นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่าต่อสังคมอย่างไร

Authors

Keywords:

การดำรงอยู่, นาฏศิลป์ไทย, ศตวรรษที่ 21, The existence, Thai dramatic arts, 21st century

Abstract

การดำรงอยู่ของนาฏศิลป์ไทยในศตวรรษที่ 21 คือความตระหนักรู้ของมนุษย์ในสังคมยุคปัจจุบันที่มีต่อคุณค่าและทิศทางของนาฏศิลป์ไทย เนื่องจากสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆอยู่ตลอดเวลา ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี อันส่งผลกระทบต่อวิถีการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างทั่วถึง รวมไปถึงความเปลี่ยนแปลงด้านศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะด้านนาฏศิลป์ไทยที่มีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางความคิด ความเชื่อ ทัศนคติของคนไทยในสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้นาฏศิลป์ไทยมีบทบาทที่เปลี่ยนไปจากในสมัยอดีต จึงทำให้มุมมองเกี่ยวกับการดำรงอยู่ของนาฏศิลป์ไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมด้วย เพราะมีทั้งมุมมองที่เห็นด้วยกับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาหรือผสมผสานสิ่งใหม่ๆ มีการปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทและความต้องการของสังคม เพื่อให้มีความน่าสนใจและเหมาะสมกับผู้ชมในปัจจุบัน และอีกหนึ่งมุมมองที่เห็นควรแก่การอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทยในรูปแบบดั้งเดิมเอาไว้ ไม่ควรปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติมสิ่งที่ไม่ใช่ของดั้งเดิม เพื่อให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและเห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน ซึ่งมุมมองการดำรงอยู่ของนาฏศิลป์ไทยในศตวรรษที่ 21 ของแต่ละบุคคล อาจมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยในหลายด้าน เช่น อายุ เพศ การศึกษา และอาชีพ เป็นต้น ทั้งนี้มุมมองต่างๆที่เกิดขึ้นควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบริบทและคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของการดำรงอยู่ของนาฏศิลป์ไทยในแต่ละบริบทนั้นๆ เพื่อให้นาฏศิลป์ไทยดำรงอยู่ได้ทุกยุคทุกสมัยในฐานะศิลปวัฒนธรรมของชาติที่บ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของชาติไทยสืบไป

THE EXISTENCE OF THAI DRAMATIC ARTS IN 21ST CENTURY

The existence of Thai dramatic arts in 21st century is people’s awareness nowadays which affects the value and model of Thai dramatic arts. Since the world has been changing all the time in term of economy, society, politics, technology, and the culture change especially in Thai dramatic arts which are related to the thoughts, beliefs and attitudes of Thai people, all of these affect the view of the existence of Thai dramatic arts. Some agrees with the change and development which are adapted with the context and needs so that Thai dramatic arts will be interesting and appropriate for the audience. On the other side, some says that Thai dramatic arts should be conserved as their origin so the new generation can study and appreciate them from the beginning to the present. Due to various and different thoughts, beliefs and attitudes, these are concepts for the existence of Thai dramatic arts in 21st century. The people’s views might be different depending on various factors such as age, sex, education and careers. However, each view should be adapted properly with contexts and get the most out of the existence of Thai dramatic arts to preserve Thai arts and culture which refer to Thai identity.

Downloads

Download data is not yet available.

นาฏศิลป์ไทยมีคุณค่าต่อสังคมอย่างไร

How to Cite

Chula-Saevok, Y. (2017). การดำรงอยู่ของนาฏศิลป์ไทยในศตวรรษที่ 21. Fine Arts Journal: Srinakharinwirot University, 21(1), 48–61. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/jfofa/article/view/92886

น.ส.ชฎาพร บุญแก้ว ม.4/6 เลขที่ 29

นาฏศิล
ป์ไทย

คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชานาฏศิลป์ไทย มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวการ
แสดงนาฏศิลป์ คุณประโยชน์ของนาฏศิลป์ และบุคคลสำคัญที่มีความเกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์
ซึ่งเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งของนาฏศิลป์ไทยเกี่ยวกับการรำในด้านการใช้ท่าทางเพื่อสื่อความกับผู้
ชม โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ผู้ประดิษฐ์ การใช้งาน นาฏศิลป์ของแต่ละภาค
และรูปแบบต่างๆ
คณะผู้จัดทำ ได้ศึกษา และสรุปเรียบเรียงเนื้อหาต่างๆเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้
โดยมีจุดประสงค์ต่อมาเพื่อนำเสนอต่อผู้อ่านที่สนใจ ให้ได้ประโยชน์จากการอ่านรายงานเล่มนี้
หวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านไม่มากก็น้อย
หากรายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

