ข้อสอบ สาร ชีว โมเลกุล พร้อมเฉลย

  1. ข้อสอบ o-net ปี2553
    ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน1โมเลลกุลและกลีเซอรอล3โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว
    1.ก และ ข
    2.ข และ ค
    3.ค และ ง
    4.ก ข และ ง
    เฉลย ค และ ง
    เหตุผล
    ก ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คิอสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    ข ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    ค ถุก
    ง ถูก
    น.ส พิมพร จันทร์ซางเพ็ญ ม.6/11 เลขที่ 18

  2. ข้อสอบ O-net 2550

    คำถาม : สารชีวโมเลกุลชนิดใดมีมากที่สุดของน้ำหนักแห้งในร่างกายคน
    ตัวเลือกที่ 1 : ไขมัน
    ตัวเลือกที่ 2 : โปรตีน
    ตัวเลือกที่ 3 : คาร์ไบไฮเดรต
    ตัวเลือกที่ 4 : กรดนิวคลีอิก

    เฉลย ตัวเลือกที่ 2 : โปรตีน เพราะ โปรตีนเป็นองค์ประกอบเกือบทุกส่วน เช่น กล้ามเนื้อ เลือด ผม เล็บ และกระดูกโปรตีนเป็นสารอินทรีย์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงมาก มีหน่วยโครงสร้างที่เล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน

    นาย อนุรักษ์ ศรีวิชัย ม.6/7 เลขที่ 9

  3. ข้อสอบ O’net51 (สารชีวโมเลกุล)
    สารในข้อใดเมื่อนำมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์แล้วให้ผลการทดสอบที่ถูกต้องที่สุด
    1.เมื่อนำน้ำแป้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    3.เมื่อนำน้ำผึ้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    4.เมื่อนำน้ำแอปเปิลมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบ 2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    เพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็น
    พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์

    นางสาววราภรณ์ วรรณศรี เลขที่31 ม6/2

  4. ข้อสอบ(O-net 53) สารชีวโมเลกุล
    ข้อใดไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก
    1. คาร์บอนไดออกไซด์
    2. ออกไซด์ของไนโตรเจน
    3. คาร์บอนมอนอกไซด์
    4. มีเทน

    เฉลย ตอบข้อ 3. คาร์บอนมอนอกไซด์
    เพราะ ก๊าซเรือนกระจกได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ , มีเทน , CFC และไนตรัสออกไซด์ซึ่งไนตรัสออกไซด์จัดเป็นออกไซด์ของไนโตรเจนชนิดหนึ่ง ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก คือ คาร์บอนมอน

    น.ส.สุธินี ปงกันคำ เลขที่25 ชัน ม.6/5

  5. ข้อสอบ o-net ปี 2552 (สารชีวโมเลกุล)
    กรดไขมันชนิดใดตองใชไอโอดีนมากที่สุดในการทําปฏิกิริยา
    1) กรดโอเลอิก
    2) กรดลอริก
    3) กรดไลโนเลนิก
    4) กรดไลโนเลอิก

    เฉลย ตอบ ข้อ 3) กรดไลโนเลนิก
    เพราะ กรดไขมันที่สามารถทําปฏิกิริยากับไอโอดีนไดมากที่สุด ตองเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ซึ่งกรด
    ไลโนเลนิกเปนกรดไขมันไมอิ่มตัวที่สุด เนื่องจากมีพันธะคูมากที่สุดและจุดหลอมเหลวต่ําที่สุด

    นางสาว อลิสา ดงภูเวท เลขที่ 31 ม.ุ6/5

  6. ข้อสอบ o-net ปี 2552
    กรดไขมันชนิดใดตองใชไอโอดีนมากที่สุดในการทําปฏิกิริยา
    1) กรดโอเลอิก 2) กรดลอริก
    3) กรดไลโนเลนิก 4) กรดไลโนเลอิก

    เฉลย ตอบ ข้อ 3) กรดไลโนเลนิก
    เพราะ กรดไขมันที่สามารถทําปฏิกิริยากับไอโอดีนไดมากที่สุด ตองเปนกรดไขมันชนิดไมอิ่มตัว ซึ่งกรด
    ไลโนเลนิกเปนกรดไขมันไมอิ่มตัวที่สุด เนื่องจากมีพันธะคูมากที่สุดและจุดหลอมเหลวต่ําที่สุด

    นางสาว อลิสา ดงภูเวท เลขที่ 31 ม.ุ6/5

  7. o-net ปี 50 (สารชีวโมเลกุล)
    จงพิจารณาชนิดและหน้าที่ของสารต่อไปนี้

    ก ฮีโมโกลบิน โปรตีน ลำเลียงออกซิเจน
    ข คอเลสเทอรอล ไขมัน สร้างฮอร์โมนเพศและน้ำดี
    ค อิมมูโนโกลบูลิน โปรตีน ภูมิคุ้มกัน
    ง ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันในเลือด ตัวทำละลายวิตามินต่างๆ

    การระบุชนิดและหน้าที่ของสารใดถูก

    1. ก เท่านั้น 2. ข และ ง เท่านั้น 3. ก และ ค 4. ก ข และ ง

    เฉลยตอบ 3
    เพราะ ข้อ ก ถูกต้องตามข้อมูล
    ข้อ ข ผิดเนื่องจากคอเลสเทอรอลเป็นไขมันในเลือดจะสร้างฮอร์โมนเพศ และน้ำดี
    ข้อ ค ถูกต้อง เพราะอิมมูโนโกลบูลิน เป็นสารโปรตีนประเภทแอนติบอดี
    ข้อ ง ผิด เนื่องจากไตรกลีเซอไรด์เป็นไขมันและน้ำมันที่ช่วยละลายวิตามินได้ ไม่อยู่ในเลือด

    นางสาวมาลินี เลาย้าง ม.6/5 เลขที่ 22

  8. ข้อ 17) ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล (O-net 53)
    1. น้ำมันปิโตรเลียม
    2. แก๊สธรรมชาติ
    3. ถ่านหิน
    4. ถ่านกัมมันต์

    คำตอบข้อ 17 ) ตอบข้อ 4. ถ่านกัมมันต์

    เหตุผล
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
    ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ ถ่านกัมมันต์
    ซึ่งเป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือวัสดุใกล้เคียงอื่นๆ เช่น กะลามะพร้าวมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนช์โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆทำให้ได้ถ่านที่มีความพรุนสูงมาก

    นาย ธนพล แซ่ลี้ ม.6/3 เลขที่13

  9. ข้อ 16) นาย ก ได้ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการนำเอารองเท้านักเรียนที่ชำรุดไปติดกาวใหม่ เพื่อนำมาใช้ได้อีก วิธีดังกล่าวเรียกว่าอะไร (O-net 53)

    1. reduce
    2. reuse
    3. recycle
    4. repair

    คำตอบข้อ 16 ) ตอบข้อ 4. repair
    เหตุผล
    จากหลัก 5R—-> Repair คือ การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆให้สามารถใช้งานต่อได้

    นายกิตติพงศ์ จิตรวิจารณ์ เลขที่ 10 ม.6/5

  10. ข้อ 16) นาย ก ได้ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการนำเอารองเท้านักเรียนที่ชำรุดไปติดกาวใหม่ เพื่อนำมาใช้ได้อีก วิธีดังกล่าวเรียกว่าอะไร (O-net 53)

    1. reduce
    2. reuse
    3. recycle
    4. repair

    คำตอบข้อ 16 ) ตอบข้อ 4. repair
    เหตุผล
    จากหลัก 5R—-> Repair คือ การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆให้สามารถใช้งานต่อได

  11. สารพันธุกรรมเป้นสารประเภทใด?
    1.คาร์โบไฮเดรต
    2.โปรตีน
    3.พิลิด
    4.กรดนิวคลีอิก

    ตอบข้อ 4) กรดนิวคลิอิก
    ทำหน้าที่เก็บและถ่ายข้อมูลทางพันธุกรรมมีหน่วยย่อยเรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซึ่งกรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ
    – RNA ( Ribonucleic acid )
    – DNA ( Deoxyribonucleic acid )

