โครงสร้างคณิตศาสตร์ ป.3 หลักสูตรใหม่

1 สว่ นที่ ๑ สว่ นนำ ความนา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ และคาส่ังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี ๓๐/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมีคาสั่งใหโ้ รงเรยี นดาเนนิ การใชห้ ลกั สูตรในปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ โดยใหใ้ ชใ้ น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ และ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ และ ๔ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ และ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เปน็ ตน้ ไป ใหใ้ ช้ในทกุ ชน้ั เรียน โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมี พัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มีคุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและ เป้าหมายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน โรงเรียนชุมชนบ้านช่องม้าเหลียว จึงได้ทาการปรับปรงุ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและ พัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี กระบวนการนาหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชว้ี ัด โครงสรา้ งเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑก์ ารวดั ประเมนิ ผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสตู รการ เรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนอง นโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคมคณุ ภาพ มคี วามรอู้ ย่างแทจ้ ริง และมที กั ษะในศตวรรษท่ี ๒๑ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในทุกระดับเห็นผล คาดหวังทตี่ อ้ งการในการพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชดั เจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องใน ระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างม่ันใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดับสถานศึกษามี คุณภาพและมีความเป็นเอกภาพย่ิงขึ้น อีกท้ังยังช่วยให้เกิดความชัดเจนเร่ืองการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และ ชว่ ยแกป้ ัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับต้ังแต่ระดับชาติจนกระทั่งถึง สถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

2 ข้ันพื้นฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุกรูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน การจัดหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน จะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุก่าาย ท่ี เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ และ ตอ่ เนื่อง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรุงแก้ไข เพ่ือพัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ที่กาหนดไว้ วสิ ยั ทัศน์ โรงเรยี นชมุ ชนบ้านช่องมา้ เหลยี ว บรหิ ารการศกึ ษา ตามหลกั ธรรมาภิบาล ม่งุ พฒั นาผ้เู รยี นทุกคนให้มี ความรู้คคู่ ุณธรรม มีสขุ ภาพรา่ งกายแข็งแรง มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาสสู่ ากล สง่ เสรมิ วชิ าการและ เทคโนโลยี มีนิสยั รกั การอา่ น สบื สานงานประเพณีวฒั นธรรมไทย มีใจรกั ส่ิงแวดลอ้ ม นอ้ มนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งในการดาเนินชีวิต มจี ติ สาธารณะ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทย และเป็นพลโลกยดึ มั่น ในการ ปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ์เป็นประมุข มีทักษะการทางาน อย่รู ว่ มกนั อย่างมีความสขุ ในสังคมประชาคมอาเซียน รวมทั้งเจตคติทจ่ี าเปน็ ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดย มงุ่ เนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญบนพ้ืนฐานความเช่อื ว่า ทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละ พัฒนาตนเอง ไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ หลกั การ โรงเรียนชุมชนบ้านช่องม้าเหลียว ได้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักการของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พื้นฐาน ซึ่งมีหลักการทส่ี าคัญ ดังน้ี ๑. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาเพือ่ ความเป็นเอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรียนร้เู ป็นเปา้ หมาย สาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความ เป็นสากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาต่ออย่างเสมอภาคและมี คณุ ภาพ ๓. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทีส่ นองการกระจายอานาจ ใหส้ ังคมมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับ สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ ๔. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทมี่ ีโครงสรา้ งยืดหยนุ่ ทง้ั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ๕. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

3 จุดหมาย หลักสูตรโรงเรียนชุมชนบ้านช่องม้าเหลียว ได้ใช้จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนด เปน็ จุดหมายเพอื่ ให้เกิดกบั ผู้เรียน เมื่อจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ดังนี้ ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถอื ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยี และมที ักษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกาย และสขุ ภาพจิต ท่ดี ี มสี ุขนิสัย และรกั การออกกาลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษตั ริย์เป็นประมุข ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะท่มี งุ่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งทีด่ งี ามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอย่างมีความสุข สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น โรงเรียนชุมชนบา้ นชอ่ งม้าเหลยี ว มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ซ่ึงการพัฒนาผเู้ รยี น ใหบ้ รรลุมาตรฐานการเรยี นรทู้ ี่กาหนดนัน้ จะชว่ ยให้ผ้เู รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลย่ี นข้อมลู ขา่ วสารและประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสารท่ีมี ประสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ยี นแปลงของเหตุการณต์ ่างๆในสังคม แสวงความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี าร ตัดสินใจที่มีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดขนึ้ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิต ประจาวัน การเรียนรู้ตนเอง การเรียนอย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม ความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการแก้ปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ

4 การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อ ตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆและมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหา อยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ โรงเรียนชุมชนบ้านช่องม้าเหลียว มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สังคมต้องการ ในด้าน คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสานึก เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็น พลเมอื งไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต ๓. มีวนิ ัย ๔. ใ่าเรยี นรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ

5 สว่ นที่ ๒ โครงสรำ้ งหลกั สตู รโรงเรียน ๑. โครงสร้ำงเวลำเรียนระดับประถมศึกษำ โรงเรยี นชุมชนบำ้ นช่องม้ำเหลียว กลุ่มสาระการเรยี นรู้/กจิ กรรม เวลาเรยี น ระดบั ประถมศกึ ษา ***กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตร์ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๘๐ - ประวตั ศิ าสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ - ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๔๐) - หน้าทีพ่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดาเนนิ ชวี ิตในสังคม - เศรษฐศาสตร์ (๔๐) (๔๐) (๔๐) (๘๐) (๘๐) (๘๐) - ภูมิศาสตร์ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศลิ ปะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ รวมเวลาเรยี น (พน้ื ฐาน ) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รายวชิ าเพ่ิมเตมิ หน้าท่ีพลเมือง **** บรู ณาการ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ***กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - แนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ - ลูกเสือ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ - ชมุ นมุ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ - กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ ๑,๐๐๐ ชวั่ โมง / ปี รวมเวลาเรียนท้งั หมด 200 ชม./ปี กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้