น.ส.ชฎาพร บุญแก้ว ม.4/6 เลขที่ 29
นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6 เลขที่ 1

สารบัญ 4
8
คุณค่าของนาฏศิลป์ 13
กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์ 17
การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่างๆ 30
ระบำ รำ ฟ้อน และการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองของไทย 35
การแสดงนาฏศิลป์ไทยพื้นเมือง เพลงเถิดเทิง กลองยาว

บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ 39

น.ส.ชฎาพร บุญแก้ว ม.4/6 เลขที่ 29

คุณค่าและประโยชน์ของนาฏศิลป์

คุณค่าของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์ ไทยมีคุณค่ามากในฐานะที่เป็ นที่
นาฏศิลป์ สะท้อนให้เห็นสภาพบ้านเมืองที่ รวมของศิลปะหลายแขนง ปลูกฝัง
มีความสวยงาม ประณีต เพียบพร้อมไปด้วย
ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนวัฒนธรรม จริยธรรมและเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ที่
แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ อาทิ
ที่ยึดถือปฏิบัติกันมาแต่ละยุคสมัย

ศิลปะ แขนงวิจิตรศิลป์ หรือประณีตศิลป์

น.ส.พิชามญชุ์ จันทร์แก้ว ม.4/6 เลขที่31

1. ประติมากรรม หมายถึง ผลงานศิลปะที่แสดงออกโดย กรรมวิธี
การปั้น การแกะสลัก การหล่อต่างๆศิลปะแขนงนี้ ปรากฏในงาน

นาฏศิลป์ในรปูแบบของการสร้างอปุกรณ์ในการแสดง ฉาก
อุปกรณ์ประกอบฉาก เช่น พระพุทธรูปเป็นต้น การสร้าง เครื่อง

แต่งกาย เช่นหัวโขน มงกุฎชฎา ราชรถ เป็นต้น

2. วรรณกรรมที่ปรากฏใน งานนาฏศิลป์ ได้แก่ บทประพันธ์ทั้งที่เป็น
ร้อยแก้ว และร้อยกรองที่เป็นบทละคร บทเพลง

น.ส.พิชามญชุ์ จันทร์แก้ว ม.4/6 เลขที่31

3. สถาปัตยกรรม เป็นศิลปะในการออกแบบสร้างฉากต่างๆ เช่น
:บ้านเรือนที่อยู่ใน
:ปราสาทราชวัง
:อาคารสถานที่ต่างๆ
:โบสถ์ วิหาร ฉากธรรมชาติต่างๆ

4. จิตรกรรม น.ส.พิชามญชุ์ จันทร์แก้ว ม.4/6 เลขที่31
:การเขียนภาพในการแสดงนาฏศิลป์ ต้องมีฉาก
:การแต่งหน้ า
:การเครื่องแต่งกาย
เป็นองค์ประกอบสำคัญ ดังนั้นศิลปะสาขา จิตรกรรมจึงมี
ความใกล้ชิดกับผลงานการแสดงทางนาฏศิลป์

5. ดรุิยางคศิลป์
ศิลปะทางด้านดนตรี ขับร้อง นับว่าเป็นหัวใจ สำคัญสำหรับนาฏศิลป์ไทย เพราะการแสดงลีลาท่าราต้องมีดนตรี
ประกอบการแสดง

ประโยชน์ของนาฏศิลป์

นาฏศิลป์เป็นส่วนสำคัญในการประกอบพิธีกรรมทั้งพิธีหลวงและพิธีราษฎร์ นอกเหนือไปจากการให้
ความบันเทิง
๑.สถาบันพระมหากษัตริย์ จำเป็นต้องมีพระราชพิธีต่างๆ ตามพระราช ประเพณี

๒.มีบทบาทสำคัญ เพราะเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย บทบาทในงานสำคัญของ
หลวงพิธีกรรมต่างๆของ ชาวบ้าน รวมถึงการสร้างความบันเทิงให้กับผู้คนในสังคม เช่นการแสดงลิเก
ละคร โขน เพลงพื้นเมืองต่างๆ

