ข้อสอบเศรษฐกิจพอเพียง ป.5 พร้อมเฉลย

แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ป.5 (วิชาสังคมศึกษา) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์

แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ป.5 (วิชาสังคมศึกษา) - หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์


ข้อสอบเศรษฐกิจพอเพียง ป.5 พร้อมเฉลย


Download เป็น PDF File



ข้อสอบเศรษฐกิจพอเพียง ป.5 พร้อมเฉลย


ข้อสอบเศรษฐกิจพอเพียง ป.5 พร้อมเฉลย






ที่19:51

ข้อสอบเศรษฐกิจพอเพียง ป.5 พร้อมเฉลย

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ป้ายกำกับ: ข้อสอบ ป.5, ข้อสอบ สังคมศึกษา ป.5

9. การนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ยกเว้น ด้านใด

ก. สังคม

ข. สิ่งแวดล้อม

ค. วัฒนธรรม

ง. พัฒนาประเทศ

10. การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยสิ่งใดเป็นพื้นฐาน

ก. ความซื่อสัตย์และความรู้

ข. ความรู้และคุณธรรม

ค. คุณธรรมและความเพียร

ง. ความเพียรและสติปัญญา

11. ข้อใดเป็นการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ก. รู้จักประหยัด

ข. ยืมเงินเพื่อนและผ่อนใช้ทีหลัง

ค. อดอาหารกลางวันเพื่อเก็บเงินใส่ออมสิน

ง. ทำงานหลังเลิกเรียนเพื่อเก็บเงินไว้ซื้อสิ่งของที่อยากได้

12. ข้อใดคือความหมายของการพึ่งตนเอง

ก. มีความมั่นใจว่าตนเองเก่ง

ข. มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่

ค. ขอความช่วยเหลือเมื่อทำสิ่งนั้นไม่ได้

ง. พยายามทำทุกอย่างด้วยตนเองแม้จะทำไม่ได้ดี

13. เกษตรทฤษฎีใหม่แบ่งพื้นทำกินที่อย่างไร

ก. ขุดสระน้ำ / ปลูกข้าว / ปลูกอ้อย / ที่อยู่

ข. ปลูกข้าว / ปลูกอ้อย / ปลูกข้าวโพด / ที่อยู่

ค. ปลูกข้าว / เลี้ยงปลา / ปลูกอ้อย / ที่อยู่

ง. ขุดสระน้ำ / ปลูกพืช / ปลูกข้าว / ที่อยู่

14. ข้อใดเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อปลูกฝังแนวคิดหลักเศรษฐกิจพอเพียงต่อตนเอง

ก. การนำน้ำล้างจานไปรดต้นไม้

ข. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบหลอดประหยัดไฟฟ้า

ค. ไม่ทิ้งขยะในที่สาธารณะและแหล่งน้ำในชุมชน

ง. ใช้ถุงผ้าแทนถุงกระดาษแทนและถุงพลาสติกในการซื้อของ

15. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้อัญเชิญปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติในการพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม ยกเว้นข้อใด

เรื่อง การประเมินผลการปฏิบัติงานตามข้อตกลง (Performance Agreement) มาอย่างกว้างขวางแล้ว และในการประเมินเพื่อขอมีและเลื่อนวิทยฐนะของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก็ปรากฏว่า สำนักงาน กค.ศ. ได้เคย  มีหลักกณฑ์และวิธีการนี้ประกาศใช้ (แต่ยังไม่ได้ใช้) คือ หลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษวิทยฐนะหรือเลื่อนเป็นวิทยฐานะชำนาญการพิเศษและวิทยฐานะเชี่ยวชาญตามข้อตกลงในพัฒนางาน (ส่งพร้อมหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศร 0206.4/ว 7 ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2558) และนิยามศัพท์สำคัญเกี่ยวเนื่องกับ คำว่า “ข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement)” ดังต่อไปนี้

ข้อตกลงในการพัฒนางาน หมายถึง ข้อเสนอในการพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ผู้ขอรับการประเมินได้จัดทำไว้กับคณะกรรมการชุดที่ 1 และได้รับความเห็นชอบจาก อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา หรือ ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี ให้เป็นข้อตกลง เพื่อแสดงว่าภายในระยะเวลาที่กำหนดจะพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ดีขึ้น ปรากฏผลสำเร็จ เป็นที่ประจักษ์ และสามารถยกระดับคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการศึกษได้ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน หมายถึง การพัฒนางานตามหน้าที่และความรับผิดชอบ ให้มีคุณภาพตามที่กำหนดไว้ในมาตรฐานวิทยฐานะที่ขอรับการประเมิน

ผลการพัฒนางานตามข้อตกลง หมายถึง ผลการพัฒนางานที่ผู้ขอรับการประเมินได้ดำเนินการตามข้อตกลงที่ทำไว้เพื่อพัฒาคุณภาพผู้เรียนให้ดีขึ้นจนบังเกิดผลป็นที่ประจักษ์และสามารถกระดับคุณภาพผู้เรียนและคุณภาพการศึกษได้ตมนโยบายของกระทวงศึษาธิการภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อตกลง

ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หมายถึง ผลการพัฒนาผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้สูงขึ้นตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ

ผลสัมฤทธิ์ทาการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดจกกระบวนการจัดการเรียนการสอนหรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหรือโครงการที่ทำให้ผู้เรียนกิดการพัฒนตมมาตฐานการเรียนที่สอดคล้องกับสาขาหรือกลุ่มสาระการเรียนหอวิชาที่เสนอขอรับการประเมิน

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง คุณลักษณะที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียนในด้านการมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึก บุคลิกลักษณะนิสัยที่ดีงม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก

ผู้เรียน หมายถึง นักเรียน นักศึกษา หรือผู้รับบริการการบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความคิดรวบยอดของตัวชี้วัดของวิชาในกลุ่มสาระการเรียนตกันตามหลักสูตรที่มีความสัมพันธ์กันตั้แต่ 2 วิชาขึ้นไป โดยนำเอาเนื้อหาวิชามาผสมผสานและเชื่อมโยกัน ทำให้เกิดความรู้ความข้าใจลักษณะองค์รวมสามารถนำไปประยุคตใช้ในการจัดการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างมีคุณภาพ

สำหรับคำว่า “ข้อตกลงในกาพัฒนางาน หรือ PA” ตามหลักเกณฑๆ ใหม่นี้ ประกอบด้วย 2 ส่วน

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่และมาตรฐานวิทยฐานะ ประกอบด้วย (1)
ชั่วโมงปฏิบัติงาน และ (2) คุณภาพการปฏิบัติงนตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

ซึ่งจะเห็นว่า ครูที่จะยื่น PA ต่อผู้อำนวยโรงเรียนในวันที่ 1 ตุลาคม 2564 นี้ จะต้องประกอบด้วย 2 ส่วน ดังกล่าว หลังจากนั้น ก็จะต้องมีการพัฒนางานตามข้อตกลงจนสิ้นสุดปีงบประมาณ จึงจะมีการประเมิน โดยผลการประเมินใช้ประโยชน์เพื่อ (1) เลื่อนเงินเดือน (2) คงวิทยฐานะ และ (3) เลื่อนวิทยฐานะ