6 โครงสร้ำงหลักสูตร ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ ๓ รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรยี น ( ช่ัวโมง / ปี ) รายวิชาพน้ื ฐาน ๘๔๐ ท๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ค๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ ๑๖๐ ว๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๓ ๘๐ ส๑๓๑๐๑ สงั คมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๓ ๔๐ ส๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๔๐ พ๑๓๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๓ ๔๐ ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ ๓ ๔๐ ง๑๓๑๐๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓ ๔๐ อ๑๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ ๒๐๐ รายวิชาเพ่ิมเติม ๔๐ ส๑๓๒๓๓ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๔๐ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ * กิจกรรมแนะแนว ๔๐ * กจิ กรรมนกั เรยี น ๔๐ ๔๐ ลกู เสือ ๓๐ ชมุ นมุ ๑๐ * กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ๑,๐๐๐ รวมเวลาเรยี นตามหลักสตู ร ๘๐ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ๔๐ กจิ กรรมสร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ ๘๐ กิจกรรมสร้างเสรมิ คณุ ลักษณะและคา่ นิยม กจิ กรรมสร้างเสริมทกั ษะการทางานการดารงชพี และทักษะชีวิต

7 ทาไมตอ้ งเรียนคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อความสาเร็จ ในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เน่ืองจากคณิตศาสตร์ช่วยให้ มนุษย์มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตผุ ลเป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้ อย่างรอบคอบและถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และสามารถ นาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ีคณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือ ในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืนๆ อันเป็นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของชาติให้มีคุณภาพ และพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ ให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์ จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง เพ่ือให้ทันสมัย และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ี เจรญิ กา้ วหน้าอย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภิวัฒน์ ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2560) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับน้ี จัดทาขึ้นโดยคานึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมี ทักษะที่จาเปน็ สาหรับการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เป็นสาคัญนั่นคือ การเตรียมผ้เู รียนให้มที ักษะด้านการคดิ วิเคราะห์ การคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ การแก้ปัญหา การคิดสรา้ งสรรค์ การใช้เทคโนโลยี การสอื่ สารและการรว่ มมือ ซง่ึ จะส่งผล ให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถ แข่งขันและอยู่ร่วมกับประชากรโลกได้ ท้ังนี้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ีประสบความสาเร็จนั้ น จะต้องเตรียม ผู้เรียนใหม้ ีความพรอ้ มทีจ่ ะเรียนรู้ส่งิ ต่างๆ พรอ้ มท่ีจะประกอบอาชีพเม่อื จบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อใน ระดับทีส่ งู ข้ึน ดงั นัน้ สถานศึกษาควรจัดการเรยี นร้ใู หเ้ หมาะสมตามศักยภาพของผ้เู รียน เรยี นรอู้ ะไรในคณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จัดเป็น ๓ สาระได้แก่ จานวนและพีชคณิต การวดั และเรขาคณิต และสถิติ และความน่าจะเป็น จานวนและพีชคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับระบบจานวนจริง สมบัติเก่ียวกับจานวนจริง อัตราส่วน ร้อยละ การ ประมาณค่า การแก้ปญั หาเกย่ี วกับจานวน การใช้จานวนในชีวิตจรงิ แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ ัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหุนาม สมการ ระบบสมการ อสมการ กราฟ ดอกเบ้ียและมูลคา่ ของเงนิ ลาดบั และอนุกรม และการ นาความรเู้ ก่ียวกับจานวน และพีชคณิต ไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ การวัดและเรขาคณิต เรียนรู้เกี่ยวกับความยาว ระยะทาง น้าหนัก พ้ืนที่ ปริมาตรและความจุ เงินและเวลา หน่วยวัดระบบต่างๆ การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด อัตราส่วนตรีโกณมิติ รูปเรขาคณิต และสมบัติของรูปเรขาคณิต การนึกภาพ แบบจาลองทางเรขาคณิต ทฤษฎบี ททางเรขาคณติ การแปลงทางเรขาคณิตในเร่ือง การเลือ่ นขนาน การ สะท้อน การหมนุ และการนาความรู้เก่ียวกับการวดั และเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณต์ า่ งๆ สถิติและความน่าจะเป็น เรียนรู้เก่ียวกับการต้ังคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การคานวณค่าสถิติ การนาเสนอ และแปรผลสาหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ หลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น การใชค้ วามรู้เก่ียวกับสถติ ิและความน่าจะเปน็ ในการอธบิ ายเหตุการณ์ต่างๆ และชว่ ยในการตดั สนิ ใจ

8 หมายเหตุ ๑. การจัดการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องให้มี ความสมดุลระหว่างสาระด้านความรู้ ทักษะและกระบวนการ ควบคู่ไปกับคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ได้แก่ การทางานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มคี วามเชอ่ื มั่นในตนเอง พรอ้ มทงั้ ตระหนกั ในคณุ คา่ และมเี จตคตทิ ่ดี ีต่อคณติ ศาสตร์ ๒. ในการวัดและประเมินผลด้านทกั ษะและกระบวนการ สามารถประเมินในระหว่าง การเรยี นการสอน หรอื ประเมินไปพรอ้ มกบั การประเมนิ ด้านความรู้

