ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
ปริญญาตรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย views 363,846

รัฐศาสตร์

  • INFORMATION
  • U-REVIEW
  • COMMENTS (4)
  • PHOTOS
  • CONTACT
  • EDIT

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

รัฐศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รีวิวรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

น้องๆ รู้จัก " สิงห์ดำ " กันไหม? วันนี้พี่จะพาน้องๆ ไปรู้จักกับสิงห์ดำแห่งจุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัยกันค่ะ
คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนึ่งในสถาบันการศึกษาที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2442 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นผู้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เริ่มจัดตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ขึ้น โดยพระราชทานนามว่า “โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน”  ในปัจจุบันหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิตซึ่งได้รับการปรับปรุงล่าสุดในปี พ.ศ.2558 เป็นหลักสูตรที่ได้นำจุดเด่นของคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปด้วย 4 สาขาวิชา คือ การปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และ รัฐประศาสนศาสตร์ มาใช้ในการวางแผนโครงสร้างหลักสูตรร่วมกัน ทำให้มีรายวิชาบังคับที่ครอบคลุมสาขาวิชาต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของคณะ รวมถึงการกำหนดให้เรียนวิชาพื้นฐานด้านกฎหมายและเศรษฐศาสตร์ ส่งผลให้บัณฑิตคณะรัฐศาสตร์มีความรู้พื้นฐานในสาขาวิชาต่างๆ ทางสังคมศาสตร์อย่างหลากหลายและสามารถเชื่อมโยงประเด็นทางการเมืองและสังคมที่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างสาขาวิชาต่างๆ ในทางสังคมศาสตร์

โดยแต่ละสาขาวิชามีเรียนการสอนที่แตกต่างกัน ดังนี้
1. สาขาวิชาการปกครอง เป็นสาขาที่เป็นตัวเลือกหนึ่งถ้าหากน้องๆ อยากเข้าใจ "รัฐศาสตร์" หรือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยรัฐ อย่างชัดเจน ต้องเลือกเรียนภาควิชานี้  สาขานี้ส่วนใหญ่จะเรียนเกี่ยวกับรัฐ สังคม ปรัชญาการเมือง แนวคิดทฤษฎีทางการเมือง การเมืองการปกครองไทย การปกครองท้องถิ่น โดยมีวิชาที่ยังคับเรียนคือวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ  กฎหมายปกครอง, รัฐและสังคม, การเมืองไทยสมัยใหม่, ปรัชญาการเมือง, ความคิดทางเศรษฐกิจการเมือง, ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ, การเมืองเรื่องการพัฒนา, การเมืองการปกครองท้องถิ่นและภูมิภาค, รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง, ขบวนการทางการเมืองและสังคม,   ศึกษาวรรณกรรมพื้นฐานทางรัฐศาสตร์

2. สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นสาขาวิชาที่ได้ชื่อว่าคะแนนสูงที่สุดของสายศิลป์ ศึกษาเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ แรกเริ่มเดิมทีนั้น รัฐแต่ละรัฐ มีความไม่เท่ากัน เหลื่อมล้ำกัน รัฐที่มีความมั่งคั่งไม่ว่าจะทางทรัพยากรหรือสติปัญญา ก็จะกดขี่ขูดรีดเอารัดเอาเปรียบรัฐที่ด้อยกว่า วิชาเรียนในภาคนี้จะเน้นเป็นภูมิภาคศึกษา เน้นศึกษาแต่ละประเทศๆไป เช่น อเมริกา ยุโรป ยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียใต้ เอเชียตะวันออก หรือศึกษาเป็นประเด็นต่างๆ  ซึ่งมีวิชาบังคับได้แก่ วิชาการเมืองระหว่างประเทศในศตวรรษที่ 19 และ 20, เอเชียตะวันออกในการเมืองโลก, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการเมืองโลก, นโยบายต่างประเทศวิเคราะห์, การเมืองระหว่างประเทศ: ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา, ทฤษฎีการเมืองกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, เศรษฐกิจการเมืองโลก, องค์การระหว่างประเทศ, กฎหมายระหว่างประเทศ, การอ่านวรรณกรรมด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

3. สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สังคมวิทยาได้ชื่อว่าเป็น "ราชินีแห่งศาสตร์” เพราะว่าศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับสังคมทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ จนไปถึงศาสตร์ประยุกต์ของสังคมศาสตร์ อย่าง นิติศาสตร์ นิเทศศาสตร์ บริหารธุรกิจ ล้วนแล้วแต่มีสังคมวิทยาแทรกเป็นยาดำทั้งสิ้น  มานุษยวิทยานั้น แปลได้ตรงตัวว่าเป็น "การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับมนุษย์อย่างรอบด้านทุกซอกทุกมุม"  ส่วนที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯนั้นจะเน้นมานุษยวิทยาวัฒนธรรมเป็นสำคัญ มีรายวิชาที่ต้องเรียก็คือ สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาชญาวิทยา, สถิติสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์, ทฤษฎีสังคมวิทยา, ทฤษฎีมานุษยวิทยา, ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์, มนุษยมิติ, ข้อถกเถียงว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย, สัมมนาประเด็นสังคมร่วมสมัย โดยมีรายวิชาให้น้องๆ เลือกเรียนวิชาบังคับเลือกคนละ 1 กลุ่ม และลงทะเบียนเรียนวิชาในกลุ่ม โดยเลือกวิชาให้ครบ 15 หน่วยกิต คือกลุ่มวิชาสังคมวิทยา และกลุ่มวิชามานุษยวิทยา

4. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชานี้ เรียนเกี่ยวกับการบริหาร ใช้ตำราเล่มเดียวกับบริหารธุรกิจทุกอย่าง แต่มีความแตกต่างกันที่จุดประสงค์และเป้าหมายของการบริหารธุรกิจ เพราะเป้าหมายของสาขานี้ คือปากท้อง ความสุขของส่วนรวมประชาชน โดยมีวิชาบังคับเรียน ก็คือ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลังสาธารณะ, ระบบการบริหารงานของไทย, การบริหารและสังคม, การบริหารงานบุคคล, นโยบายสาธารณะ, การวิเคราะห์เชิงปริมาณ, สถิติสำหรับนักบริหาร, เทคนิคและวิธีการปรับปรุงการบริหาร, รัฐประศาสนศาสตร์ปฏิบัติการ, การอ่านวรรณกรรมทางรัฐประศาสนศาสตร์, กฎหมายกับรัฐประศาสนศาสตร์, ขอบเขตและวิธีวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์, ทฤษฎีองค์การสาธารณะ

ทั้ง 4 สาขานี้มีการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน ซึ่งน้องๆ สามารถเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจของน้องๆ ได้เลยค่ะ เพราะถ้าหากจบจากที่นี่แล้วน้องๆ ก็จะได้เป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในการทำงานอย่างแน่นอน
 

จบมาทำงานอะไร

- งานราชการ หรือบางคนจะเรียกว่า “รัฐกิจ” คือการบริหารงานให้กับกิจการของรัฐ งานที่สามารถสมัครได้ เช่น เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน เจ้าหน้าที่ประสานงาน เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล เลขานุการบริหาร นักวิชาการศึกษา นายอำเภอ หรือเจ้าหน้าที่ด้านการปกครองอื่น ๆ หน่วยงานที่เปิดรับ คือ กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานรายชการต่าง ๆ
- งานรัฐวิสาหกิจ เป็นหน่วยงานที่บริหารร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ตำแหน่งงานที่เปิดรับ จึงไม่ต่างจากตำแหน่งงานของงานราชการ และบริษัทเอกชนมากนัก ขึ้นอยู่กับว่าเรากำลังมองหางานแบบไหน หรือต้องการทำงานกับหน่วยงานใด
- งานบริษัทเอกชน สำหรับคนที่ต้องการ และกำลังมองหาตำแหน่งงานในบริษัทเอกชน ขึ้นอยู่กับว่าจะเอาความรู้ที่ได้เรียนมานั้น ไปปรับใช้กับการทำงานในตำแหน่งอะไร ตำแหน่งงานที่เปิดรับสมัครจึงค่อนข้างหลากหลาย เช่น เจ้าหน้าที่ HR นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูง เป็นต้น

สมัครเรียนทำอย่างไร

ระบบรับตรง (มีนาคม)
- เลือกยื่นได้1สาขา 1รูปแบบ
- กำลังศึกษาชั้นม.6
- มีผลการเรียนเฉลี่ย(GPAX) ไม่ต่ำกว่า 2.50
- มีผลคะแนนสอบวิชาGAT/PAT(เลือกยื่นสอบ1วิชาได้แต่ คณิตศาสตร์, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเยอรมัน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาจีน, ภาษาอาหรับ และภาษาบาลี)
- ผ่านการสอบสัมภาษณ์ของทางมหาวิทยาลัย

แอดมิชชัน
สาขาวิชาการปกครอง, สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 50%

สาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- เลือกสอบ PAT7.1(ภาษาฝรั่งเศส), PAT7.2(ภาษาเยอรมัน), PAT7.3(ภาษาญี่ปุ่น), PAT7.4(ภาษาจีน), PAT7.5(ภาษาอาหรับ) และPAT7.6(ภาษาอาหรับ)

สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
- GPAX 20%
- O-NET 30%
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%

  • ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
  • ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
  • ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
  • ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
  • ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

136, 000 บาท

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

17, 000 บาท/เทอม

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

รัฐศาสตร์

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.comหลักเกณฑ์การให้คะแนน

ชื่อคณะ

 

4 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 5.0 แย่ 

เขียนรีวิว/ให้คะแนน

2

0

0

0

0

 

รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

GOOGLE MAP

ข้อมูลติดต่อ

หมายเลขติดต่อ

0-2218-7250, 0-2218-7256

เว็บไซต์

http://www.chula.ac.th/

Facebook

Chulalongkorn University

ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา
ข้อสอบ ป.โท รัฐศาสตร์ จุฬา

363K VIEWS

723 SHARES

ให้คะแนนความน่าสนใจ