ความน่าเชื่อถือของข้อมูลมีอะไรบ้าง

2หน่วยการเรียนรทู้ ่ี

ความนา่ เช่ือถือของขอ้ มลู

ตวั ชว้ี ัด
• ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมูล วิเคราะหส์ อ่ื และผลกระทบจากการใชข้ า่ วสารที่ผดิ เพื่อการใชง้ านอยา่ งร้เู ท่าทนั

การประเมินความน่าเชื่อถอื ของข้อมูล
สามารถทาไดอ้ ย่างไร

การสืบคน้ เพื่อหาแหล่งขอ้ มูล

การสบื ค้นข้อมลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์

เปน็ การสบื คน้ ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรอื คอมพิวเตอร์ตา่ ง ๆ

การสบื คน้ ขอ้ มูลดว้ ยมือ

เป็นการสบื คน้ ตามเอกสาร หนงั สือ ตารา

การสบื ค้นเพอื่ หาแหล่งขอ้ มูล

การสืบคน้ เพอ่ื หาข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ตมีวธิ ีการดาเนนิ การ ดังนี้

1 กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารสบื ค้น
2 ดูประเภทของขอ้ มลู ที่สามารถสืบคน้ ได้
3 เตรียมอุปกรณ์และความร้ทู ีจ่ าเป็นในการสืบค้น
4 เลือกบริการอินเทอร์เนต็ ทีต่ อ้ งการ เช่น อเี มล เว็บไซต์
5 เลือกเครื่องมือหรอื โปรแกรมสาหรับคน้ หา

การสบื คน้ เพอื่ หาแหลง่ ขอ้ มูล

ประโยชน์ของอินเทอรเ์ น็ต

การสบื คน้ เพือ่ หาแหล่งขอ้ มูล

โทษของอนิ เทอรเ์ นต็

การสืบค้นเพอ่ื หาแหลง่ ขอ้ มลู

การใช้งานอินเทอร์เนต็ บนระบบเครือขา่ ยควรใชง้ านอย่างมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมโดยการปฏบิ ตั ิ ดังนี้

ใช้ถอ้ ยคาสภุ าพ ไมใ่ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ทาลาย
หรอื หลอกลวงผู้อืน่

แจง้ ผู้ปกครองเมือ่ พบ ไมเ่ ผยแพร่ขอ้ มูล
การใชง้ านที่ไม่เหมาะสม ทเ่ี ปน็ เทจ็

ไม่ละเมดิ สทิ ธิของผูอ้ ่นื เคารพกฏและข้อตกลง

ไมเ่ ปดิ เผยข้อมูลส่วนตัว ใชง้ านในทางทีถ่ ูกต้อง

การสบื ค้นเพอ่ื หาแหลง่ ข้อมูล

เคร่ืองมือสาหรับสืบค้นข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสืบค้นข้อมูลจากคาค้นหาต่าง ๆ ท่ีผู้ใช้
ป้อนเข้าสรู่ ะบบ โดยโปรแกรมท่ีใช้ในการสบื ค้นข้อมูล สามารถแบง่ ตามลักษณะการทางานได้ 3 ประเภท ดังน้ี

Crawler Based Search Engines Web Directory Meta Search Engines

จะอาศัยการบันทึกข้อมูลและจัดเก็บ เ ป็ น ส า ร บั ญ เ ว็ บ ไ ซ ต์ ท่ี มี ก า ร เ ป็ น โ ป ร แ ก ร ม ที่ ใ ช้ ห ลั ก ก า ร
ขอ้ มลู เป็นหลัก โดยการใชซ้ อฟต์แวร์ขนาดเล็ก จัดเก็บข้อมูลออกเป็นหมวดหมู่อย่าง สืบค้นด้วย Meta Tag โดยผลลัพธ์
ในการเก็บขอ้ มลู จากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ เช่น ชัดเจน ทาให้การสืบค้นทาได้อย่าง ของโปรแกรมสืบค้นประเภทน้ี จะมี
www.google.com รวดเรว็ เช่น www.dmoz-odp.org ความแม่นยาน้อยกว่าประเภทอื่น
เชน่ www.ixquick.com

การสืบค้นเพ่อื หาแหลง่ ข้อมลู

การสบื ค้นข้อมูลบนอินเทอรเ์ น็ต เพ่อื ใหไ้ ด้แหลง่ ข้อมูลท่มี คี ณุ ภาพ มีความนา่ เช่อื ถือ
และตรงตามความต้องการของผสู้ ืบค้นมีขั้นตอน ดงั นี้

กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดประเภท กาหนดคาสาคญั ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถอื
และหัวขอ้ ให้ชดั เจน ของข้อมลู ท่จี ะสบื คน้ สาหรบั สืบค้นขอ้ มูล ของข้อมลู ท่ีได้
จากการสบื คน้

การประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือของข้อมูล

การประเมนิ ความน่าเช่ือถือของข้อมลู มีหลักสาคญั 3 ประการ คอื

1. ประเมินว่าข้อมลู ตรงตามต้องการหรอื ไม่ โดยสามารถประเมนิ ไดจ้ ากการอา่ นชือ่ เวบ็ ไซต์ ชอ่ื เวบ็ เพจ
ช่ือหัวเร่ือง คานา สารบัญ หรือเน้ือหา ซ่ึงโดยส่วนใหญ่จะสามารถประเมินได้ตั้งแต่การอ่านช่ือเว็บไซต์
ชอ่ื เว็บเพจ หรอื ช่ือหวั เร่อื งแล้ว

การประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื ของขอ้ มลู

2. ประเมนิ ความน่าเช่ือถือ และความทันสมัยของข้อมูล

ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของแหล่งข้อมลู
พจิ ารณาว่าข้อมูลไดม้ าจากแหล่งข้อมลู ที่นา่ เช่อื ถอื หรอื ไม่

ประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของทรพั ยากรข้อมูล
พิจารณาว่าข้อมูลอยใู่ นรปู แบบใด เชน่ หนงั สือทวั่ ไป วารสาร นิตยสาร ขอ้ มลู บนอินเทอร์เน็ต

ประเมินความน่าเชอื่ ถือของผเู้ ขียน
พจิ ารณาว่าผู้เขยี นเปน็ ใคร เปน็ ของสานักพมิ พ์หรือเวบ็ ไซต์ใด

ประเมินความทนั สมยั ของขอ้ มลู
พจิ ารณาวนั เดือนปีท่ขี อ้ มูลถกู เผยแพร่ หรอื ผลิต

การประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของขอ้ มูล

3. ประเมนิ ระดบั เน้อื หาของขอ้ มูล โดยข้อมูลสามารถแบง่ ได้ 3 ระดับ ไดแ้ ก่

ขอ้ มูลปฐมภูมิ ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ิ ข้อมูลตติยภูมิ

เป็นข้อมลู ทีไ่ ด้จากการ เปน็ การนาข้อมูลปฐมภูมิ เป็นการชแี้ นะแหล่งข้อมูล
คน้ ควา้ โดยตรงของผู้เขียน มาเขยี นเรียบเรยี งใหม่ ปฐมภมู ิและทุตยิ ภมู ิ เชน่
เช่น รายงาน วิจยั วทิ ยานิพนธ์ โดยระบแุ หลง่ ท่มี าอยา่ งชดั เจน บรรณานุกรม เอกสารอา้ งองิ

การประเมนิ ความนา่ เช่ือถือของขอ้ มลู

แหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ ข้อมูลที่เราจะนามาใช้งานจะต้องมาจากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือได้
ซง่ึ มลี กั ษณะเป็นแหลง่ ทีม่ กี ารรวบรวมขอ้ มูลอยา่ งมีหลักเกณฑ์ มีแหล่งอา้ งองิ เชอื่ ถือได้ โดยแหลง่ ข้อมลู
ทีเ่ ช่อื ถอื ได้ เชน่

ข้อมูลจากเจ้าของ ข้อมูลจากองคก์ ร ข้อมลู จาก
ขอ้ มลู โดยตรง หรอื ผเู้ ชี่ยวชาญ หน่วยงานของรฐั

การประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูล

การประเมนิ ความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT เป็นวิธีการประเมินความน่าเช่อื ถือของ
ขอ้ มลู โดยการตงั้ คาถาม มี 6 ขัน้ ตอน ดังน้ี

การนาเสนอ (Presentation) ความสมั พนั ธ์ (Relevance)

คาถามเช่น ข้อมลู ท่ีได้ คาถามเช่น ขอ้ มลู นั้นมีรายละเอียด
มคี วามชดั เจนหรือไม่ มากเกินไปหรือไม่ ข้อมูลน้ันมีจุดเน้นอะไร
ภาษาทีใ่ ช้ถูกตอ้ งหรือไม่
ข้อมูลน้นั มคี าสาคญั ทต่ี อ้ งการหรือไม่

การประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูล

วตั ถุประสงค์ (Objectivity) วิธกี าร (Method)
คาถามเชน่ คาถามเกยี่ วกบั ขอ้ มลู ท่ตี ้องการ
คาถามเช่น ข้อมลู นี้มวี ธิ กี าร
ในการรวบรวมขอ้ มูลอยา่ งไร

การประเมินความนา่ เชื่อถอื ของขอ้ มลู

พสิ จู น์หรอื ยืนยัน (Provenance) เปน็ ปจั จุบัน (Timeliness)

คาถามเช่น ข้อมูลนน้ั ไดม้ าจากแหลง่ ข้อมูลใด คาถามเชน่ ข้อมลู น้นั เผยแพรเ่ ม่อื ใด
และแหล่งข้อมลู นน้ั เช่ือถอื ไดห้ รือไม่ ตีพมิ พเ์ มือ่ ใด

ตวั อย่างขา่ ว

ตวั อย่างขา่ ว

การรเู้ ทา่ ทันสอ่ื

การร้เู ทา่ ทันส่ือ ท้ังส่ือท่เี ผยแพรบ่ นอนิ เทอร์เน็ตและสอ่ื สง่ิ พมิ พต์ ่าง ๆ มอี งคป์ ระกอบ ดังนี้

01 02 03 04

ความสามารถ ความเขา้ ใจการประเมินคา่ การสร้าง การใชป้ ระโยชน์ การสะท้อนคดิ
ในการเขา้ ถึงสอื่ สารสนเทศและเนอื้ หาในสือ่ และการเฝ้าระวังสารสนเทศ
เป็นการพิจารณาการกระทา
เป็นการได้รับสอ่ื ประเภทตา่ ง ๆ เป็นการประเมนิ คุณค่าของสื่อ และเนือ้ หาในสือ่ ของตนเองวา่ จะมี
ได้อย่างเต็มที่ รวดเร็ว ว่า สอ่ื น้นั มคี ณุ ค่าตอ่ ผรู้ ับสาร
และเขา้ ใจเน้ือหา เป็นการสรา้ งสรรค์สือ่ ใหม่ ผลกระทบหรือผลลัพธ์
มากน้อยเพียงใด ในแบบของตนเอง ต่อผอู้ ื่นอยา่ งไร

การรู้เทา่ ทันสอื่

ส่ือดิจิทัล เปน็ ส่ือที่นักเรียนสามารถเข้าถึงได้รวดเร็วที่สุด ทั้งสื่อจากทางวิทยุ โทรทัศน์ หรือเว็บไซต์
ต่าง ๆ โดยการรู้เทา่ ทันสื่อดิจิทลั สามารถแบง่ ออกได้ 8 ดา้ น ดงั นี้

การรเู้ ท่าทนั ส่ือ

การแบ่งระดบั ของการรเู้ ทา่ ทนั สื่อ สามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 4 ระดับ ดังน้ี

ความรตะดรับะหนกั ควารมะดเขับา้ ใจ วิเรคะรดาบั ะห์ การปรระะดเมบั นิ และ
และตีความ การตดั สินใจ

❖ ระดับความตระหนกั คือ ระดบั ท่ผี รู้ ับสือ่ ตระหนกั ว่า ส่ือและเนือ้ หาส่อื มเี พื่อตอบสนองต่อ
ความชอบ ความพอใจ

❖ ระดับความเขา้ ใจ คอื ระดบั ทผ่ี ้รู บั สือ่ มคี วามรู้ความเข้าใจในสอื่ รลู้ ักษณะของสอ่ื ตามบทบาท
หนา้ ที่ในระบบสังคม รู้ความหมายตรง

❖ ระดับวิเคราะหแ์ ละตคี วาม คอื ระดบั ที่ผู้รบั สื่อสามารถวิเคราะหก์ ารดาเนนิ การของสถาบัน
หรอื องค์กรสอื่ วิเคราะห์และตีความหมายแฝงได้

❖ ระดบั การประเมนิ และการตดั สนิ ใจ คอื ระดบั ท่ผี ู้รบั สื่อประเมนิ ไดว้ ่า สถาบนั หรือองค์กรส่อื
เกย่ี วขอ้ งกับระบบอานาจ ทนุ นิยม บรโิ ภคนิยม สามารถตีความเนือ้ หาสื่ออยา่ งเช่ือมโยงกับ
บริบททางสังคมและวฒั นธรรม

