ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

�����´�ҹ������

•  ����Ҫ�ѭ�ѵ� �ѵ���ѹ���� (��Ѻ��� 3) �.�.2551
•  ����Ҫ�ѭ�ѵ� �ѵ���ѹ���� (��Ѻ��� 2) �.�.2544
•  ����Ҫ�ѭ�ѵ��ѵ���ѹ���� �.�.2535
•  ����з�ǧ ��˹��ҵðҹ㹡�ú����� �Ѵ��� ��д��Թ��ô�ҹ������ʹ��� �Ҫ��͹���� �����Ҿ�Ǵ����㹡�÷ӧҹ����ǡѺ�������ѹ���� �.�.2556
•  ��С�ȡ���ç�ҹ�ص��ˡ�� ����ͧ �����͡�����ѡ������������ѵ���ѹ���� �.�. 2550
•  ��С�ȡ�з�ǧ�ص��ˡ��� ����ͧ �ѭ����ª����ѵ���ѹ���� �.�.2556
•  ��С�ȡ�з�ǧ�ص��ˡ��� ����ͧ �к���è�ṡ��С��������ä������ѹ���¢ͧ�ѵ���ѹ���� �.�.2555

ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี

                    วัตถุดิบที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและอุตสาหกรรม คือ สารเคมี และสารเคมีบางประเภทคือสิ่งที่ก่อให้เกิดอันตราย
          แก่ผู้ปฏิบัติงานหรือสิ่งที่เรียกว่า สารเคมีอันตราย การทำงานกับสารเคมีอันตราย สารเคมีรั่วไหล ซึ่งอาจทำให้ลูกจ้างได้รับสารเคมี
          อันตราย เช่น การผลิตการควบการหกรั่วไหลสารเคมี การติดฉลาก การห่อหุ้ม การเคลื่อนย้าย การเก็บรักษา การถ่ายเท การขนถ่าย
          การขนส่ง การกำจัด การทำลายการเก็บสารเคมีอันตรายที่ไม่ใช้แล้ว รวมทั้ง การป้อง การบำรุงรักษา การซ่อมแซม
          และการทำความสะอาดเครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนภาชนะบรรจุ
สารเคมีอันตราย การกำหนดตามมาตรฐานในการบริหารจัดการสารเคมี
          และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายจึงเป็นสิ่งสำคัญต่อเหตุการณ์
          ฉุกเฉินสารเคมีรั่วไหล และมีความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน สิ่งแวดล้อม

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556


สารเคมี คืออะไร

                    สารพิษ (Poisons) คือ สารเคมีที่มีสภาพเป็นของแข็ง ของเหลวหรือก๊าซซึ่งสามารถเข้าสู่ร่างกาย
          ระหว่างการปฏิบัติงานโดยเฉพาะการสัมผัสทางผิวหนังและการหายใจ

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

                    1.หมวกนิรภัย ใช้ป้องกันศีรษะจากการกระแทก

                    2.ถุงมือ ใช้ป้องกันสารเคมีสิ่งปนเปื้อนและการติดเชื้อ

                    3.รองเท้าบูท ใช้ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมีและการซึมผ่านของน้ำ

                    4.แว่นครอบตา/หน้ากาก แว่นควรมีวาล์วระบายความร้อนใช้สำหรับหน้างานที่มีไอสารเคมี

                    5.ชุดกันสารเคมี ใช้ป้องกันการกระเด็นของสารเคมีและละอองน้ำสกปรก

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

อันตรายของสารเคมี

                    ชนิดกัดกร่อน (Corrosive)

          ทำให้เนื้อเยื่อของร่างกายไหม้พอง ได้แก่ สารละลายพวกกรดและด่างเข้มข้น น้ำยาฟอกขาว

                    ชนิดทำให้ระคายเคือง (Irritants)
          ทำให้เกิดอาการปวดแสบ และอักเสบในระยะต่อมา เช่น ฟอสฟอรัส สารหนู อาหารเป็นพิษ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
 

                    ชนิดที่มีผลกระทบต่อระบบประสาท

          ส่งผลต่อการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท ทำให้หมดสติ หรือเกิดอาการเพ้อคลั่ง ชีพจรเต้นเร็ว เช่นใบยาสูบ ทินเนอร์

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

 หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้นผู้ได้รับสารเคมี

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ผิวหนัง

          ให้ล้างผิวหนังบริเวณที่ถูกสารเคมี โดยใช้น้ำสะอาดล้างให้มากที่สุด เพื่อให้เจือจางถ้าสารเคมีเป็นกรดให้รีบถอดเสื้อผ้าออกก่อน

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีที่ตา 

          ให้ล้างตาด้วยน้ำสะอาดทันที โดยเปิดเปลือกตาขึ้นให้น้ำไหลผ่านตาอย่างน้อย 15 นาที ป้ายขี้ผึ้งป้ายตา แล้วรีบนำส่งแพทย์โดยเร็ว

                    ผู้ที่ได้รับอันตรายจากสารเคมีในการสูดดม 

          ให้ย้ายผู้ที่ได้รับสารนั้นไปที่มีอากาศบริสุทธิ์ ประเมินการหายใจและการเต้นของหัวใจ ถ้าไม่มีให้ช่วยทำการปฐมพยาบาล

          เบื้องต้นด้วยการ CPR

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย

และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ.2556

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556

ความปลอดภัยในการทํางานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย 2556