    นางสาว นันทวัน หลงบุญ ม.6/5 เลขที่28

  12. 18.น้ำมันชนิดใดต่อไปนี้จะเกิดการเหม็นหืนได้ง่ายที่สุด ?
    ก.น้ำมันมะพร้าว
    ข.น้ำมันถั่วเหลือง
    ค.น้ำมันรำข้าว
    ง.น้ำมันดอกทานตะวัน
    เฉลย คือ 1.เพราะน้ำมันมะพร้าวประะกอบด้วย กรดไขมันอิ่มตัวเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งไม่เกิดการเติมออกซิเจน ดังนั้นหากสกัดอย่างถูกวิธี จะไม่เหม็นหืน แม้ว่าจะเก็บไว้นานในขวดใสซึ่งผิดกับน้ำมันพืชอื่นๆที่ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิ่มตัวเป็นส่วนใหญ่ และเก็บในขวดใสที่แสงผ่านได้สะดวก จะเกิดการเหม็นหืนได้เมื่อเก็บไว้เป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามแม้ว่าน้ำมันมะพร้าวจะมีสมบัติที่ดีเด่นที่ไม่มีในน้ำหรือไขมันอื่นๆทั้งหมด แต่บางครั้งน้ำมันก็เกิดเหม็นหืนได้ โดยเฉพาะเมื่อเก็บไว้นานๆ…..
    นาย ณัฐพล ไชยชื่น ม.6.5 เลขที่ 7

  13. 14.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สารประเภทโปรตีน ?
    ก.ใยแมงมุม
    ข.เขาสัตว์
    ค.คอเลสเทอรอล
    ง.ฮีโมโกลบิน

    เฉลย ค. คอเลสเทอรอล เพราะ Cholesterol เป็นกลุ่มไขมันที่เป็นสาร ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่ละลายน้ำ Cholesterol เป็นสิ่งจำเป็นต่อชีวิต เนื่องจากร่างกายต้องใช้เป็นส่วนประกอบของโครงสร้างของผนังเซลล์ และเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของ ฮอร์โมน

    นาย ณัฐเครินทร์ วิริยะ เลขที่ 7 ม.6.5

  14. นางสาว นาถสุดา บุญจันทร์ เลขที่ 37 ชั้น 6/5
    สารชีวโมเลกุล
    ข้อ 19) ข้อความใดต่อไปนี้ถูก (O-net 53)
    ก. สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง

    คำตอบข้อ 19 ) ตอบข้อ 3. ค และ ง
    เหตุผล
    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

  15. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากปิโตรเลียม
    1. มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
    2. เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
    3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    4. ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนที่มีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม

    ตอบ ข้อ 3
    เพราะ ข้อ 1. น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250 -340 องศาเซลเซียส
    ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว
    ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12

    ทั้งหมดอ้างอิงจาก หนังสือเรียนสารและสมบัติของสารหน้า 37 ภาพ 2.1

    นางสาวหาญชิ่ง หน่อคำ ม. 6/5 เลขที่ 35

  16. ปิโตรเลียม (O-net 51)
    8.ข้อแตกต่างระหว่างแก๊สธรรมชาติเหลว (LNG) และแก๊สปิ โตรเลียมเหลว (LPG) ต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
    ก. ในการนำมาเป็นเชื้อเพลิง LNG ใช้ในครัวเรือนและยานพาหนะส่วน LPG ใช้ในอุตสาหกรรม
    ข. การนำมาใช้ประโยชน์ต้องกำจัดสารที่ไม่ใช่ไฮโดรคาร์บอนออกจาก LNG ส่วน LPG สามารถนำมาใช้ได้เลย
    ค. LNG เป็นแก๊สผสมสามารถนำไปกลั่นได้น้ำมันเบนซิน ส่วน LPG เป็นแก๊สไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากการกลั่น
    น้ำมันดิบ

    1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ค. 4. ก. ข. และ ค.

    ตอบข้อ 2 เพราะแก๊สที่ขุดพบในธรรมชาติที่เป็นของเหลวปนแก๊สเรียกว่า LNG หรือ Liquid Natural Gas ซึ่งจะมีทั้งปรอทไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอนโมเลกุลเล็กๆ ตั้งแต่ C1-C6 เมื่อนำไปกลั่นแยกจะได้ส่วนที่เป็น C3-C4 เราเรียกว่าแก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG หรือ Liquid Petroleum Gas) LPG ใช้ในครัวเรือนและยานพาหนะส่วน LNG ใช้ในอุตสาหกรรม

    นายอาทิตย์ คำหลิ่ง ม.6/2 เลขที่ 4

  17. o-net 53
    ข้อใดเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติทั้งหมด
    1 ลินิน ไนลอน เซลลูโลส
    2 พีวีซี นีโอพรีน ยางพารา
    3 ไคติน ซิลิโคน ไกลโคเจน
    4 แป้ง โปรตีน กรดนิวคลีอิก

    เฉลยตอบข้อ 4 เพราะ ลินิน เซลลูโลส ยางพารา ไคติน ไกลโคเจน แป้ง โปรตีน และกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติ ส่วนไนลอน พีวีซี นีโอพรีน ซิลิโคน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์

    นางสาวศรัญญา จับใจนาย เลขที่ 25 ชั้น ม. 6/3

  18. แก้ไขเนื่องจากซ้ำ
    ข้อสอบ O-net 2548
    น้ำมันพืชที่ใช้ทอดอาหารแล้วเกิดกลิ่นเหม็นหืนมากที่สุด แสดงว่ากรดไขมันที่เป็นองค์ปรกอบในน้ำมันพืชนั้น มีสูตรโครงสร้างดังข้อใด
    1. CH3-(C12H24)-CO2H
    2. CH3-(C14H26)-CO2H
    3. CH3-(C16H26)-CO2H
    4. CH3-(C18H24)-CO2H

    ตอบ ข้อ 4
    CH3-(C12H24)-CO2H เป็นกรดไขมันอิ่มตัว
    CH3-(C14H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 1 พันธะคู่
    CH3-(C16H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 2 พันธะคู่
    CH3-(C18H24)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 3 พันธะคู่ (ยิ่งพันธะคู่มากยิ่งเหม็นหืนมาก)
    นางสาววรัญญา ณะภูมิ ม.6/1 เลขที่ 22

  19. ข้อสอบ O-net 53
    ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง

    เฉลย ตอบข้อ 3.ค และ ง
    เหตุผลเพราะ
    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

    นางสาว ณัฎฐนิช อุยรัตนโสภณ ม.6/1 เลขที่ 19

  20. ข้อสอบ O-net 53 (สารชีวโมเลกุล)
    ปริมาณของไขมันอิ่มตัว ไขมันไม่อิ่มตัวและสารอื่นๆในน้ำมันเป็นดังตาราง

    ชนิดของน้ำมัน/ไขมัน ไขมันอิ่มตัว(ร้อยละ) ไขมันไม่อิ่มตัว(ร้อยละ) อื่นๆ(ร้อยละ)
    น้ำมันถั่วเหลือง 15 52 33
    น้ำมันมะพร้าว 86 0 14
    น้ำมันไก่ 23 24 53
    น้้ำมันวัว 48 2 50

    ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
    1.ไขมันวัวจะเหม็นหืนเร็วกว่าน้ำมันไก่
    2. น้ำมันถั่วเหลือเหม็นอืนช้ากว่าน้ำมันมะพร้าว
    3. น้ำมันถั่วเหลืองเหมาะสำหรับทอดอาหารมากกว่าน้ำมันมะพร้าว
    4. ถ้าใช้น้ำมันที่มีจำนวนเท่ากัน น้ำมันถั่วเหลืองจะทำฏิกิริยากับไอโอดีนโดยใช้ปริมาณมากที่สุด

    ตอบข้อ 4 เพราะ น้ำมันพืชแม้จะเป็นไขมันที่เหมาะกับการประกอบอาอารแต่ต้องมีการเติมวิตามินอีหรือสารบางชนิดลงไปก่อน

    น.ส.วณิชชา ภัทรสุทธิกุล เลขที่ 36

  21. ข้อความใดไม่ถูกต้อง (O-Net 53)
    1. กรดไรโบนิวคลีอิกทำหน้าที่ในการสร้างโปรตีน
    2. คาร์โบไฮเดรตช่วยให้การเผาไหม้ไขมันเป็นไปอย่างสมบูรณ์
    3. ปฏิกิริยาการเตรียมสบู่จากน้ำมันเรียกว่า “สะปอนนิฟิเคชั่น (saponification)”
    4. โปรตีนเป็นแหล่งพลังงานขั้นเเรกของร่างกายโดยโปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่
    เฉลย ข้อ 4 เพราะโปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลลอรี่