9 คณุ ภาพผู้เรียน จบชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3  อา่ น เขียนตัวเลข ตัวหนังสอื แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 มีความรู้สึกเชิงจานวน มีทักษะการ บวก การลบ การคณู การหาร และนาไปใช้ในสถานการณ์ตา่ งๆ  มีความรู้สึกเชิงจานวนเก่ียวกับเศษส่วนที่ไม่เกิน มีทักษะการบวก การลบ เศษส่วนท่ีตัวส่วนเท่ากัน และ นาไปใชใ้ นสถานการณต์ ่างๆ  คาดคะเนและวดั ความยาว น้าหนกั ปริมาตร ความจุ เลือกใชเ้ คร่ืองมือและหน่วยที่เหมาะสม บอกเวลา บอกจานวนเงิน และนาไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆ  จาแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหล่ียม วงกลม วงรี ทรงสี่เหลี่ยมมมุ ฉาก ทรงงกลม ทรงกระบอกและ กรวย เขยี นรูปหลายเหลย่ี ม วงกลมและวงรีโดยใช้แบบของรปู ระบรุ ูปเรขาคณิตที่มีแกนสมมาตรและจานวน แกนสมมาตร และนาไปใช้ในสถานการณต์ า่ งๆ  อา่ นและเขียนแผนภูมิรปู ภาพ ตารางทางเดยี ว และนาไปใช้ในสถานการณต์ า่ งๆ จบช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6  อ่าน เขียนตัวเลข ตัวหนังสือแสดงจานวนนับ เศษส่วน ทศนิยมไม่เกิน 3 ตาแหน่ง อัตราส่วนและ ร้อยละ มีความรู้สึกเชิงจานวน มีทักษะการบวก การลบ การคูณ การหาร ประมาณผลลัพธ์ และนาไปใช้ใน สถานการณต์ ่างๆ  อธิบายลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิต หาความยาวรอบรูปและพื้นท่ีของรูปเรขาคณิต สร้างรูป สามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยมและวงกลม หาปริมาตรและความจุของทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก และนาไปใช้ ใน สถานการณต์ ่างๆ  นาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิแท่ง ใช้ข้อมูลจากแผนภูมิแท่ง แผนภูมิวงกลม ตารางสองทางและกราฟเส้นใน การอธบิ ายเหตกุ ารณต์ า่ งๆ และตดั สนิ ใจ

10 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวนระบบจานวนการดาเนินการของจานวนผลท่ี เกิดข้ึนจากการดาเนนิ การ สมบัติของการดาเนินการและนาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชนั ลาดับและอนุกรม และการนาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นพิ จน์ สมการ และอสมการ และเมทริกซ์ อธิบายความสัมพันธ์ หรอื ชว่ ยแกป้ ัญหาที่ กาหนดให้ สาระที่ ๒ การวดั และเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกย่ี วกับการวดั วัดและคาดคะเนขนาดของส่งิ ทีต่ ้องการวดั และการนาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูป เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ ๓ สถติ ิและความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรู้ทางสถติ ิ ในการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการเบ้ืองตน้ ความน่าจะเป็นและการนาไปใช้

11 ตวั ชว้ี ัด กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลท่ี เกิดขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบัตขิ องการดาเนินการ และนาไปใช้ ค ๑.๑ ป ๓/๑ อ่านและเขียน ตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวนนบั ไมเ่ กิน๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๒ เปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนนบั ไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง ๆจานวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๓ บอก อ่านและเขียนเศษส่วนแสดงปรมิ าณสงิ่ ตา่ ง ๆ และแสดงสง่ิ ตา่ ง ๆ ตามเศษส่วนทก่ี าหนด ค ๑.๑ ป.๓/๔ เปรยี บเทยี บเศษสว่ นที่ตวั เศษเทา่ กนั โดยที่ตวั เศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากบั ตัวส่วนเศษส่วน ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาค่าของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยคสัญลักษณแ์ สดงการบวกและประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการลบของ จานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๖ หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสญั ลักษณ์แสดงการคูณของจานวน ๑ หลกั กบั จานวนไม่เกนิ ๔ หลักและจานวน ๒ หลักกบั จานวน๒ หลัก ค ๑.๑ ป.๓/๗ หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ในประโยคสัญลักษณ์แสดงการหารทีต่ วั ต้งั ไมเ่ กิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑หลกั ค ๑.๑ ป.๓/๘ หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๙ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หา ๒ข้ันตอน ของจานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๑๐ หาผลบวกของเศษส่วนทีม่ ตี ัวส่วนเท่ากันและผลบวกไม่เกิน ๑ และหาผลลบของเศษสว่ นท่ีมตี ัวสว่ น เท่ากัน ค ๑.๑ ป.๓/๑๑ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นทีม่ ีตวั ส่วนเทา่ กันและผลบวกไม่เกิน๑ และ โจทย์ปญั หาการลบเศษส่วนท่ีมตี ัวสว่ นเท่ากนั สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสัมพันธ์ ฟังกช์ ัน ลาดับและอนกุ รม และนาไปใช้ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ระบุจานวนที่หายไปในแบบรปู ของจานวนทเี่ พ่มิ ข้นึ หรือลดลงทีละเทา่ ๆ กนั แบบรูป