๓. ประโยชน์โดยตรงสาหรับผู้ศึกษานาฏศิลป์ คือสอนให้เป็นผู้รู้จักตนเอง เพราะเป็นวิชาทักษะที่ต้อง
อาศัย ความมีมานะ อดทน ฝึกฝน เป็นระยะเวลานาน ผู้เรียนจะค้นพบศักยภาพของ ตนเอง

น.ส.พิชามญชุ์ จันทร์แก้ว ม.4/6 เลขที่31

กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์

กระบวนการสืบทอดองค์ความรู้ทางนาฏศิลบ์
ถือเป็ นวิชาทักษะที่ผู้ศึกษาจะต้องมีความอดทน
อย่างสม่ำเสมอและฝึ กฝนเป็ นระยะเวลาที่ยาวนาน
เพื่ อสืบสานภูมิปั ญญาของบรรพชนที่ได้สร้างผล
งานทางด้านาฏศิลป์ และดนตรีไว้เป็ นมรดกทาง

วัฒนธรรมให้คงอยู่

น.ส.วนิฌญา แสงอาทิตย์ ม.4/6 เลขที่ 39

1.การสืบทอดนาฏศิลป์ สมัยโบราณ

เป็ นการถ่ายทอดจากครูแบบตัวต่อตัว

โดยวิธีการจำไม่มีการบันทึกเป็ นลาย

ลักษณ์อักษร

น.ส.วนิฌญา แสงอาทิตย์ ม.4/6 เลขที่ 39

2.กระบวนการสืบทอดนาฏศิลป์

ในสมัยปั จจุบัน

ปั จจุบันวิชานาฏศิลป์ เปิ ดสอนอยู่ในสถาบันการศึกษาเกือบ

ทุกระดับมีกระบวนการเรียนการสอนทีี่เป็ นแบบแผนโดย

จัดทำสื่ อและทำกิจกรรมเพื่ อประเทืองปั ญญาโดยใช้ระบบ

การเรียนการสอนที่มีผู้เรียนเป็ นศูนย์กลางค้นคว้าหาความ

รู้ด้วยตนเองฝึกให้รู้จักการสังเกตคิดวิเคราะห์ วิพากษ์

วิจารณ์ สร้างจินตนาการ จนเกิดความคิดสร้างสรรค์ และ

นำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตประจำวัน

น.ส.วนิฌญา แสงอาทิตย์ ม.4/6 เลขที่ 39

3.การจัดกิจกรรมเพื่ อสืบทอด
พิธีครอบครู
วัฒนธรรม

นาฏศิลป์ มีขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติสืบทอดมา

แต่โบราณผู้ศึกษาวิชานาฏศิลป์ จะต้องมีความเคารพศรัทธา

ในบูรพาจารย์ผู้ประสาทวิชาให้ศิษย์กิจกรรมที่สืบทอด ได้แก่

1.พิธีไหว้ครู
2.พิธีครอบครู
3.พิธีรับมอบ

น.ส.วนิฌญา แสงอาทิตย์ ม.4/6 เลขที่ 39

4.แนวทางการอนุรักษ์นาฏศิลป์ 4.3การฟื้ นฟูโดยการเลือกสรร

ภูมิปั ญญาที่กำลังสูญหาย
4.1การค้นคว้าวิจัยควรศึกษาและ

เก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆไว้ 4.4การพัฒนาโดยการปรับปรุง

ภูมิปั ญญาให้เข้ากับยุคสมัย
4.2การอนุรักษ์โดยการสร้าง

จิตสำนึกให้คนในท้องถิ่น 4.5ส่งเสริมกิจกรรมและสนับสนุนให้

เกิดเครือข่ายการสืบสานของ

ภูมิปั ญญา

น.ส.วนิฌญา แสงอาทิตย์ ม.4/6 เลขที่ 39

การแสดงนาฏศิลป์ ในงานพระราชพิธี

เช่น งานพระราชพิธีเป็ นงานฉลอง หรืองานสม
โภชน์สำคัญๆ เช่น งานพระราชพิธีโสกันต์ งาน
สมโภชน์ช้างเผือก งานพระราชพิธีอภิเษกสมรส
เป็ นต้น