    นาย อัครชัย โยจุมปู ชั้น ม.6/1 เลขที่ 7

  22. o-net ปี 50 (สารชีวโมเลกุล)
    จงพิจารณาชนิดและหน้าที่ของสารต่อไปนี้

    ก ฮีโมโกลบิน โปรตีน ลำเลียงออกซิเจน
    ข คอเลสเทอรอล ไขมัน สร้างฮอร์โมนเพศและน้ำดี
    ค อิมมูโนโกลบูลิน โปรตีน ภูมิคุ้มกัน
    ง ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันในเลือด ตัวทำละลายวิตามินต่างๆ

    การระบุชนิดและหน้าที่ของสารใดถูก

    1. ก เท่านั้น 2. ข และ ง เท่านั้น 3. ก และ ค 4. ก ข และ ง

    เฉลยตอบ 3
    เพราะ ข้อ ก ถูกต้องตามข้อมูล
    ข้อ ข ผิดเนื่องจากคอเลสเทอรอลเป็นไขมันในเลือดจะสร้างฮอร์โมนเพศ และน้ำดี
    ข้อ ค ถูกต้อง เพราะอิมมูโนโกลบูลิน เป็นสารโปรตีนประเภทแอนติบอดี
    ข้อ ง ผิด เนื่องจากไตรกลีเซอไรด์เป็นไขมันและน้ำมันที่ช่วยละลายวิตามินได้ ไม่อยู่ในเลือด

    นางสาวอาภาพร คำเงิน ม.6/2 เลขที่ 19

  23. ข้อสอบ o-net 2550
    ข้อ 5) ข้อใดไม่เป็นองค์ประกอบของ ดีเอ็นเอ(O-net 50)
    1. กรดอะมิโน

    2. ไนโตรจีนัสเบส

    3. หมู่ฟอสเฟต

    4. น้ำตาลเพนโทส

    คำตอบข้อ 5 ) ตอบ 1

    เหตุผล

    •สารพันธุกรรม (DNA) เป็นสารพวกกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยเป็น นิวคลีโอไทด์ โดยนิวคลีโอไมด์ 1 โมเลกุลประกอบด้วย
    – น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม น้ำตาลดีออกซีไรโบส
    – หมู่ฟอสเฟต (PO43-)
    – ไนโตรจีนัสเบส (พิวรีน A , G) (ไพริมิดีน T , C)
    ดังนั้นข้อที่ไม่ใช่องค์ประกอบของดีเอ็นเอ คือ กรดอะมิโน

    นางสาว ศรุตา แดนมณีรัตนา ชั้น ม.6/3 เลขที่ 39

  24. O-NET’ 2550
    มีคำแนะนำให้ทานบักบุ้ง และเต้าหู้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ถ้าอาหารกลางวันมื้อหนึ่งรับประทานข้าวกับผักบุ้งผัดน้ำมัน และแกงจืดเต้าหู้หมูสับ อาหารมื้อนี้ได้รับสารชีวโมเลกุลประเภทให้พลังงานกี่ชนิด อะไรบ้าง
    1. 2 ชนิด โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
    2. 3 ชนิด ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
    3. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลีอิก และเซลลูโลส
    4. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลิอิก
    ตอบ ข้อ 2. ผักบุ้งผัดน้ำมันมีสารชีวโมเลกุลคือ ไขมัน
    แกงจืดเต้าหู้หมูสับ มีสารชีวโมเลกุลคือ โปรตีนที่ได้จากเต้าหู้และหมูสับ
    ข้าว มีสารชีวะโมเลกุลคือ คาร์โบไฮเดรต

    นางสาว วรัญญา ณะภูมิ ม.6/1 เลขที่ 22

  25. o-net ปี 50 (สารชีวโมเลกุล)
    23. จงพิจารณาชนิดและหน้าที่ของสารต่อไปนี้

    สาร ชนิดของสาร หน้าที่

    ก ฮีโมโกลบิน โปรตีน ลำเลียงออกซิเจน
    ข คอเลสเทอรอล ไขมัน สร้างฮอร์โมนเพศและน้ำดี
    ค อิมมูโนโกลบูลิน โปรตีน ภูมิคุ้มกัน
    ง ไตรกลีเซอไรด์ ไขมันในเลือด ตัวทำละลายวิตามินต่างๆ

    การระบุชนิดและหน้าที่ของสารใดถูก

    1. ก เท่านั้น 2. ข และ ง เท่านั้น 3. ก และ ค 4. ก ข และ ง

    เฉลยตอบ 3
    เพราะ ข้อ ก ถูกต้องตามข้อมูล
    ข้อ ข ผิดเนื่องจากคอเลสเทอรอลเป็นไขมันในเลือดจะสร้างฮอร์โมนเพศ และน้ำดี
    ข้อ ค ถูกต้อง เพราะอิมมูโนโกลบูลิน เป็นสารโปรตีนประเภทแอนติบอดี
    ข้อ ง ผิด เนื่องจากไตรกลีเซอไรด์เป็นไขมันและน้ำมันที่ช่วยละลายวิตามินได้ ไม่อยู่ในเลือด

    นางสาวกาญจนา อินแสง ม.6/4 เลขที่ 26

  26. น้ำยาล้างจานสามารถขจัดคราไขมันออกจากจานได้ เพราะเหตุผลใด (O-NET’56)
    ก.น้ำยาล้างจานสามารถหันปลายที่มีขั้วไปจับไขมัน
    ข.น้ำยาล้างจานหันปลายที่ไม่มีขั้วไปจับไขมัน
    ค.น้ำล้างจานหันปลายที่ไม่มีขั้วไปจับไขมัน
    ง.น้ำยาล้างจานมีขนาดโมเลกุลเล็ก จึงถูกล้อมรอบโดยไขมัน
    จ.น้ำยาล้างจานมีขนาดโมเลกุลเล็ก จึงถูกล้อมรอบโดยไขน้ำ
    คำตอบ ค.เพราะ น้ำมันไม่มีขั้วเลยหันไปจับกับน้ำยาล้างจานที่ไม่มีหันเหมือนกัน และปนออกมากับน้ำในรูปอิมันชั่น

    นายพิชย ณ ป้อมเพรช ชั้น ม.6/1 เลขที่ 4

  27. การทดสอบโปรตีนด้วยสารละลายคอปเปอร์(II) ซัตเฟตในเบสจะเกิดการเปลี่ยนแปลงโปรตีนอย่างไร (ENT-O’54)
    ก. เกิดการแปลงสภาพโปรตีม
    ข.เกิดการย่อยเป็นกรดอะมิโน
    ค.เกิดการย่อยเป็นโปรตีนสายสั้น
    ง.ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของโปรตีนเลย

    คำตอบ ก. เพราะ สารละลาย CuSO4/NaOH สภาพเป็นเบส ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้โปรตีนเปลี่ยนสภาพได้

    นางสาวชไมพร อิ่นแก้ว ชั้น ม.6/1 เลขที่ 31

  28. ข้อสอบ O-net 2551
    มีคำแนะนำให้รับประทานผักบุ้ง และเต้าหู้ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 คั้ง ถ้าอาหารกลางวันมื้อหนึ่งรับประทานข้าวกับผักบุ้งผัดน้ำมัน และแกงจืดเต้าหู้หมูสับ อาหารมื้อนี้จะได้รับสารชีวโมเลกุลประเภทให้พลังงานกี่ชนิด อะไรบ้าง
    1. 2 ชนิด โประตีน และคาร์โบไฮเดรต
    2. 3 ชนิด ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
    3. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลิอิก และเซลลูโลส
    4. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลิอิก

    เฉลย ข้อ 2.
    เพราะ อาหารที่รับประทานคือ ผักบุ้งผัดน้ำมันและแกงจืดเต้าหู้หมูสับ จะมีสารชีวโมเลกุล 3 ชนิดคือ ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต เท่านั้นที่ให้พลังงาน