12 สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพน้ื ฐานเกยี่ วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่งิ ทตี่ ้องการวดั และนาไปใช้ ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกบั เงิน ค ๒.๑ ป.๓/๒ แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา ค ๒.๑ ป.๓/๓ เลือกใช้เคร่อื งวดั ความยาวท่ีเหมาะสม วดั และบอก ความยาวของสิ่งตา่ ง ๆ เป็นเซนติเมตรและ มลิ ลเิ มตร เมตรเซนตเิ มตร ค ๒.๑ ป.๓/๔ คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเปน็ เซนติเมตร ค ๒.๑ ป.๓/๕ เปรียบเทยี บความยาวระหว่างเซนติเมตรกบั มิลลิเมตร เมตรกับเซนตเิ มตร กิโลเมตรกบั เมตร จากสถานการณต์ า่ ง ๆ ค ๒.๑ ป.๓/๖ แสดงวธิ ีหาคา ตอบของโจทยป์ ญั หาเกยี่ วกบั ความยาว ท่ีมหี น่วยเป็นเซนติเมตรและมิลลเิ มตร เมตร และเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร ค ๒.๑ ป.๓/๗ เลอื กใชเ้ ครือ่ งชั่งทเ่ี หมาะสม วัดและบอกน้าหนักเป็นกิโลกรมั และขดี กโิ ลกรัมและกรมั ค ๒.๑ ป.๓/๘ คาดคะเนนา้ หนักเป็นกโิ ลกรมั และเป็นขีด ค ๒.๑ ป.๓/๙ เปรียบเทยี บน้าหนกั ระหวา่ งกโิ ลกรัมกับกรัมเมตรกิ ตนั กับกิโลกรัมจากสถานการณ์ตา่ ง ๆ ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทยป์ ญั หาเกี่ยวกับน้าหนกั ทีม่ ีหน่วยเปน็ กิโลกรัมกบั กรัม เมตริกตันกบั กโิ ลกรมั ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ เลอื กใช้เครอ่ื งตวงทีเ่ หมาะสม วัดและเปรียบเทยี บปริมาตร ความจเุ ป็นลติ รและมิลลิลติ ร สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๒ เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณติ สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง รูปเรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนา ไปใช้ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ระบรุ ปู เรขาคณติ สองมิติทมี่ ีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระท่ี ๓ สถติ ิและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถติ ิ และใช้ความรทู้ างสถติ ใิ นการแก้ปัญหา ค ๓.๑ ป.๓/๑ เขียนแผนภมู ิรปู ภาพ และใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรปู ภาพในการหาคาตอบของโจทย์ปญั หา ค ๓.๑ ป.๓/๒ เขียนตารางทางเดยี วจากข้อมลู ทเ่ี ป็นจานวนนับ และใช้ขอ้ มูลจากตารางทางเดียวในการหาคาตอบ ของโจทยป์ ญั หา

13 ตัวช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ที่ มาตรฐาน/ รายละเอยี ดตัวชวี้ ดั ภาคเรยี นท่ี 12 ตัวชว้ี ดั 1 ค ๑.๑ ป ๓/๑ อ่านและเขยี น ตวั เลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนงั สือแสดง จานวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 2 ค ๑.๑ ป.๓/๒ เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ จาก สถานการณ์ต่าง ๆจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 3 ค ๑.๑ ป.๓/๓ บอก อา่ นและเขยี นเศษส่วนแสดงปรมิ าณสงิ่ ต่าง ๆ และแสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามเศษส่วนท่ีกาหนด 4 ค ๑.๑ ป.๓/๔ เปรียบเทยี บเศษสว่ นที่ตวั เศษเท่ากนั โดยทต่ี วั เศษนอ้ ยกวา่ หรือเท่ากับ ตวั ส่วนเศษส่วน 5 ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการบวกและ ประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการลบของจานวนนบั ไมเ่ กิน๑๐๐,๐๐๐และ๐ 6 ค ๑.๑ ป.๓/๖ หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการคณู ของจานวน ๑ หลักกับจานวนไมเ่ กิน ๔ หลกั และจานวน ๒ หลกั กบั จานวน๒ หลัก 7 ค ๑.๑ ป.๓/๗ หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการหารทต่ี วั ตงั้ ไม่ เกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑หลกั 8 ค ๑.๑ ป.๓/๘ หาผลลพั ธ์การบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 9 ค ๑.๑ ป.๓/๙ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ขัน้ ตอน ของจานวนนับไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ 10 ค ๑.๑ ป.๓/ หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ตี วั สว่ นเท่ากนั และผลบวกไม่เกนิ ๑ และหา ๑๐ ผลลบของเศษสว่ นท่ีมตี ัวส่วนเทา่ กนั 11 ค ๑.๑ ป.๓/ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาการบวกเศษสว่ นที่มีตัวส่วนเท่ากัน ๑๑ และผลบวกไมเ่ กิน๑ และโจทยป์ ัญหาการลบเศษสว่ นที่มีตวั สว่ น เท่ากนั 12 ค ๑.๒ ป.๓/๑ ระบจุ านวนท่หี ายไปในแบบรูปของจานวนทเ่ี พิ่มขน้ึ หรือลดลงทีละเท่า ๆ กันแบบรปู 13 ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเกยี่ วกับเงิน 14 ค ๒.๑ ป.๓/๒ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกบั เวลาและระยะเวลา 15 ค ๒.๑ ป.๓/๓ เลือกใช้เครื่องวดั ความยาวทเี่ หมาะสม วัดและบอก ความยาวของสิง่ ตา่ ง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและมิลลิเมตร เมตรเซนตเิ มตร

14 ที่ มาตรฐาน/ รายละเอยี ดตัวชีว้ ัด ภาคเรยี นที่ 12 ตวั ชว้ี ดั 16 ค ๒.๑ ป.๓/๔ คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเป็นเซนติเมตร 17 ค ๒.๑ ป.๓/๕ เปรยี บเทยี บความยาวระหว่างเซนติเมตรกับมิลลเิ มตร เมตรกบั เซนตเิ มตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จากสถานการณ์ต่าง ๆ 18 ค ๒.๑ ป.๓/๖ แสดงวธิ ีหาคา ตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาว ท่ีมีหนว่ ยเปน็ เซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร กโิ ลเมตรและเมตร 19 ค ๒.๑ ป.๓/๗ เลอื กใช้เคร่ืองชัง่ ทเี่ หมาะสม วดั และบอกนา้ หนกั เปน็ กิโลกรมั และขีด กโิ ลกรมั และกรมั 20 ค ๒.๑ ป.๓/๘ คาดคะเนนา้ หนกั เปน็ กิโลกรมั และเป็นขดี 21 ค ๒.๑ ป.๓/๙ เปรยี บเทียบน้าหนักระหวา่ งกิโลกรัมกับกรัมเมตริกตันกบั กิโลกรมั จาก สถานการณ์ต่าง ๆ 22 ค ๒.๑ ป.๓/ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทย์ปัญหาเก่ียวกับน้าหนัก ทีม่ หี นว่ ยเป็น ๑๐ กโิ ลกรัมกบั กรัม เมตริกตนั กับกโิ ลกรมั 23 ค ๒.๑ ป.๓/ เลอื กใชเ้ คร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วดั และเปรยี บเทียบปรมิ าตร ความจุ ๑๑ เป็นลิตรและมิลลลิ ิตร 24 ค ๒.๒ ป.๓/๑ ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ิทม่ี ีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร 25 ค ๓.๑ ป.๓/๑ เขียนแผนภมู ิรปู ภาพ และใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ริ ปู ภาพในการหา คาตอบของโจทยป์ ัญหา 26 ค ๓.๑ ป.๓/๒ เขียนตารางทางเดียวจากข้อมูลที่เปน็ จานวนนับ และใชข้ ้อมูลจาก ตารางทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา

15 ตัวชว้ี ดั และสาระการเรยี นร้แู กนกลางต้องรู้และควรรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๒ ( ปรบั ปรงุ ๒๕๖๒) ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ ท่ี มาตรฐาน/ รายละเอยี ดตัวชี้วัด ตัวช้วี ัด ต้องรู้ ควรรู้ 1 ค ๑.๑ ป ๓/๑ อา่ นและเขยี น ตวั เลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยและตวั หนังสือแสดง  จานวนนบั ไมเ่ กิน๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 2 ค ๑.๑ ป.๓/๒ เปรียบเทียบและเรียงลาดบั จานวนนับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ จาก  สถานการณ์ต่าง ๆจานวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 3 ค ๑.๑ ป.๓/๓ บอก อ่านและเขยี นเศษสว่ นแสดงปรมิ าณส่งิ ต่าง ๆ และแสดงสงิ่ ตา่ ง  ๆ ตามเศษสว่ นท่ีกาหนด 4 ค ๑.๑ ป.๓/๔ เปรยี บเทียบเศษส่วนท่ตี วั เศษเท่ากันโดยท่ตี วั เศษน้อยกว่า หรือ  เท่ากบั ตัวส่วนเศษส่วน 5 ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาคา่ ของตวั ไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการบวกและ  ประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจานวนนับไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐และ ๐ 6 ค ๑.๑ ป.๓/๖ หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการคูณของ  จานวน ๑ หลกั กับจานวนไม่เกิน ๔ หลกั และจานวน ๒ หลักกบั จานวน๒ หลกั 7 ค ๑.๑ ป.๓/๗ หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลักษณแ์ สดงการหารที่ตวั ตง้ั  ไมเ่ กนิ ๔ หลกั ตัวหาร ๑หลกั 8 ค ๑.๑ ป.๓/๘ หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ของจานวนนับไมเ่ กิน  ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 9 ค ๑.๑ ป.๓/๙ แสดงวิธหี าคาตอบของโจทย์ปัญหา ๒ขน้ั ตอน ของจานวนนับไมเ่ กิน  ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ 10 ค ๑.๑ ป.๓/๑๐ หาผลบวกของเศษสว่ นทีม่ ตี วั สว่ นเทา่ กนั และผลบวกไม่เกิน ๑ และ  หาผลลบของเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเท่ากนั 11 ค ๑.๑ ป.๓/๑๑ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการบวกเศษสว่ นที่มตี วั ส่วน  เท่ากนั และผลบวกไม่เกิน๑ และโจทย์ปญั หาการลบเศษส่วนที่มตี ัว สว่ นเท่ากัน 12 ค ๑.๒ ป.๓/๑ ระบุจานวนทหี่ ายไปในแบบรูปของจานวนทเี่ พม่ิ ข้ึนหรือลดลงทลี ะ  เท่า ๆ กันแบบรปู 13 ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับเงนิ 

16 14 ค ๒.๑ ป.๓/๒ แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับเวลาและระยะเวลา  ท่ี มาตรฐาน/ รายละเอียดตวั ชวี้ ัด ตวั ชวี้ ดั ตอ้ งรู้ ควรรู้ 15 ค ๒.๑ ป.๓/๓ เลือกใชเ้ ครื่องวดั ความยาวที่เหมาะสม วดั และบอก ความยาวของสง่ิ  ต่าง ๆ เปน็ เซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร เมตรเซนติเมตร 16 ค ๒.๑ ป.๓/๔ คาดคะเนความยาวเป็นเมตรและเปน็ เซนติเมตร  17 ค ๒.๑ ป.๓/๕ เปรียบเทยี บความยาวระหวา่ งเซนตเิ มตรกับมลิ ลิเมตร เมตรกับ  เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จากสถานการณต์ ่าง ๆ 18 ค ๒.๑ ป.๓/๖ แสดงวิธีหาคา ตอบของโจทย์ปัญหาเกีย่ วกับความยาว ท่มี ีหนว่ ยเป็น  เซนตเิ มตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและเซนตเิ มตร กิโลเมตรและเมตร 19 ค ๒.๑ ป.๓/๗ เลือกใช้เคร่ืองช่ังทีเ่ หมาะสม วดั และบอกนา้ หนกั เปน็ กิโลกรัมและขีด  กโิ ลกรัมและกรมั 20 ค ๒.๑ ป.๓/๘ คาดคะเนน้าหนักเป็นกโิ ลกรัมและเป็นขีด  21 ค ๒.๑ ป.๓/๙ เปรยี บเทยี บน้าหนกั ระหวา่ งกิโลกรัมกบั กรัมเมตรกิ ตนั กับกิโลกรมั  จากสถานการณ์ต่าง ๆ 22 ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับน้าหนัก ท่ีมหี นว่ ยเปน็  กโิ ลกรมั กับกรมั เมตริกตนั กบั กโิ ลกรมั 23 ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ เลือกใช้เครื่องตวงที่เหมาะสม วดั และเปรียบเทียบปรมิ าตร ความจุ  เป็นลติ รและมลิ ลลิ ติ ร 24 ค ๒.๒ ป.๓/๑ ระบรุ ูปเรขาคณติ สองมิติทีม่ แี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร  25 ค ๓.๑ ป.๓/๑ เขียนแผนภมู ริ ปู ภาพ และใชข้ ้อมูลจากแผนภูมริ ปู ภาพในการหา  คาตอบของโจทย์ปญั หา 26 ค ๓.๑ ป.๓/๒ เขยี นตารางทางเดยี วจากข้อมูลที่เป็นจานวนนบั และใช้ข้อมลู จาก  ตารางทางเดียวในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา

17 มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของจานวน ผลท่ี เกดิ ขน้ึ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนนิ การ และนาไปใช้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลักษณะ แกนกลาง อนั พึงประสงค์ -ทางานอยา่ งเป็นระบบ จานวนนบั ไมเ่ กิน -มีระเบยี บวนิ ัย -มีความรอบคอบ ค ๑.๑ ป ๓/๑ อ่านและ ๑๐๐,๐๐๐และ๐ -การสือ่ สารและการสอ่ื -,มีความรับผดิ ชอบ -มวี ิจารณญาณ เขยี น ตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ - การอา่ นการเขยี น ความหมายทาง -มคี วามเชื่อมั่นในตนเอง -ตระหนกั ในคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ี่ ตัวเลขไทยและตัวหนังสอื ตวั เลขฮินดูอารบกิ คณิตศาสตร์ ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ แสดงจานวนนบั ตัวเลขไทยและตวั หนังสือ -การเชือ่ มโยง -ทางานอย่างเป็นระบบ -มีระเบยี บวินัย ไมเ่ กิน๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ แสดงจานวน -มคี วามรอบคอบ -,มคี วามรับผดิ ชอบ - หลกั คขู่ องเลขโดดในแต่ -มวี ิจารณญาณ -มีความเช่อื มนั่ ในตนเอง ละหลักและ -ตระหนกั ในคุณค่าและมเี จตคตทิ ี่ ดีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ การเขยี นตวั เลขแสดง -ทางานอยา่ งเปน็ ระบบ -มรี ะเบียบวินัย จานวนในรูปกระจาย -มคี วามรอบคอบ -,มคี วามรบั ผิดชอบ ค ๑.๑ ป.๓/๒ -การเปรียบเทยี บและ -การสอ่ื สารและการสื่อ -มีวจิ ารณญาณ -มีความเชื่อมั่นในตนเอง เปรียบเทยี บและ เรียงลาดับจานวน ความหมายทาง -ตระหนกั ในคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ี่ เรยี งลาดบั จานวนนบั ไม่ คณติ ศาสตร์ เกิน๑๐๐,๐๐๐ จาก -การเชื่อมโยง สถานการณต์ ่าง ๆจานวน นบั ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๓ บอก เศษสว่ น -การสอ่ื สารและการส่ือ อา่ นและเขยี นเศษสว่ น - เศษส่วนที่ตัวเศษน้อย ความหมายทาง แสดงปรมิ าณสงิ่ ต่าง ๆ กวา่ หรอื เทา่ กับ คณิตศาสตร์ และแสดงสิง่ ต่าง ๆ ตวั สว่ น -การเชอื่ มโยง ตามเศษส่วนท่ีกาหนด

18 ค ๑.๑ ป.๓/๔ - การเปรียบเทียบและ -การส่อื สารและการส่อื ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ ความหมายทาง เปรียบเทยี บเศษส่วนท่ีตวั เรยี งลาดับเศษส่วน คณติ ศาสตร์ -ทางานอยา่ งเป็นระบบ -การเช่อื มโยง -มรี ะเบียบวนิ ยั เศษเทา่ กนั โดยทตี่ วั เศษ -มีความรอบคอบ -,มคี วามรับผดิ ชอบ น้อยกว่า หรือเท่ากบั ตัว -มีวจิ ารณญาณ -มคี วามเชอื่ มัน่ ในตนเอง ส่วนเศษส่วน -ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคตทิ ่ี ดตี อ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาคา่ ของ การบวกการลบการคูณ -การแกป้ ญั หา ตัวไม่ทราบค่าในประโยค การหารจานวนนับไม่ -การสื่อสารและการสื่อ -ทางานอยา่ งเป็นระบบ สญั ลักษณ์แสดงการบวก เกนิ ๑๐๐,๐๐๐และ๐ ความหมายทาง -มีระเบยี บวินยั และประโยคสญั ลักษณ์ - การบวกและการลบ คณิตศาสตร์ -มคี วามรอบคอบ แสดงการลบของจานวน -การเชื่อมโยง -,มีความรบั ผดิ ชอบ นับไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ -การให้เหตผุ ล -มีวจิ ารณญาณ และ ๐ -มีความเชอ่ื มั่นในตนเอง -ตระหนกั ในคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ่ี ค ๑.๑ ป.๓/๖ หาค่าของ - การคูณ -การแกป้ ัญหา ดีต่อวิชาคณติ ศาสตร์ ตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค -การสื่อสารและการสื่อ สญั ลักษณแ์ สดงการคูณ ความหมายทาง -ทางานอย่างเปน็ ระบบ ของจานวน ๑ หลกั คณติ ศาสตร์ -มรี ะเบยี บวินัย กับจานวนไมเ่ กนิ ๔ หลัก -การเช่อื มโยง -มคี วามรอบคอบ และจานวน ๒ หลกั กับ -การให้เหตผุ ล -,มีความรับผดิ ชอบ จานวน๒ หลัก -มีวจิ ารณญาณ -มีความเชือ่ มั่นในตนเอง ค ๑.๑ ป.๓/๗ หาค่าของ - การหารยาวและการ -การแก้ปญั หา -ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคตทิ ี่ ตวั ไมท่ ราบคา่ ในประโยค หารสน้ั -การสือ่ สารและการส่อื ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ สัญลักษณ์แสดงการหาร ความหมายทาง ท่ีตัวตงั้ ไมเ่ กนิ ๔ หลกั คณติ ศาสตร์ -ทางานอย่างเปน็ ระบบ ตัวหาร ๑หลัก -การเชือ่ มโยง -มีระเบยี บวนิ ัย -การใหเ้ หตุผล -มคี วามรอบคอบ -,มีความรับผดิ ชอบ ค ๑.๑ ป.๓/๘ หาผลลพั ธ์ - การบวก ลบ คณู หาร -การแกป้ ญั หา -มีวจิ ารณญาณ การบวก ลบ คูณ หาร ระคน -การสอ่ื สารและการสื่อ -มีความเชอ่ื ม่นั ในตนเอง ระคน ของจานวนนบั ไม่ ความหมายทาง -ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคตทิ ี่ เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ คณติ ศาสตร์ ดีตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ -การเชื่อมโยง -ทางานอย่างเปน็ ระบบ -มีระเบยี บวนิ ัย -มคี วามรอบคอบ -,มีความรบั ผดิ ชอบ -มวี ิจารณญาณ