แสดงนาฏศิลป์ และการละครไทยในงานมงคลทั่วไป

เช่น งานทำบุญวันเกิด, งานทำบุญเลี้ยง
พระ, งานมงคลสมรส และงานขึ้นบ้านใหม่ ้
เป็ นต้น

น.ส. กชพร สุวรรณศร ม.4/6 เลจที่38

การแสดงนาฏศิลป์ และการ
ละครในงานอวมงคล

เช่น ทำบุญหน้าศพ, ๗ วัน, ๕๐ วัน,
๑๐๐ วัน, วันคล้ายวันตาย เป็ นต้น

การแสดงนาฏศิลป์ ในงานเทศกาลต่างๆ
เช่น ประเพณีสงกรานต์ ประเพณี
บุญบั้งไฟ เป็ นต้น

น.ส. กชพร สุวรรณศร ม.4/6 เลจที่38

หลักการเลือกชุดการแสดงให้เหมาะสม

• เลือกให้เหมาะกับโอกาสที่

แสดง เลือกรูปแบบการแสดงต้องถูก
ต้องตามแบบแผน ดังนี้
• เลือกตามที่ผู้จัดต้องการ เช่น
- แต่
งบทร้องได้ใจความเหมาะสม
รูปแบบการแสดง งบ พื้นที่ที่ใช้ - ตีความท่ารำให้ตรงความหมายบทร้อง
- ใส่ทำนองให้เหมาะกับเนื้อเพลง
แสดง เวลาที่ใช้ เพื่ อให้ - ปี่ พาทย์ทำเพลงรัว ผู้แสดงใช้ลีลาและตีท่ารำให้ถูก
ต้อง
เหมาะกับงานแสดงนั้น เป็ นต้น - ปี่ พาทย์จบทำเพลงรำ
- คัดเลือกผู้แสดงที่มีฝี มือและความสามารถ

น.ส. กชพร สุวรรณศร ม.4/6 เลจที่38

แนวคิดในการจัดการแสดงในวันสำคัญของโรงเรียน แนวทางในการจัดชุดการแสดงประจำโรงเรียน

1. กำหนดการแสดงให้เหมาะกับวันสำคัญของรร. - แนวคิดเกี่ยวกับสัญลักษณ์โรงเรียน
2. นำเสนอรูปแบบการอนุรักษ์ - แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนที่รร.ตั้งอยู่
3. เวลาที่ใช้ในการแสดงแต่ละชุด - แนวคิดเกี่ยวกับอาชีพและวิถีชุมชนที่รร.ตั้งอยู่
4. กำหนดองค์ประกอบการแสดงให้ชัดเจน - แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นทีีรร.ตั้งอยู่
- แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างแรงบันดาลใจ

น.ส. กชพร สุวรรณศร ม.4/6 เลจที่38

ระบำรำฟ้อน

ระบำแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ระบำดั้งเดิมหรือระบำมาตรฐาน เเละ ระบำ
ปรับปรุงหรือระบำเบ็ดเตล็ด

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

รำเดี่ยว

รำ

รำคู่

รำหมู่

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อน

ฟ้อน เป็นภาษาเหนือ หมายถึง การร่ายรำ เพื่อบูชาสิ่งต่างๆ อัน
เป็นศิลปะล้านนาของไทยฝ่ายเหนือ ส่วนใหญ่จะเป็นการร่ายรำที่
แสดงพร้อมกันเป็นชุดๆ ไม่ดำเนินเป็นเรื่องราว

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อนที่สืบเนื่องมาจากการนับถือผี

เป็นการฟ้อนที่เกี่ยวกับความเชื่อ เพื่อเสดงความกตัญญูต่อผู้ล่วงลับ

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อนแบบเมือง

การแสดงที่หมายถึงคนเมือง หรือ ชาวไทยยวน

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อนแบบม่าน

เป็นการผสมผสานพม่ากับไทยล้านนา

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อนแบบเงี้ยวหรือแบบไทยใหญ่

เป็นการฟ้ อนที่มาจากการแสดงของชาวไทยใหญ่

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ฟ้อนที่ปรากฏในบทละคร

เป็นการฟ้ อนที่คิดขึ้นเพื่อใช้แสดงร่วมกับบทละคร

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ภาคเหนือ

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ภาคอีสาน

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ภาคกลาง

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

ภาคใต้

นายจารุเดช เครือเตียว ม.4/6เลขที่ 1

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

รํากลองยาว หรือ เถิดเทิง
สันนิษฐานว่าเป็นพม่านิยมเล่นกันมาก่อน เมื่อเกิดสงคราม เวลาพักรบทหารพม่าบางพวกก็เล่น"กลองยาว" พวกไทย