    นางสาว ขนิฐา บุญใหญ่ ม.6/1 เลขที่ 40

  29. ข้อสอบ O-net 2548
    น้ำมันพืชที่ใช้ทอดอาหารแล้วเกิดกลิ่นเหม็นหืนมากที่สุด แสดงว่ากรดไขมันที่เป็นองค์ปรกอบในน้ำมันพืชนั้น มีสูตรโครงสร้างดังข้อใด
    1. CH3-(C12H24)-CO2H
    2. CH3-(C14H26)-CO2H
    3. CH3-(C16H26)-CO2H
    4. CH3-(C18H24)-CO2H

    เฉลย 4 เพราะ
    1. CH3-(C12H24)-CO2H เป็นกรดไขมันอิ่มตัว
    2. CH3-(C14H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 1 พันธะคู่
    3. CH3-(C16H26)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 2 พันธะคู่
    4. CH3-(C18H24)-CO2H เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว มี 3 พันธะคู่ (ยิ่งพันธะคู่มากยิ่งเหม็นหืนมาก)

    นาย สุธินันท์ คำแสน ม.6/2 เลขที่ 13

  30. …………………………………..แก้ไขใหม่ …………………………………….
    (Onet49 )จากตารางคุณค่าทางชีววิทยาของโปรตีนจากแหล่งอาหารบางชนิด

    โปรตีนจากแหล่งอาหาร คุณค่าทางชีววิทยา
    ไข่ 100
    ปลา 75
    ถั่วลิสง 56
    ข้าวสาลี 44

    ข้อใดถูก
    1.เนื้อปลา 100g จะมีโปรตีน 75g
    2.เด็กในวัยเจริญเติบโตควรรับประทานไข่ทุกวัน เพราะมีแหล่งโปรตีนที่ร่างกายสามารถนำไปสร้างเนื้อเยื่อได้ 100%
    3.อาหารมังสวิรัติประกอบด้วยถั่วลิสงและข้าวสาลีให้โปรตีนไม่ครบองค์ประกอบเพราะมีคุณค่าทางชีววิทยาต่ำ
    4.โปรตีนจากแหล่งอาหารปริมาณเท่ากันจะให้พลังงานจากมากไปน้อยตามลำดับ คือ ไข่ ปลา ถั่วลิสง ข้าวสาลี

    ตอบ 2 โปรตีนจากแหล่งอาหารที่ร่างกายสามารถนำไปสร้างเนื้อเยื่อได้ 100 % กล่าวได้ว่าโปรตีนนั้นมีคุณค่าทางชีววิทยาเป็น 100

    นายศิริราช ศรีบุรี เลขที่4 ม.6/3

  31. แก้ไข
    (Onet49 )จากตารางคุณค่าทางชีววิทยาของโปรตีนจากแหล่งอาหารบางชนิด
    โปรตีนจากแหล่งอาหาร คุณค่าทางชีววิทยา
    ไข่ 100
    ปลา 75
    ถั่วลิสง 56
    ข้าวสาลี 44

    ข้อใดถูก
    1.เนื้อปลา 100g จะมีโปรตีน 75g
    2.เด็กในวัยเจริญเติบโตควรรับประทานไข่ทุกวัน เพราะมีแหล่งโปรตีนที่ร่างกายสามารถนำไปสร้างเนื้อเยื่อได้ 100%
    3.อาหารมังสวิรัติประกอบด้วยถั่วลิสงและข้าวสาลีให้โปรตีนไม่ครบองค์ประกอบเพราะมีคุณค่าทางชีววิทยาต่ำ
    4.โปรตีนจากแหล่งอาหารปริมาณเท่ากันจะให้พลังงานจากมากไปน้อยตามลำดับ คือ ไข่ ปลา ถั่วลิสง ข้าวสาลี

    ตอบ 2 โปรตีนจากแหล่งอาหารที่ร่างกายสามารถนำไปสร้างเนื้อเยื่อได้ 100 % กล่าวได้ว่าโปรตีนนั้นมีคุณค่าทางชีววิทยาเป็น 100

    นายศิริราช ศรีบุรี เลขที่ 4 ชั้น ม.6/3

  32. ************************************************************************************************************
    ************************************************************************************************************
    ****************************************** แก้โจทย์ o-net ค้ะ *************************************
    ************************************************************************************************************
    ************************************************************************************************************

    เกณฑ์ใดใช้ในการแยกพลาสติกออกเป็นเทอร์มอพลาสติกและพลาสติกเทอร์มอเซต (o-net’ 52)
    1. ความหนาแน่น
    2. ความคงทนต่อกรด – เบส
    3. การละลายในตัวทำละลายอินทรีย์
    4. การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อน

    ตอบ 4. เพราะ เทอร์มอพลาสติกเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนแล้วจะหลอมเหลวและจะกลับมาแข็งตัวใหม่อีกครั้งเมื่อเย็นลง ส่วนพลาสติกเทอร์มอเซตเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนที่สูงมากเกินไปจะแตกและหัก ไม่สามารถคืนรูปได้ ดังนั้น จึงใช้การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อนเป็นเกทฑ์ในการแยกพลาสติกทั้ง 2 ประเภทนี้

    นางสาว ปริยฉัตร สุวรรณมาศ ม.6/2 เลขที่ 24 (พอลิเมอร์)

  33. **********แก้ไขข้อสอบครับ**************************************************
    ***********ลืมชื่อเฟสคนในห้องไม่ได้ดูว่าข้อมันซ้ำคนในห้อง********************
    *********************************************************************************

    การระบุชนิดของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และโมเลกุลคู่ต่อไปนี้น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว น้ำตาลโมเลกุลคู่(O-net 49)
    ก. ไรโบส แลกโทส
    ข. กลูโคส กาแลกโทส
    ค. ฟรักโทส มอลโทส
    ง. มอลโทส ซูโครส
    ข้อใดถูก
    1. ก เท่านั้น
    2. ข เท่านั้น
    3. ข และ ง
    4. ก และ ค
    เฉลย 4
    ข้อ ก ถูกต้อง
    ข้อ ข ผิด เนื่องจากกาแลคโทสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
    ข้อ ค ถูกต้อง
    ข้อ ง ผิด เนื่องจากมอลโทสเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่

    นาย วุฒิไกร รัตนโชติกาญจน์ ม6/2 เลขที่7

  34. ข้อความใดต่อไปนี้ถูก(O-net 2553)
    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง

    เฉลย 3. เพราะ (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

    นาย วุฒิไกร รัตนโชติกาญจน์ ม.6/2 เลขที่ 7

  35. ข้อสอบ o-net 51
    42.) กำหนดให้มีหลอดทดลอง 3 หลอดที่มีสารผสมต่างกันดังนี้
    หลอดที่1 น้ำตาลทราย 1 กรัมในน้ำ 9 กรัม
    หลอดที่ 2 น้ำตาลทราย 1 กรัมในน้ำ 9 กรัม และเติม HCI ลงไปเล็กน้อย
    หลอดที่ 3 กลูโคส 1 กรัมในน้ำ 9 กรัม
    เมื่อนำหลอดทั้งสามไปทำปฏิกิริยาต่อไป ผลที่ได้เป็นข้อใด
    1. เมื่อนำหลอดที่ 1 มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ลงไป แล้วนำไปต้มจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
    2. เมื่อนำหลอดที่ 2 ไปต้ม จะได้แต่น้ำตาลฟรักโตสที่เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเกิดขึ้น
    3. เมือนำหลอดที่ 3 มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ลงไป แล้วนำไปต้มจะได้ตะกอนสีส้มแดงมากที่สุด
    4. เมื่อนำหลอดทดลองที่ 2 มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ลงไปแล้วนำไปต้ม จะได้ตะกอนสีส้มแดงที่มีน้ำหนักเท่ากับที่เกิดจากหลอดที่ 3 พอดี
    เฉลยข้อ 3
    แนวคิด ข้อ 1. ผิด เนื่องจากน้ำตาลเมื่อนำมาต้มและเติมสารละลายเบเนดิกต์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ถ้าไม่มีการเติม HCI จะไม่เกิดการไฮโตรไลส์
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากน้ำตาลทรายเมื่อเกิดการไฮโดรไลส์จะได้โมเลกุลเล็กคือกลูโคสและฟรักโตส
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากการใช้กลูโคส 1 กรัม จะเกิดตะกอนสีส้มแดงได้มากที่สุด
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากหลอดที่สองเป็นน้ำตาลทรายซึ่งเมื่อสลายตัวได้กลูโคสและพรุกโตสจะมีปริมาณมากกว่า 1 กรัม จึงน่าจะเกิดตะกอนมากกว่าการใช้กลูโคส
    C12H22O11 ——> C6H12O6 + C6H12O6
    ซูโครส กลูโคส ฟรุกโคส