19 -การใหเ้ หตผุ ล -มคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง -ตระหนกั ในคุณค่าและมี เจคติทด่ี ีต่อวิชาคณิตศาสตร์ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ สาระท่ี ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่ เกดิ ขึน้ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้ ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะ แกนกลาง อนั พึงประสงค์ ค ๑.๑ ป.๓/๙ แสดงวธิ ี หาคาตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาและ -การแก้ปัญหา -ทางานอย่างเปน็ ระบบ ปญั หา ๒ข้ันตอน ของ -มรี ะเบยี บวนิ ยั จานวนนับไม่เกนิ การสร้างโจทยป์ ญั หา -การสอ่ื สารและการส่ือ -มคี วามรอบคอบ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ -,มคี วามรับผิดชอบ พรอ้ มท้งั หาคาตอบ ความหมายทาง -มีวจิ ารณญาณ -มีความเช่ือม่ันในตนเอง คณิตศาสตร์ -ตระหนักในคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ี่ ดีต่อวชิ าคณิตศาสตร์ -การเชอ่ื มโยง -ทางานอยา่ งเปน็ ระบบ -การให้เหตุผล -มรี ะเบยี บวนิ ยั -มีความรอบคอบ -การคิดสร้างสรรค์ -,มีความรบั ผิดชอบ -มีวจิ ารณญาณ ค ๑.๑ ป.๓/๑๐หา การบวก การลบ -การแก้ปญั หา -มีความเชือ่ ม่นั ในตนเอง ผลบวกของเศษส่วนท่มี ี เศษสว่ น -การสือ่ สารและการสื่อ -ตระหนักในคณุ ค่าและมีเจตคติที่ ตวั สว่ นเท่ากันและ - การบวกและการลบ ความหมายทาง ดตี อ่ วิชาคณติ ศาสตร์ ผลบวกไมเ่ กิน ๑ และหา เศษสว่ น คณิตศาสตร์ ผลลบของเศษสว่ นทม่ี ีตวั -การเช่อื มโยง -ทางานอย่างเป็นระบบ ส่วนเทา่ กัน -การให้เหตุผล -มีระเบียบวินยั -มคี วามรอบคอบ ค ๑.๑ ป.๓/๑๑แสดงวธิ ี - การแก้โจทย์ปญั หาการ -การแกป้ ัญหา -,มีความรับผดิ ชอบ -มีวิจารณญาณ หาคาตอบของโจทย์ บวกและโจทย์ปัญหาการ -การสือ่ สารและการสอ่ื -มคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง -ตระหนักในคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ี่ ปญั หาการบวกเศษส่วนท่ี ลบเศษส่วน ความหมายทาง ดตี ่อวิชาคณิตศาสตร์ มีตัวสว่ นเทา่ กันและ คณิตศาสตร์ ผลบวกไม่เกนิ ๑ และ -การเช่ือมโยง โจทย์ปัญหาการลบ -การให้เหตุผล เศษส่วนท่ีมีตัวสว่ น -การคิดสรา้ งสรรค์ เทา่ กัน

20 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ สาระที่ ๑ จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟงั กช์ นั ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะ แกนกลาง อนั พงึ ประสงค์ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ระบุ -การส่ือสารและการสื่อ จานวนที่หายไปในแบบ - แบบรูปของจานวนท่ี ความหมายทาง -ทางานอย่างเปน็ ระบบ รูปของจานวนที่เพม่ิ ขึ้น เพ่มิ ขน้ึ หรือลดลงทีละ คณติ ศาสตร์ -มรี ะเบยี บวินยั หรือลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน เท่า ๆ กนั -การเชือ่ มโยง -มคี วามรอบคอบ แบบรูป -การให้เหตุผล -,มีความรับผดิ ชอบ -มีวิจารณญาณ -มคี วามเช่อื มั่นในตนเอง -ตระหนกั ในคณุ ค่าและมีเจตคตทิ ่ี ดตี ่อวชิ าคณติ ศาสตร์

21 มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพ้ืนฐานเกีย่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสงิ่ ท่ตี ้องการวัด และนาไปใช้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะ แกนกลาง อันพงึ ประสงค์ ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดงวิธี หาคาตอบของโจทย์ เงิน - การแกป้ ัญหา - ทางานอย่างเป็นระบบ ปัญหาเก่ยี วกับเงนิ - มีระเบยี บวนิ ยั - การบอกจานวนเงนิ - การส่อื สารและ - มคี วามรอบคอบ - มีความรบั ผิดชอบ และเขียนแสดงจานวน ส่ือความหมาย - มวี จิ ารณญาณ - มีความเชื่อม่นั ในตนเอง เงนิ แบบใชจ้ ดุ ทางคณติ ศาสตร์ - ตระหนักในคุณค่าและมเี จต คติที่ดตี อ่ วิชาคณติ ศาสตร์ - การเปรยี บเทยี บจานวน - การเชอ่ื มโยง เงินและการแลกเงนิ - การใหเ้ หตผุ ล - การอา่ นและเขยี น บันทึกรายรบั รายจา่ ย - การแกโ้ จทย์ปญั หา เกี่ยวกับเงิน ค ๒.๑ ป.๓/๒ แสดงวิธี เวลา - การแก้ปัญหา - ทางานอย่างเป็นระบบ หาคาตอบของโจทย์ - การบอกเวลาเปน็ - การสอ่ื สารและ - มีระเบียบวินยั ปญั หาเกย่ี วกับเวลาและ นาฬิกาและนาที ส่ือความหมาย - มีความรอบคอบ ระยะเวลา - การเขยี นบอกเวลาโดย ทางคณติ ศาสตร์ - มีความรบั ผดิ ชอบ ใช้มหัพภาค (.) หรอื - การเช่อื มโยง - มวี ิจารณญาณ ทวภิ าค (:) และการอ่าน - การใหเ้ หตผุ ล - มคี วามเชอื่ มั่นในตนเอง - การบอกระยะเวลาเป็น - ตระหนักในคุณคา่ และมเี จต ชัว่ โมงและนาที คติท่ีดีตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ - การเปรยี บเทยี บ ระยะเวลาโดยใช้ ความสมั พันธ์ ระหวา่ งชั่วโมงกบั นาที - การอ่านและการเขียน บนั ทกึ กจิ กรรมทร่ี ะบุ

