโยชน์จากการนวดแผนไทยมากกว่าความเสี่ยงที่เกิดขึ้น แต่ก็ควรปรึกษาผู้นวดแผนไทยก่อนตัดสินใจใช้บริการ

    นวดแผนไทยแล้วเจ็บเกิดจากอะไร?

    หลายคนมาใช้บริการนวดแผนไทยโดยคาดหวังว่าจะช่วยบรรเทาอาการปวดหรืออาการอื่นๆ แต่หลังนวดเสร็จกลับมีอาการปวดหรือเจ็บกล้ามเนื้อจนเกิดความกังวล ต่อไปนี้เป็นสาเหตุที่เป็นไปได้ของอาการปวดหลังนวดแผนไทย

    • นวดแผนไทยขณะเป็นไข้ โดยปกติคนที่เป็นไข้จะมีอาการครั่นเนื้อครั่นตัวและปวดตามร่างกาย และอาจคิดว่าการนวดแผนไทยจะช่วยบรรเทาอาการได้ แต่ความจริงแล้วหากนวดแผนไทยขณะมีไข้อาจทำให้อาการปวดรุนแรกว่าเดิมได้
    • นวดขณะปวดกล้ามเนื้อ ผู้ที่นวดแผนไทยเพื่อการรักษา เช่น ลดอาการปวดกล้ามเนื้อ มีแนวโน้มจะระบมกล้ามเนื้อหลังรับการนวดได้ง่ายกว่าคนอื่น
    • นวดแผนไทยหลังเกิดการอักเสบ หากเกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ เส้นเอ็นอักเสบเฉียบพลัน จนมีอาการปวด บวม แดง ไม่ควรรับการนวดแผนไทยทันที เพราะอาจทำให้ปวดมากขึ้นหลังนวดแผนไทย
    • นวดหรือกดแรงไป บางกรณีผู้นวดอาจลงน้ำหนักมากเกินไปจนทำให้เจ็บ คุณควรแจ้งกับผู้ให้บริการทันทีเพื่อลดน้ำหนักมือลง
    • มานวดแผนไทยครั้งแรก ผู้ที่มานวดแผนไทยครั้งแรก หรือแม้แต่ไม่ได้นวดแผนไทยมานานมากแล้วอาจยังไม่ชินกับการลงน้ำหนักของผู้ให้บริการ ทำให้เกิดการระบมหลังรับบริการได้

    ต้องนวดแผนไทยบ่อยไหม?

    จำนวนครั้งและความถี่ของการนวดแผนไทยนั้นอาจแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมของแต่ละคน แต่โดยทั่วไปหากต้องการนวดเพื่อสุขภาพก็สามารถนวดแผนไทยได้สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง หรือในกรณีที่นวดเพื่อรักษาอาการปวด อาจนวดวันเว้นวัน และค่อยๆ เว้นระยะห่างขึ้นเรื่อยๆ เมื่ออาการปวดดีขึ้น

    อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะนวดแผนไทยเพื่อจุดประสงค์ใด ก็ไม่ควรนวดติดต่อกันทุกวัน ควรเว้นวันให้กล้ามเนื้อได้พักบ้าง อาจปรึกษาแพทย์หรือผู้ให้บริการนวดแผนไทยเพื่อวางแผนการนวดที่เหมาะสมกับตัวเอง

    โดยสรุปแล้ว การนวดแผนไทยถือเป็นศาสตร์โบราณอย่างหนึ่งที่มีประโยชน์หลากหลาย เช่น ลดอาการปวดเมื่อย ปวดหัว เพิ่มความยืดหยุ่นของร่างกาย ช่วยให้ผ่อนคลาย ลดความเครียด วิตกกังวล ซึ่งปัจจุบันได้รับการยอมรับจากวิทยาศาสตร์สมัยใหม่

    แต่ทั้งนี้ ก็อาจไม่ได้เหมาะกับทุกคนเสมอไป โดยเฉพาะผู้ที่มีปัญหาสุขภาพและอาจได้รับผลกระทบจากการนวดแผนไทย ควรปรึกษาแพทย์ผู้ดูแลก่อนนัดหมายนวดเสมอ

    หากต้องการเช็กราคานวดแผนไทย หรือทำนัดนวดแผนไทยตามสถานที่ต่างๆ สามารถเช็กคิวและทำนัดได้ผ่าน HDmall.co.th พร้อมรับส่วนลดมากมาย