    นางสาววันเพ็ญ นามต๊ะ ม. 6/1 เลขที่ 34

  36. ข้อสอบ O-net 2548
    *** ข้อใดไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนได้ด้วยตนเอง ***

    1. แบคทีเรีย
    2. ยีสต์
    3. รา
    4. ไวรัส

    เฉลย ข้อ 4 )

    เหตุผล

    • การสังเคราะห์โปรตีนจำเป็นต้องอาศัย
    • DNA และ RNA ดังนั้นเซลล์ที่จะสังเคราะห์โปรตีนได้ต้องเป็นเซลล์ที่มีทั้ง DNA และ RNA ในเซลล์
    – แบคทีเรียมีทั้ง DNA และ RNA เพียงแต่ไม่พบเยื่อหุ้มนิวเคลียสเพราะเป็นเซลล์แบบโพรคาริโอต
    – ยีสต์เป็นฟังไจ เซลล์เป็นยูคาริโอต มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสทั้ง DNA และ RNA
    – ราเป็นฟังไจ เซลล์เป็นยูคาริโอต มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสทั้ง DNA และ RNA
    – ไวรัสมีเฉพาะสารพันธุกรรมและมีอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจเป็น DNA หรือ RNA ก็ได้

    นายพลเชษฐ์ ภีระวงค์ ม.6/1 เลขที่ 13

  37. O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล

    หมูอ้วนและมีไขมันมากเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ทั้งนี้เพราะร่างกายหมูสามารถ
    1 เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตในอาหารเป็นไขมัน
    2 ดูดซึมที่ลำไส้เล็กเฉพาะไขมัน
    3 เปลี่ยนโปรตีนในอาหารมาเป็นไขมัน
    4 นำคาร์โบไฮเดรตไปเผาผลาญให้เป็นพลังงานแต่สะสมไขมันไว้

    ตอบ ข้อ 1 เมื่อสลายกลูโคสจนได้ acetyI CoA และ acetyI CoA สามารถจะเข้าสู่วงจรการหายใจหรือนําไปสร้างเป็นกรดไขมันและสร้างเป็นไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น adipose tissue ตามหน้าท้องขาอ่อนเป็นต้น

    นางสาวกาญจนา ต๊ะพรมมา ชั้นม.6/4 เลขที่ 32

  38. ข้อสอบ O-net 52

    สารแต่ละคู่ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลเป็นพันธะชนิดเดียวกัน
    1. เพชรแท้ ซิลิกอนบริสุทธิ์ 2. คลอรีน โบรมีน
    3. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนไตรเจน 4. ถ่านไม้ ถ่านแกรไฟท์

    เฉลย ข้อ 2

    แนวคิด ข้อ 1. ผิด เพราะเพชรแท้เป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย ขณะที่ซิลิกอนเป็นธาตุกึ่ง
    โลหะ
    ข้อ 2. ถูก เพราะทั้งคลอรีนและโบรมีนจะเกิดโมเลกุลโคเลเลนต์ที่ยึดกันด้วยพันธะเดี่ยว
    ข้อ 3. ผิด เพราะออกซิเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์พันธะคู่ ส่วนไนโตรเจนเป็นโมเลกุลโคเวเล
    พันธะสาม
    ข้อ 4. ผิด เพราะถ่านไม้เป็นพวกไม่มีรูปร่าง (อสัณฐาน) ส่วนแกรไฟต์จะเป็นพวกโคเวเลนต์
    โครงผลึกร่างตาข่าย

    นาย ชุนขวา แซ่หลอ ม.6/11 เลขที่ 6

  39. ข้อสอบสารชีวโมเลกุล (O-net 53)

    ข้อความใดต่อไปนี้ถูก

    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง
    ———————————————————————————————–
    เฉลย 3. เพราะ

    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

    นางสาว ฉวีวรรณ แซ่จัง ม.6/2 เลขที่ 34

  40. *****แก้ไขค่ะ (ลืมใส่ชื่อ)
    ข้อสอบ O-net 2550 (สารชีวะโมเลกุล)
    ข้อ 5) ข้อใดไม่เป็นองค์ประกอบของ ดีเอ็นเอ
    1. กรดอะมิโน
    2. ไนโตรจีนัสเบส
    3. หมู่ฟอสเฟต
    4. น้ำตาลเพนโทส

    คำตอบข้อ 5 ) ตอบ 1

    เหตุผล
    •สารพันธุกรรม (DNA) เป็นสารพวกกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยเป็น นิวคลีโอไทด์ โดยนิวคลีโอไมด์ 1 โมเลกุลประกอบด้วย
    – น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม น้ำตาลดีออกซีไรโบส
    – หมู่ฟอสเฟต (PO43-)
    – ไนโตรจีนัสเบส (พิวรีน A , G) (ไพริมิดีน T , C)
    ดังนั้นข้อที่ไม่ใช่องค์ประกอบของดีเอ็นเอ คือ กรดอะมิโน

    นางสาวปรียา เสาร์แก้ว ชั้นม.6/3 เลขที่ 19

  41. ข้อสอบ O-net 2550 (สารชีวะโมเลกุล)
    ข้อ 5) ข้อใดไม่เป็นองค์ประกอบของ ดีเอ็นเอ
    1. กรดอะมิโน
    2. ไนโตรจีนัสเบส
    3. หมู่ฟอสเฟต
    4. น้ำตาลเพนโทส

    คำตอบข้อ 5 ) ตอบ 1

    เหตุผล
    •สารพันธุกรรม (DNA) เป็นสารพวกกรดนิวคลีอิก เป็นพอลิเมอร์ที่มีหน่วยย่อยเป็น นิวคลีโอไทด์ โดยนิวคลีโอไมด์ 1 โมเลกุลประกอบด้วย
    – น้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม น้ำตาลดีออกซีไรโบส
    – หมู่ฟอสเฟต (PO43-)
    – ไนโตรจีนัสเบส (พิวรีน A , G) (ไพริมิดีน T , C)
    ดังนั้นข้อที่ไม่ใช่องค์ประกอบของดีเอ็นเอ คือ กรดอะมิโน

  42. (ปิโตรเลียม)ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม (o-net 53)

    1.จุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
    2.เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
    3.มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    4.ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอน ที่มีคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม
    ข้อ 26 ตอบข้อ 3
    เหตุผล
    ข้อ 1 น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250-340 องซาเซลเซียส

    ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว

    ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12

    นางสาว เมแข แซ่เจ้า เลขที่ 35 ม.6/3

  43. (ปิโตรเลียม)ในการกลั่นน้ำมันดิบ ผู้ประกอบการ จะใช้การกลั่นแบบลำดับส่วนแทนที่จะใช้การกลั่นแบบธรรมดา ข้อใดคือเหตุผลหลัก (o-net 51)

    1.ในน้ำมันดิบมีสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันจึงแยกด้วยการกลั่นแบบธรรมดาไม่ได้
    2.การกลั่นแบบธรรมดาต้องใช้เชื้อเพลิงมากกกว่าการกลั่นลำดับส่วน
    3.การกลั่นธรรมดาจะได้สารปรอทและโลหะหนักออกมาด้วย
    4.การกลั่นลำดับส่วนจะไม่มีเขม่าที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์

    ตอบ ข้อ1. เพราะ ถ้ากลั่นแบบธรรมดาเพียงครั้งเดียวจะได้สารที่ไม่บริสุทธิ์ เช่น การกลั่นน้ำผสมเอทานอล ต้องกลั่นซ้ำหลาย ๆ ครั้ง จึงจะได้เอธานอลที่มีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้นทุกครั้ง แต่ในทางปฏิบัติแทนที่จะนำของเหลวไปกลั่นซ้ำ ๆ กันหลาย ๆ ครั้ง ซึ่งจะทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและใช้เวลามาก จึงได้นำไปกลั่นในคอลัมน์ลำดับส่วนหรือในหอกลั่น ซึ่งทำหน้าที่เหมือนกับเป็นการกลั่นซ้ำหลาย ๆ ครั้ง การกลั่นในหอกลั่นนี้เรียกว่า การกลั่นลำดับส่วน

    นางสาวชลธิชา น้อยหมอ เลขที่ 32 ม.6/3

  44. O-Net 53
    ข้อ 22 การทดสอบ สาร.ก สาร.ข สาร.ค และ สาร.ง ได้ผลดังนี้
    Y หมายถึง ละลายในน้ำ หรือ ให้สีน้ำเงินกับไอโอดีน หรือ
    เกิดตะกอนสีแดงอิฐกับสารละลายเบนิดิกต์
    X หมายถึง ไม่เปลี่ยนแปลง
    การทดสอบ สาร
    ก ข ค ง
    การละลายน้ำ X Y X Y
    สารละลายไอโอดีน Y X X X
    สารละลายเบนิดิกต์ X X X Y
    HCI ตามด้วยสารละลายเบนิดิกต์ Y Y Y Y

    สาร.ก สาร.ข สาร.ค และ สาร.ง ควรเป็นสารใดตามลำดับ
    1. แป้งข้าวโพด น้ำเชื่อม ใยไหม กลูโคส
    2. แป้งผัดหน้า ฟรักโทส ใยสำลี น้ำตาลทราย
    3. แป้งข้าวเจ้า น้ำตาลทราย ใยบวบ ฟรักโทส
    4. แป้งสาลี แอสพาร์แทม ใยแมงมุม กลูโคส

    เฉลย ตอบข้อ 3

    เหตุผล ก คือแป้ง ข คือ น้ำตาลทราย ค คือ เส้นใยพืช(ไหมเป็นเส้นใยสัตว์ ซึ่งถือเป็นเส้นใยโปรตีน) ง คือน้ำตาลอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่น้ำตาลทราย

    นายสมชาย ขาวกระจ่าง ม.6/1 เลขที่ 10

  45. ข้อสอบ o-net
    ปริมาณของไขมันอิ่มตัว ไขมันไม่อิ่มตัว และสารอื่น ๆ ในน้ำมันเป็นดังตาราง

    ชนิดน้ำมัน/ไขมัน ไขมันอิ่มตัว (%) ไขมันไม่อิ่มตัว (%) อื่นๆ (%)
    น้ำมันถั่วเหลือง 15 52 33
    น้ำมันมะพร้าว 86 0 14
    น้ำมันไก่ 23 24 53
    ไขมันวัว 48 2 50

    ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
    1. ไขมันวัวจะเหม็นหืนเร็วกว่าน้ำมันไก่
    2. น้ำมันถั่วเหลืองเหม็นหืนช้ากว่าน้ำมันมะพร้าว
    3. น้ำมันถั่วเหลืองเหมาะสำหรับทอดอาหารมากกว่าน้ำมันมะพร้าว
    4. ถ้าใช้น้ำมันที่มีจำนวนเท่ากัน น้ำมันถั่วเหลืองจะทำปฏิกิริยากับไอโอดีนโดยใช้ปริมาณมากที่สุด

    เฉลย 4 เพราะไขมันไม่อิ่มตัวทำปฏิกิริยากับไอโอดีนได้ดีกว่าไขมันอิ่มตัวและน้ำมันถั่วเหลืองเป็นไขมันอิ่มตัว

    นางสาวจิราพร ไทยลื้อ เลขที่19 ชั้น ม.6/5

  46. เรื่องสารชีวโมเลกุล O-net 57

    ไขมัน หรือน้ำมัน ในข้อใด มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากที่สุด
    1 ไขวัว มีไอโอดีนนัมเบอร์เท่ากับ 38
    2 น้ำมันมะกอก มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 82
    3 น้ำมันถั่วลิสง มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 87
    4 น้ำมันข้าวโพด มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 120
    5 น้ำมันดอกคำฝอย มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 131

    เฉลย ตอบ ข้อ 5 ไขมันหรือน้ำมัน ที่มีค่าไอโอดีนนัมเบอร์สูงแสดงว่า ไขมัน หรือน้ำมันนั้น
    มีความไม่อิ่มตัวสูง นั่นคือ คือ มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก

    นางสาว ฐาปนี ปินทรายมูล ม. 6/3 เลขที่ 26

  47. ข้อสอบ O-net 2550

    51. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสารชีวโมเลกุล
    1. พลังงานที่สะสมอยู่ในอาหารจะอยู่ในรูปพลังงานเคมี
    2. โปรตีนเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุด
    3. ในร่างกายมนุษย์จะพบคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบมากที่สุด
    4. ร่างกายสามารถนำสารอาหารทุกชนิดไปใช้ประโยชน์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการย่อย

    เฉลย (4) พลังงานที่สะสมอยู่ในอาหาร คือ พลังงานเคมี สารอาหารที่รับประทานเข้าไปต้องผ่านการย่อยให้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดก่อนร่างกายจึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุด และในร่างกายจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบมากที่สุด

    นาย เจมส์ ใจเสียง ม.6/3 เลขที่ 7

  48. (O-Net 53)
    ข้อความใดไม่ถูกต้อง
    1. กรดไรโบนิวคลีอิกทำหน้าที่ในการสร้างโปรตีน
    2. คาร์โบไฮเดรตช่วยให้การเผาไหม้ไขมันเป็นไปอย่างสมบูรณ์
    3. ปฏิกิริยาการเตรียมสบู่จากน้ำมันเรียกว่า “สะปอนนิฟิเคชั่น (saponification)”
    4. โปรตีนเป็นแหล่งพลังงานขั้นเเรกของร่างกายโดยโปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลแคลอรี่

    ตอบ ข้อ 4 เพราะโปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลลอรี่

    นางสาวศิริพร เพ็ญกาศ ม.6/3 เลขที่ 33

  49. ข้อที่ 28. แป้ง —-A—> มอลโทส —B—> C
    A B และ C น่าจะเป็นสารใด( O-net 2549 )
    A B C
    1. อะไมเลส มอลเทส กลูโคส
    2. มอลเทส อะไมเลส ฟรักโทส
    3. อะไมเลส มอลเทส ฟรักโทส
    4. มอลเทส อะไมเลส กลูโคส
    เฉลย 1. เพราะ
    แป้ง —A—> มอลโทส —B—> C
    สาร A เป็นเอนไซม์ อะไมเลส ทําการย่อยแป้งให้เปลี่ยนเป็นน้ำตาลมอลโทส
    สาร B เป็นเอนไซม์ มอลโทส ทําการย่อย มอลโทส ให้เปลี่ยนเป็น กลูโคส หรือสาร C
    นางสาวสายฝน กันทะวงศ์ ม.6/1 เลขที่ 28

  50. ข้อสอบ O-net 2548

    สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด
    1 คาร์โบไฮเดรต
    2 โปรตีน
    3 ลิพิด
    4 กรดนิวคลีอิก

    เฉลย ตอบข้อ 4) กรดนิวคลิอิก
    เพราะ ทําหน้าที่เก็บและถ่ายข้อมูลทางพันธุกรรมมีหน่วยย่อยเรียกว่าานิวคลีโอไทด์ซึ่งกรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ
    – RNA ( Ribonucleic acid )
    – DNA ( Deoxyribonucleic acid )

    น.ส.วรรณิษา ชัยรินทร์ เลขที่ 25 ห้อง 6/2

  51. ข้อสอบ O-net 2550
    ไข่ขาว เนื้อ ไก่ และหอยนางรม ในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดที่โปรตีนไม่ถูกทำลายหรือแปลงสภาพ
    ก.ไข่ขาวดิบ ที่คนไข้กลืนไปเพื่อขจัดสารพิษ
    ข.เนื้อ ที่แช่ไว้ในตู้เย็นเพื่อแกงใส่บาตร
    ค.ไก่ ที่ทอดจนเหลืองกรอบจะปลอดภัยจากไข้หวัดนก
    ง.หอยนางรม บีบมะนาวเป็นอาหารโปรดของมนัส

    เฉลย ข. เพราะโปรตีนสามารถถูกทำให้เสียสภาพ โดยการใช้อุณหภูมิ
    (ตัวเลือก3.ผิด)หรือการทำปฎิกริยากับกรด ซึ่งในที่นี้คือ กรด อยู่ในกระเพาะอาหาร(ตัวเลือก1.ผิด) และนํ้ามะนาว (ตัวเลือก4ผิด)

    นางสาวสุพรรษา ศรีแสงสุข ม.6/8 เลขที่ 34

  52. O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล

    หมูอ้วนและมีไขมันมากเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ทั้งนี้เพราะร่างกายหมูสามารถ
    1 เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตในอาหารเป็นไขมัน
    2 ดูดซึมที่ลำไส้เล็กเฉพาะไขมัน
    3 เปลี่ยนโปรตีนในอาหารมาเป็นไขมัน
    4 นำคาร์โบไฮเดรตไปเผาผลาญให้เป็นพลังงานแต่สะสมไขมันไว้

    ตอบ ข้อ 1 เมื่อสลายกลูโคสจนได้ acetyI CoA และ acetyI CoA สามารถจะเข้าสู่วงจรการหายใจหรือนําไปสร้างเป็นกรดไขมันและสร้างเป็นไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น adipose tissue ตามหน้าท้องขาอ่อนเป็นต้น
    นายชนกร จันต๊ะคาด ม.6/3 เลขที่ 10

  53. ข้อความใดต่อไปนี้ถูก (O-net 53)
    ก. สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว
    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง
    เฉลย ข้อ 3. ค และ ง
    เหตุผล
    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก
    น.ส. ณัฐชา จันต๊ะคาด เลขที่ 22 ม.6/3

  54. การระบุชนิดของน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว และโมเลกุลคู่ต่อไปนี้ ( O-net 2549 )
    น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว น้ำตาลโมเลกุลคู่
    ก. ไรโบส แลกโทส
    ข. กลูโคส กาแลกโทส
    ค. ฟรักโทส มอลโทส
    ง. มอลโทส ซูโครส
    ข้อใดถูก
    1. ก เท่านั้น
    2. ข เท่านั้น
    3. ข และ ง
    4. ก และ ค
    เฉลย 4
    ข้อ ก ถูกต้อง
    ข้อ ข ผิด เนื่องจากกาแลคโทสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
    ข้อ ค ถูกต้อง
    ข้อ ง ผิด เนื่องจากมอลโทสเป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่
    นางสาวเเคทลียา นาใจ ม.6/1 เลขที่ 16

  55. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
    ก. กรดไขมันมีหมู่คาร์บอกซิลเป็นหมู่ฟังก์ชัน
    ข. ไขมันกับไตรกลีเซอไรด์เป็นสารคนละชนิดกัน
    ค. หมู่ฟังก์ชันในกลีเซอรอลที่มาทำปฏิกิริยากับกรดไขมัน คือ หมู่ไฮดรอกซิล

    1. ก. และ ข. 2. ก. และ ค.
    3. ข. และ ค. 4. ถูกทุกข้อ

    เฉลย 2 เพราะกรดไขมันมีหมู่คาร์บอกซิลเป็นหมู่ฟังก์ชัน ส่วนกลีเซอรอลมีหมู่ไฮดรอกซิลเป็น
    หมู่ฟังก์ชัน โดยการเกิดไขมันหรือที่เรียกว่าไตรกลีเซอไรด์ จะเกิดจากกรดไขมันนำหมู่คาร์บอกซิลมาทำปฏิกิริยากับหมู่ไฮดรอกซิลของกลีเซอรอล

  56. o-net 50

    การทดสอบโปรตีนด้วยสารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในเบส จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
    1. เกิดการแปลงสภาพโปรตีน
    2. เกิดการย่อยเป็นกรดอะมิโน
    3. เกิดการย่อยเป็นโปรตีนสายสั้น
    4. ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของโปรตีน

    เฉลย 1 เพราะ สารละลายคอปเปอร์ (II) ซัลเฟตในเบสจะทำปฏิกิริยากับโปรตีน โดยคอปเปอร์ (II) ไอออน จะไปจับกับไนโตรเจนของพันธะเพปไทด์ เกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนที่เป็นของแข็งสีน้ำเงินม่วง โปรตีนจึงมีการแปลงสภาพไป

    นางสาว เพ็ชร ชุ่มเย็น ม.6/8 เลขที่ 31

  57. ข้อสอบ O – NET ปีการศึกษา 2551 เรื่องสารชีวโมเลกุล
    ข้อ 26. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. การฉีดอินซูลินเข้าสู่ร่างกายเพื่อเพิ่มปริมาณกลูโคสในเส้นเลือด
    ข. อินซูลินมีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจน
    ค. คนที่เป็นเบาหวานแสดงว่าร่างกายมีอินซูลินมากเกินไป
    ง. คนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล
    ข้อใดถูก
    1. ก และ ข
    2. ข และ ง
    3. ค และ ง
    4. ข และ ค
    เฉลย ตอบข้อ 1
    เหตุผลเพราะ
    ข้อ ค. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานแสดงว่า ร่างกายขาดอินซูลินซึ่งอินซูลินจะเป็นตัวเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโคเจน ทำให้กลูโคสมีปริมาณมากเกินไป ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน
    ข้อ ง. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้ง
    นางสาวสุภารัตน์ จันทร์เจริญผล ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 34

  58. นางสาวสุภารัตน์ จันทร์เจริญผล ชั้น ม. 6/5 เลขที่ 34
    ข้อสอบ O – NET ปีการศึกษา 2551 เรื่องสารชีวโมเลกุล
    ข้อ 26. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก. การฉีดอินซูลินเข้าสู่ร่างกายเพื่อเพิ่มปริมาณกลูโคสในเส้นเลือด
    ข. อินซูลินมีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพการเปลี่ยนกลูโคสเป็นไกลโคเจน
    ค. คนที่เป็นเบาหวานแสดงว่าร่างกายมีอินซูลินมากเกินไป
    ง. คนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้งและน้ำตาล
    ข้อใดถูก
    1. ก และ ข
    2. ข และ ง
    3. ค และ ง
    4. ข และ ค
    เฉลย ตอบข้อ 1
    เหตุผล เพราะ
    ข้อ ค. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานแสดงว่า ร่างกายขาดอินซูลินซึ่งอินซูลินจะเป็นตัวเปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกลโคเจน ทำให้กลูโคสมีปริมาณมากเกินไป ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน
    ข้อ ง. ผิด ควรเปลี่ยนเป็นคนที่เป็นโรคเบาหวานควรลดอาหารประเภทแป้ง

  59. ข้อสอบ:ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง (o-net 52) สารชีวโมเลกุล
    1. ไกลโคเจนไม่ละลายน้ำแต่เซลลูโลสละลายในน้ำได้เล็กน้อย
    2. มอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอมเหมือนกัน

    เฉลย: ข้อ 3.ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    เพราะ ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมลกุล
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วย
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มี่สูตร C6H12O6
    ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5H10O5

    นายฐิติพงษ์ ยอดหาญ ม.6/2 เลขที่ 1

  60. ข้อสอบ O-net 51 (สารชีวโมเลกุล)
    สารในข้อใดเมื่อนำมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์แล้วให้ผลการทดสอบที่ถูกต้องที่สุด
    1.เมื่อนำน้ำแป้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    3.เมื่อนำน้ำผึ้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    4.เมื่อนำน้ำแอปเปิลมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบ 2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    เพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็น
    พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์

    นางสาวขวัญฤดี มูลดวง ม.6/2 เลขที่ 37

  61. ข้อสอบ O-net 51 (สารชีวโมเลกุล)

    สารในข้อใดเมื่อนำมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์แล้วให้ผลการทดสอบที่ถูกต้องที่สุด
    1.เมื่อนำน้ำแป้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    3.เมื่อนำน้ำผึ้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    4.เมื่อนำน้ำแอปเปิลมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบ 2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    เพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็น
    พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์

    น.ส.ขวัญฤดี มูลดวง ม.6/2 เลขที่ 37

  62. O-Net 49
    สารประกอบใดที่ห่อหุ้มสารพันธุกรรมของไวรัสโดยตรง?
    1.ฟอสโฟลิพิด
    2.นิวคลีโอไทป์
    3.คาร์โบไฮเดรต
    4.โปรตีน
    ตอบ 4.โปรตีน เพราะไวรัสเป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก แต่ไม่ใฃ่เซลล์ โดยทั้วไปเล็กกว่า 20 นาโนเมตร ประกอบด้วยสาร DNA และ RNA ซึ่งมีโปรตีนห่อหุ้ม