เราเห็นก็จํามาเล่นบ้าง ซึ่งดนตรีที่นํามาใช้ มีทํานองเป็นเพลงพม่า เรียกว่า "เพลงพม่ากลองยาว"
ต่อมามีผู้ปรับเป็นเพลงระบํา กําหนดให้ใส่เสื้อนุ่งโสร่งตา ศรีษะโพกผ้าสีชมพู(หรือสีอื่นๆ)มือถือขวานออกมาร่ายรํา จึง

มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า เพลงพม่ารําขวาน

นาย เตวิช สรรพจักร เลขที่6

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

รํากลองยาว หรือ เถิดเทิง
การเล่นเทิงบ้องกลองยาวนี้ เพิ่งมีเข้ามาในไทย สมัยร.๔ มีพม่าพวกหนึ่งนําเข้ามาในรัชกาลนั้น

มีบทร้องกราวรํายกทัพพม่า
เรื่อง พระอภัยมณีตอน ๙ ทัพ ร้องกันว่า

ทุ่งเลฯ ทีนี้จะเห่พม่าใหม่
ตกมาเมืองไทย มาเป็นผู้ใหญ่ตีกลองยาว
ตีว่องตีไวตีได้จัหวะ ทีนี้จะกะเป็นเพลงกราว

เลื่องชื่อลือฉาว ตีกลองยาวสลัดไดๆ

นาย เตวิช สรรพจักร เลขที่6

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

รํากลองยาว หรือ เถิดเทิง

เมื่อชาวไทยเห็นการละเล่นที่สนุกสนานและเล่นง่าย ก็เลยนิยมเล่นกันแพร่หลาย จนถึงทุกวันนี้
กลองยาวใน 1 วง มีหลายลูก มีสายสะพายเฉวียงบ่าของผู้ตี ขึงหนังหน้าเดียวอีกข้างหนึ่งเป็นหางยาว บานปลาย

ยาว ๓ ศอก ภาคอีสานเรียกกลองหาง

กลองยาวของพม่า เรียกว่า "โอสิ" คล้ายคลึง
กับของชาวไทยอาหมในแคว้นอัสสัม

นาย เตวิช สรรพจักร เลขที่6

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

เมื่อรัฐบาลไทยมอบให้
คณะนาฏศิลป์ ของกรมศิลปากรไป แสดงเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี
ณ นครย่างกุ้งและมัณฑเลย์ รัฐบาลพม่าได้จัดนักบราณคดีพม่าผู้หนึ่ง
เป็นผู้ชมพิพิธภณัฑส์ถานและ โบราณสถานเรื่องกลองยาวได้ กล่าวว่า
พม่าได้กลองยาวมาจาก ไทยใหญ่อีกต่อหน่ึงและการละเล่นประเภทนี้ว่า

เถิดเทิง เทิงบ้อง คงเรียกตามเสียงกลองยาว

นาย เตวิช สรรพจักร เลขที่6

การแสดงนาฏศิลป์ไทย

การแต่งกาย คนตีกลองยืน กลองรํา รําล่อ พวกตีประกอบจังหวะจะ
ร้องประกาศเร่งเร้าอารมณ์สนุกสนานตอนตีด้วยเช่น
๑.ชายนุ่งกางเกงขายาวครึ่งแข้ง สวมเสื้อคอกลม แขนสั้น เหนือ
"มาแล้วโหวย มาแล้ววา ของเราไม่มา ตะละล้า
ศอก มีผ้าโพกศรีษะ แล้วผ้าคาดเอว "ต้อนเข้าไว้ ต้อนเข้าไว้ พ่อก็แก่แม่ก็เฒ่าเอาไปหุง

๒.หญิง นุ่งผ้าซิ่นมีเชิงยาวกรอมเท้า สวมเสื้อทรงกระบอกคอปิด ข้าวให้พวกเรากินตะละล้า"