การรเู้ ทา่ ทันสอ่ื

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและนวตั กรรมในปจั จุบนั ทีม่ ีการพฒั นาไปอย่างมาก โดยเฉพาะส่ือ
เทคโนโลยสี ารสนเทศต่าง ๆ ซงึ่ อาจสง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาจากการใช้สื่อของคนในสงั คมมากขึ้นและรวดเรว็ เชน่

ปญั หาความรุนแรง

การเลน่ เกมออนไลน์ พฤติกรรมการ ปญั หาพฤตกิ รรมกา้ วรา้ ว
ลอกเลียนแบบ ปญั หาทางอารมณ์

การรูเ้ ท่าทนั ส่ือ

การรบั ข้อมลู ข่าวสารต่าง ๆ จะต้องมีการวิเคราะห์ว่า สงิ่ ทเ่ี ผยแพร่น้ันเปน็ จริงหรอื ไม่ ซึง่ ถ้าหาก
ข้อมูลน้นั เป็นเทจ็ อาจทาให้ผรู้ บั ข้อมูลได้รบั ผลกระทบได้ ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี้

นายบอยได้รบั อีเมลจากธนาคารแจง้ วา่ บัญชธี นาคารมีความเคล่ือนไหวผิดปกติ ให้นายบอยส่งเลขบัตร
ประจาตัวประชาชนพร้อมเบอรโ์ ทรศพั ท์กลบั มาทอี่ ีเมลน้ี มิเชน่ นั้นบัญชธี นาคารจะไมส่ ามารถใชง้ านได้

ผลกระทบจากการไดร้ บั ข้อมูลผิดพลาดน้ี คือ
1. การถกู โจรกรรมข้อมลู สว่ นตวั ได้แก่ เลขบัตรประจาตัวประชาชน
เบอรโ์ ทรศัพท์
2. การถกู โจมตดี ้วยมลั แวร์ตา่ ง ๆ
3. การถกู ล่อลวงดว้ ยข้อมลู อนั เปน็ เท็จ

การประเมินความนา่ เช่ือถือของข้อมลู จะตอ้ ง
พจิ ารณาขอ้ มูลทมี่ าจากแหล่งขอ้ มลู ทเี่ ช่ือถอื ได้

และตรงตามความต้องการของผู้ใชง้ าน
หรืออาจใช้เครอื่ งมอื ในการประเมินความน่าเชอ่ื ถือ

เชน่ PROMPT

ข้อควรพิจารณาความน่าเชื่อถือของข้อมูล คืออะไร

การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูล.
เว็บไซต์หรือแหล่งที่มาของข้อมูลต้องบอกวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลในเว็บไซต์อย่างชัดเจน.
การนำเสนอเนื้อหาต้องตรงตามวัตถุประสงค์ในการสร้างหรือเผยแพร่ข้อมูลของเว็บไซต์.
เนื้อหาของเว็บไซต์ต้องไม่ขัดต่อกฎหมายศีลธรรมและจริยธรรม.

เราสามารถประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้อย่างไร

ความทันสมัยของข้อมูล (currency) ควรตรวจสอบว่าข้อมูลเผยแพร่เมื่อใด สำรวจและปรับปรุงเมื่อใด นอกจากนี้ในปัญหาที่สนใจ ควรตรวจสอบว่าสามารถใช้ข้อมูลที่เผยแพร่นานมาแล้วได้หรือไม่ ความสอดคล้องกับการใช้งาน (relevance) ควรตรวจสอบว่าข้อมูลเกี่ยวข้องกับปัญหาที่ต้องการหรือไม่

ความเหมาะสมของแหล่งข้อมูลมี 5 ด้านอะไรบ้าง

การพิจารณาความเหมาะสมของแหล่งข้อมูล สามารถใช้มุมมองทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ความทันสมัยของ ข้อมูล ความสอดคล้องกับการใช้งาน ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล ความถูกต้องแม่นยำ และจุดมุ่งหมาย ของแหล่งข้อมูล

เว็บไซต์ที่มีความน่าเชื่อถือจะพิจารณาจากสิ่งใด

แหล่งที่มา (Provenance) ข้อมูลที่น่าเชื่อถือต้องมีการระบุแหล่งที่มาอย่างชัดเจน และเป็นแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เวลา (Timeliness) ข้อมูลที่มีคุณภาพจะต้องมีความเป็นปัจจุบัน หรือมีความทันสมัย และมีการระบุช่วงเวลาในการสร้างข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริง