การจัดการอุตสาหกรรมบริการ คือ

เรียนจบสาขาการโรงแรม แล้วสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพ

  1. ผู้ประกอบการธุรกิจการโรงแรม
  2. ผู้จัดการโรงแรมพนักงานโรงแรม เช่น พนักงานผสมเครื่องดื่ม นักจัดดอกไม้ พ่อครัว พนักงานสปา พนักงานต้อนรับ พนักงานส่วนหน้า พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
  3. พนักงานสายการบิน เช่น พนักงานต้อนรับภาคพื้นสายการบิน พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน
  4. พนักงานเรือสำราญ เช่น พนักงานต้อนรับบนเรือสำราญ พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่มบนเรือสำราญ
  5. เป็นเจ้าของภัตตาคารหรือร้านอาหาร
  6. เจ้าหน้าที่ประสานงานและดูแลลูกค้า ฝ่ายประชาสัมพันธ์
  7. รับราชการ หน่วยงานภาครัฐ และเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐ
  8. พนักงานในธุรกิจนำเที่ยว เช่น มัคคุเทศก์ พนักงานประสานงานทัวร์

เรียนจบสาขาการจัดการโลจิสติกส์  แล้วสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพ

  1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชน  และโลจิสติกส์  ฝ่ายการขนส่ง
  2. นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต  หรือการกระจายสินค้า และนักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ Logistics Analyst,  Material Planner, Operations Analyst,  Procurement Manager, Supply Chain Analyst, Business Process Analyst, Operations Manager
  3. เจ้าหน้าที่ นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมงกรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร  และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  4. นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์รับราชการ หน่วยงานภาครัฐ เช่น กรมศุลกากร กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ (สำนักธุรกิจบริการและโลจิสติกส์การค้า) กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (กองส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ) สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (กองนโยบายและยุทธศาสตร์การค้าสินค้าอุตสาหกรรมและธุรกิจบริการ) กระทรวงอุตสาหกรรม มีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (สำนักโลจิสติกส์) กรรมสรรพากร
  1. เจ้าหน้าที่ให้สินเชื่อเพื่อการนำเข้าส่งออก SME

    >> หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ (หลักสูตรปรับปรุง  พ.ศ.  2560)  
           (กลุ่มวิชาเอกการโรงแรม)  Read more
    >>
     หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ  (หลักสูตรปรับปรุง  พ.ศ.  2560)  
           (กลุ่มวิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์)  Read more

 

สารสนเทศนักศึกษาระดับปริญญาตรี

ภาควิชาและสาขา ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ

Bachelor of Business Administration Program in Hospitality Industry Management

ชื่อปริญญา : บริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรมบริการ) บธ.บ. (การจัดการอุตสาหกรรมบริการ)

เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี 4 ปี ภาคปกติ

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. ธุรกิจโรงแรม เช่น พนักงานบริการส่วนหน้า พนักงานแม่บ้าน พนักงานครัว พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
  2. ธุรกิจนำเที่ยว
  3. ธุรกิจบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น พนักงานต้อนรับ พนักงานประชาสัมพันธ์
  4. ผู้ประกอบการธุรกิจบริการ

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  1. สำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. หรือเทียบเท่า
  2. สำเร็จการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปวส. สาขาการโรงแรมและบริการ สาขาการจัดการบริการอาหารและเครื่องดื่ม หรือเทียบเท่า
  3. ต้องมีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 2.00

ปรัชญาของหลักสูตร

รักงานบริการ ก้าวทันเทคโนโลยี มีคุณธรรม นำความรู้สู่ชุมชน

โครงสร้างหลักสูตร

  • สาขาวิชาอุตสาหกรรมบริการ (รหัส 60-62)
    • นักศึกษารหัส 62
    • นักศึกษารหัส 61
    • นักศึกษารหัส 60
  • สาขาวิชาการจัดการโรงแรม (รหัส 57-59)
    • นักศึกษารหัส 59
    • นักศึกษารหัส 58
    • นักศึกษารหัส 57

สาขาวิชา การจัดการอุตสาหกรรมบริการ (วิชาเอกการโรงแรม)
ชื่อหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ (วิชาเอกการโรงแรม)
ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรมบริการ)
หลักสูตร 4 ปี

ความสำคัญของหลักสูตร

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมบริการ วิชาเอกการโรงแรม มีวัตถุประสงค์สำคัญที่จะพัฒนานักศึกษาให้มีความรู้ ทักษะ และศักยภาพในการทำงานด้านการโรงแรมในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความต้องการบุคคลากรอุตสาหกรรมบริการในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ทางหลักสูตรได้จัดการเรียนการสอนแก่นักศึกษาในรูปแบบที่นักศึกษาสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ในสายงานด้านโรงแรม โดยการปฏิบัติจริง ทั้งนี้เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะและฝึกความชำนาญในวิชาชีพด้านการโรงแรม และสร้างทัศนคติในการทำงานในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการตลอดจนได้รับความรู้และทักษะวิชาชีพจากบุคลากรผู้เชี่ยวชาญในสายงานโรงแรมที่มีมาตรฐานระดับสากล

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในสาขาวิชานี้สามารถประกอบอาชีพดังนี้

  1. ผู้จัดการโรงแรม
  2. บาร์เทนเดอร์ / บาริสต้า
  3. พนักงานฝ่ายต้อนรับ
  4. เซฟประจำห้องอาหาร
  5. พนักงานสำรองห้องพัก
  6. พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
  7. พนักงานจัดอีเว้นท์
  8. เจ้าหน้าที่แผนกครัว / เบเกอร์รี่
  9. พนักงานบนเรือสำราญ
  10. ประกอบธุรกิจส่วนตัวด้านที่พัก / โรงแรม
  11. เจ้าหน้าที่ประสานงานและดูแลลูกค้า