ผ่าอกหน้า ห่มสไบทับเสื้อ คาเข็มขัดทับ เสื้อใส่สร้อยคอและต่างหู
-กลองรํา คือ ผู้ที่มีลวลายใน
ปล่อยผมและทัดดอกไม้
การร่ายรํา

โอกาศและวิธีการเล่น -กลองยืน คือ ผู้ตีกลองยืน
นิยมเล่นในงานตรุษ งานสงกรานต์ งานแห่แหน ให้จังหวะในการรํา

นาย เตวิช สรรพจักร เลขที่6

บุ คคลสำคัญในวงนาฏศิ ลป์
ไทย

1.ท่านผู้หญิงเเผ้ว สนิทวงศ์เสนี

มีนามเดิมว่า เเผ้ว สุทธิบูรณ์ แสดงละครเป็นตัวเอกใน โอกาสท่ีแสดงถวายทอดพระเนตรหน้าพระท่ี น่ัง ในพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว หลายครั้ง ท่านแสดงเป็นอิเหนา และนาดรสาในเรืองอิเหนา เป็นพระพิราพ และทศกัณฐ์ในเร่ืองรามเกีย
รต์ิทางด้าน การศึกษาวิชาสามัญท่านจบหลักสูตรจาก โรงเรียนในวังสวนกุหลาบในรัชสมัยพระมหาธีรราชเจ้า ผลงานเก่ียวกับการ
แสดง ศิลปะนาฏกรรม เช่น ท่าราของตัว พระ นาง ยักษ์ ลิง และตัวประกอบ การแสดงโขน ละครชาตรี ละคร นอก ละครใน
ละครพันทาง และ ระบาฟ้อนต่างๆ เป็นผู้คัดเลือกการ แสดง จัดทาบทและเป็นผู้ฝึกสอน ฝึกซ้อม อานวยการแสดง ถวายทอด
พระเนตรหน้าพระท่ีน่ัง ใน วโรกาสต้อนรับพระราชอาคันตุกะ อา คันตุกร และงานของรัฐบาล หน่วยงาน องค์กรต่างๆ

น.ส.ปั ญจมาพร คำศรี ม.4/6 เลขที่13

2.ครูรงภักดี (เจียร จารุจรณ)

เกิดเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2442 ที่จังหวัดนครปฐม เป็นบุตรของจางวางจอน และนางพริ้ง นายรงภักดี(เจียร จารุจรณ) เป็นศิลปิน
อาวุโสด้านนาฏศิลป์ที่มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการนาฏศิลป์ไทยโดยทั่วไป เคยรับราชการเป็นมหาดเล็กในพระบาทสเด็จ พระมงกุฏ
เกล้าเจ้าอยู่หัว เริ่มชิวิตศิลปินในกรมโขนหลวง โดยฝึกหัดเป็นตัวยักษ์ ได้รับการถ่ายถอดท่ารำจากบรรดาครู ที่สืบเนื่องจากรัช สมัยพระบาท
สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นศิลปินผู้เดียวที่ได้รับการถ่ายทอดท่ารำหน้า พาทย์สูงสุด
ความสามารถในการร่ายรำนี้ ทำให้ได้รับบทเป็นตัวแสลงเอก จนได้รับพระราชทินนามว่า "นายรงภักดี" ตลอดเวลาอัน ยาวนานนี้ ท่านอุทิศ
เวลาให้กับการสอนท่ารำ ให้คำแนะนำปรึกษาแก่ศิลปินกรมศิลปากร และนาฏศิลป์รุ่นหลังด้วยความเสียสละและเต็มใจ ในเกียรติประวัติคุณความ

ดีนี้สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติให้เป็นศิลปินแAห่งdชdาติ aสาขliาtศิtลlปeะกbารiแtสดoงf(นbาoฏศdิลyป์ไทtยe)xปtระจำปี ๒๕๒๙

น.ส.ปั ญจมาพร คำศรีืม.4/6 เลขที่13

3.ครูอาคม สายาคม

เดิมชื่อบุญสม เป็นบุตร ของนายเจือ ศรียาภัย และ นางผาดศรียาภัย สกุลเดิม อิศรางกูร ณ อยุธยา (นามสกุลสายาคมเป็นนามสกุลที่ได้รับ
พระราชทานจากรัชกาลที่ 6) ครูอาคมได้รับการฝึกหัดโขนพร้อมกับเรียนหนังสือจนจบชั้นมัธยมปีที่ 3 จากนั้น เข้ารับตำแหน่ง “พระ” แผนกโขน
หลวง กรมพิณ พาทย์และโขนหลวง กระทรวงวังต่อมา พ.ศ. 2478 โอนมาประจำโรงเรียนศิลปากร แผนกดุริยางค์ ดำรงตำแหน่งนักวิชาการ
ละครและดนตรี 7 กองการสังคีต กรมศิลปากร เมื่อเกษียณอายุ กรมศิลปากรได้เชิญให้เป็นผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ สอนนักศึกษาปริญญาตรี
ผลงานด้านการแสดง : ครูอาคม สายาคม แสดงเป็นตัวเอก เช่น พระราม อิเหนา พระร่วง พระอภัยมณี ขุนแผน พระไวย ไกรทอง อิเหนา

(เรื่องเงาะป่า) พระลอ อุณรุท พระสังข์ เป็นต้น
ผลงานด้านประดิษฐ์ท่ารำ : ได้แก่ เพลงหน้าพาทย์ตระนาฏราช เพลงหน้าพาทย์โปรยข้าวตอก เพลงเชิดจีน ลีลาประกอบท่า เชื่อม ตำราท่ารำ

น.ส.ปั ญจมาพร คำศรี ม.4/6 เลขที่13

4.ครูลมุล ยมะคุปต์

“คุณแม่ลมุล” เป็นธิดาของร้อยโท นายแพทย์จีน อัญธัญภาติ กับ นางคำมอย อัญธัญภาติ (เชื้อ อินต๊ะ) เกิดเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2448 ณ จังหวัดน่าน
ในขณะที่บิดาขึ้นไป ราชการสงครามปราบกบฏเงี้ยว (กบฏ จ.ศ.1264 ปีขาล พ.ศ. 2445) เริ่มต้นเรียนวิชาสามัญที่โรงเรียนสตรีวิทยา เมื่ออายุได้ 5 ขวบ เรียนได้
เพียงปีเดียว บิดานำไปกราบถวายตัวเป็นละคร ณ วังสวนกุหลาย ในสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าอัษฎางค์ เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ซึ่งอยู่ในความ
ปกครองของคุณท้าวนารีวรคณารักษ์ (แจ่ม ไกรฤกษ์)
ผลงานด้านการแสดง : ท่านแสดงเป็นตัวเอกเกือบทุกเรื่อง เพราะมีฝีมือเป็นเยี่ยม บทบาทที่ท่าน เคยแสดง เช่น พระสังข์ เขยเล็ก เจ้าเงาะ ฮเนา ซมพลา พระวิษณุ
กรรม พระอภัยมณี ศรีสุวรรณ สุดสาคร อุศเรน อิเหนา สียะตรา วิหยาสะกำ อุณรุท พระราม พระลอ พระมงกุฎ อินทรชิต พระนารายณ์ พระคเณศ สมิงพระราม
พระไวย พลายบัว พระพันวษา เป็นต้น
ผลงานด้านการประดิษฐ์ท่ารำ : ที่ประดิษฐ์ให้กรมศิลปากรในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เช่น รำแม่บทใหญ่ รำซัดชาตรี รำวงมาตรฐาน รำเถิดเทิง รำกิ่งไม้เงินทอง ระบำ
กลอง ระบำฉิ่ง ระบำนกยูง ระบำกฤดาภินิ หาร ระบำชุมนุมเผ่าไทย ระบำอธิษฐาน ระบำในน้ำมีปลา ระบำระฆัง ระบำนกสามหมู่ ระบำเชิญพระขวัญ ฟ้อนเงี้ยว
ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา ฟ้อนแพน ฟ้อนแคน เซิ้งสราญ เซิ้งสัมพันธ์ เป็นต้น

น.ส.ปั ญจมาพร คำศรี ม.4/6 เลขที่13

อ้างอิง

https://khonsite.wordpress.com/
https://www.thaipost.net/main/detail/14050
https://sites.google.com/site/klumsarakarreiynrusilpm4/home/bth-thi1-kar-
subsan-natsilp-
thiy
http://academic.obec.go.th/textbook/web/im
ages/book/1003238_example.pdf
https://travel.kapook.com/view48081.html

น.ส.ชฎาพร บุญแก้ว ม.4/6 เลขที่ 29