    นางสาว ยูภาไล วงษืหวายเหนียว ม.6/3 เลขที่ 16

  63. ข้อสอบ O-net ปีการศึกษา 2549
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก.กรดไขมันในร่างกายคน เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก
    ข.น้ำมันสัตว์เหม็นหืนง่ายกว่าน้ำมันพืช เพราะไม่มีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา
    ค.อาหารที่ทอดโดยใช้น้ำมันเก่าจะทำให้เศษอาหารที่ตกค้างในน้ำมันไหม้เกรียมสลายเป็นสารก่อมะเร็ง
    ง.โรคหัวใจ และอัมพาตมีสาเหตุสำคัญจากการรับประทานอาหารที่มีคอเรสเทอรอลสูง และขาดการออกกำลังกาย
    ข้อใดถูก
    1. ก. และ ข. เท่านั้น
    2. ค. และ ง. เท่านนั้น
    3. ก. ข. และ ค.
    4. ข. ค. และ ง.
    เฉลย ตอบ 4. ข. ค. และ ง.
    แนวคิด ข้อ ก. ผิด เนื่องจากกรดไขมันส่วนมากในร่างกายเป็นกรดไขมันอิ่มตัว
    ข้อ ข. ถูกต้อง เนื่องจากน้ำมันพืชโดยปกติจะเป็นกรดไขมันประเภทไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก ทำให้ กลิ่นเหม็นหืน แต่จะมีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดกลิ่น
    ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากจะเกิดสารที่มีอนุมูลอิสระก่อให้เกิดมะเร็ง
    ข้อ ง. ถูกต้อง เนื่องจากอาหารที่มีคอเรสเทอรอลสูง จะไปทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือด ทั้งในส่วนของหัวใจและสมอง

    นายนิวัฒน์ จันทร์คำ ม.6/4 เลขที่ 20

  64. ข้อสอบ o-Net 2551
    ข้อใดผิด
    1.อะไมเลสและอะไมโลเพกทินเมื่อย่อยสลายจนถึงที่สุดแล้วจะได้หน่วยย่อยเหมือนกันคือกลูโคส
    2.เด็กซ์ตรินเป็นพอลิแซ็กคาไรด์โมเลกุลที่ได้จากการย่อยแป้งด้วยกรด
    3.ไดแซ็กคาไรด์ที่ได้จากการย่อยเซลลูโลสและอะไมเลสมีโครงสร้างเหมือนกัน
    4.ไกลโคเจนและอะไมโลเพกทินมีโครงสร้างที่มีการแตกกิ่งก้านสาขา

    เฉลย ตอบ3
    เนื่องจากไดแซ็กคาไรด์เป็นน้ำตาลโมเลกุลคู่ได้แก่ มอลโทสแลกโทส และซูโครส
    ส่วนเซลลูโลสและอะไมเลสเป็นพอลิแซ็กคาไรด์ที่ย่อยสลายได้เป็นกลูโคส(มอนอแซ็กคาไรด์)

    นางสาว สุกัญญา ดวงคำ เลขที่22 ม.6/2

  65. ข้อสอบ o-net 2553
    ปริมาณของไขมันอิ่มตัว ไขมันไม่อิ่มตัว และสารอื่นๆในน้ำมันเป็นดังนี้
    น้ำมันถั่วเหลือง ไขมันอิ่มตัว15% ไขมันไม่อิ่มตัว52 % อื่นๆ33%
    น้ำมันมะพร้าว ไขมันอิ่มตัว86% ไขมันไม่อิ่มตัว0% อื่นๆ14%
    น้ำมันไก่ ไขมันอิ่มตัว23% ไขมันไม่อิ่มตัว24 % อื่นๆ53%
    ไขมันวัว ไขมันอิ่มตัว48% ไขมันไม่อิ่มตัว2 % อื่นๆ50%
    ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
    1. ไขมันวัวจะเหม็นหืนเร็วกว่าน้ำมันไก่
    2. น้ำมันถั่วเหลืองเหม็นหืนช้ากว่าน้ำมันมะพร้าว
    3. น้ำมันถั่วเหลืองเหมาะสำหรับทอดอาหารมากกว่าน้ำมันมะพร้าว
    4. ถ้าใช้น้ำมันที่มีจำนวนเท่ากัน น้ำมันถั่วเหลืองจะทำปฏิกิริยากับไอโอดีนโดยใช้ปริมาณมากที่สุด

    เฉลย 4 เพราะ น้ำมันพืชแม้จะเป็นไขมันที่เหมาะกับการประกอบอาหารแต่ต้องมีการเติมวิตามินอีหรือสารบางชนิดลงไปก่อน

    นางสาว สุนิษา มาเหลา ม.6/3 เลขที่ 29

  66. ข้อสอบ: ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง(o-net 52)
    1. ไกลโคเจนไม่ละลายน้ำแต่เซลลูโลสละลายในน้ำได้เล็กน้อย
    2. มอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอมเหมือนกัน

    เฉลย: ข้อ 3.ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย

    เพราะ ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมลกุล
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วย
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มี่สูตร C6H12O6
    ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5H10O5

    นางสาวคำทิพย์ ตายะ ม.6/8 เลขที่28

  67. ข้อสอบ O-net 2548
    สารพันธุกรรมเป็นสารประเภทใด
    ก. คาร์โบไฮเดรต
    ข. โปรตีน
    ค. ลิพิด
    ง. กรดนิวคลิอิก

    เฉลย ตอบข้อ 4) กรดนิวคลิอิก เพราะ
    ทำหน้าที่เก็บและถ่ายข้อมูลทางพันธุกรรมมีหน่วยย่อยเรียกว่า นิวคลีโอไทด์ ซึ่งกรดนิวคลีอิกมี 2 ชนิด คือ
    – RNA ( Ribonucleic acid )
    – DNA ( Deoxyribonucleic acid )

    นางสาวจุฑารัตน์ อินทร์แจ้ง ม.6/1 เลขที่ 25

  68. ข้อสอบ O-net 2553
    ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง

    เฉลย 3. เพราะ (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

    นางสาวศิรดา รวีกาญจน์ ม.6/8 เลขที่ 19

  69. ข้อสอบ O’net51 (สารชีวโมเลกุล)
    สารในข้อใดเมื่อนำมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์แล้วให้ผลการทดสอบที่ถูกต้องที่สุด
    1.เมื่อนำน้ำแป้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    3.เมื่อนำน้ำผึ้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    4.เมื่อนำน้ำแอปเปิลมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง

    ตอบ 2.เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    เพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็น
    พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์

    นาย ปิยะพงษ์ สิทธิธรรมวัติ ม.6/8 เลขที่ 1

  70. ข้อสอบ O-net 2550
    ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับสารชีวโมเลกุล
    1. พลังงานที่สะสมอยู่ในอาหารจะอยู่ในรูปพลังงานเคมี
    2. โปรตีนเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุด
    3. ในร่างกายมนุษย์จะพบคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบมากที่สุด
    4. ร่างกายสามารถนำสารอาหารทุกชนิดไปใช้ประโยชน์ได้เลยโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการย่อย

    เฉลย 4 เพราะ พลังงานที่สะสมอยู่ในอาหาร คือ พลังงานเคมี สารอาหารที่รับประทานเข้าไปต้องผ่านการย่อยให้เป็นโมเลกุลที่เล็กที่สุดก่อนร่างกายจึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุด และในร่างกายจะมีโปรตีนเป็นองค์ประกอบมากที่สุด

    นางสาว ชนิดา นามมุ้ง ม.6/8 เลขที่ 22

  71. ข้อสอบ O-net 2550
    กรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับทารกคือข้อใด
    ก.อาร์จินีน และฮีสติดีน
    ข.ทริปโตเฟนและเมไทโอนีน
    ค.ไลซีนและลิวซีน
    ง.ไอโซลิวซีนและเวลีน
    เฉลย ก. เพราะ กรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับมนุษย์มีด้วยกัน 8 ชนิด ได้แก่ ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ทรีโอนีน ทริปโตเฟน และวาลีน แต่เด็กต้องการกรดอะมิโนอีกสองชนิด คือ อาร์จีนีนและฮีสทิดีน

    นางสาว สุวิมล วงค์ใหญ่ ม.6/1 เลขที่ 37