22 เวลา - การแกโ้ จทยป์ ญั หา เกี่ยวกบั เวลาและ ระยะเวลา ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ คุณลกั ษณะ แกนกลาง อนั พึงประสงค์ ค ๒.๑ ป.๓/๓ เลอื กใช้ เครอ่ื งวดั ความยาวที่ ความยาว - การสอื่ สารและส่ือ - ทางานอยา่ งเป็นระบบ เหมาะสม วดั และบอก - มีระเบยี บวินยั ความยาวของสงิ่ ต่าง ๆ - การวัดความยาวเป็น ความหมายทาง - มคี วามรอบคอบ เปน็ เซนติเมตรและ - มคี วามรับผดิ ชอบ มิลลิเมตร เมตรและ เซนตเิ มตร คณิตศาสตร์ - มวี ิจารณญาณ เซนติเมตร - มีความเชือ่ มั่นในตนเอง และมิลลิเมตรเมตรและ - การเชอื่ มโยง - ตระหนักในคุณคา่ และมีเจต คติที่ดตี อ่ วชิ าคณิตศาสตร์ เซนตเิ มตร - การใหเ้ หตผุ ล กโิ ลเมตรและเมตร - การเลอื กหน่วยวดั ความ ยาวที่เหมาะสม ความยาว ค ๒.๑ ป.๓/๔ - การคาดคะเนความยาว - การแก้ปัญหา - ทางานอยา่ งเป็นระบบ คาดคะเนความยาวเปน็ - มรี ะเบียบวนิ ัย เมตรและเป็นเซนติเมตร เป็นเมตร - การส่อื สารและส่ือ - มคี วามรอบคอบ - มีความรับผิดชอบ และเปน็ เซนติเมตร ความหมายทาง - มวี จิ ารณญาณ - มคี วามเช่อื ม่นั ในตนเอง คณติ ศาสตร์ - ตระหนกั ในคุณคา่ และมีเจต คติทีด่ ีตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์ - การเช่ือมโยง - ทางานอย่างเป็นระบบ - การใหเ้ หตผุ ล - มรี ะเบียบวินัย - มคี วามรอบคอบ ค ๒.๑ ป.๓/๕ ความยาว - การแกป้ ญั หา - มีความรบั ผิดชอบ เปรยี บเทียบความยาว - การเปรียบเทียบความ - การสื่อสารและสื่อ - มวี จิ ารณญาณ ระหวา่ งเซนติเมตรกับ ยาวโดยใช้ ความหมายทาง - มีความเชอ่ื มั่นในตนเอง มลิ ลิเมตร เมตรกบั ความสัมพันธร์ ะหว่าง คณติ ศาสตร์ - ตระหนักในคุณคา่ และมี เซนติเมตร หนว่ ยความยาว - การเชื่อมโยง เจตคติท่ีดีต่อวิชา กโิ ลเมตรกับเมตร จาก - การใหเ้ หตผุ ล คณติ ศาสตร์ สถานการณ์ต่าง ๆ - ทางานอยา่ งเป็นระบบ ความยาว - การแก้ปัญหา - มรี ะเบยี บวินัย ค ๒.๑ ป.๓/๖ แสดงวธิ ี - การแก้โจทยป์ ัญหา - การส่ือสารและส่ือ - มีความรอบคอบ หาคา ตอบของโจทย์ เกย่ี วกบั ความยาว ความหมายทาง

23 ปญั หาเกย่ี วกับความยาว คณิตศาสตร์ - มคี วามรบั ผดิ ชอบ ทม่ี ีหนว่ ยเปน็ เซนติเมตร - การเชอื่ มโยง - มวี ิจารณญาณ และมลิ ลิเมตร เมตรและ - การใหเ้ หตผุ ล - มีความเชือ่ ม่นั ในตนเอง เซนตเิ มตร กิโลเมตรและ - ตระหนกั ในคุณค่าและมี เมตร เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรู้ ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะ แกนกลาง อนั พึงประสงค์ ค ๒.๑ ป.๓/๗ เลือกใช้ - การสอ่ื สารและสื่อ เครื่องชงั่ ทเี่ หมาะสม วัด นา้ หนกั ความหมายทาง - ทางานอย่างเป็นระบบ และบอกนา้ หนกั เปน็ - การเลือกเครอื่ งช่ังท่ี คณิตศาสตร์ - มรี ะเบียบวินัย กิโลกรมั และขดี กโิ ลกรมั เหมาะสม - การเชอื่ มโยง - มคี วามรอบคอบ และกรัม - การให้เหตผุ ล - มคี วามรบั ผดิ ชอบ - มวี จิ ารณญาณ ค ๒.๑ ป.๓/๘ - การคาดคะเนนา้ หนัก - การแกป้ ัญหา - มคี วามเช่อื มน่ั ในตนเอง คาดคะเนน้าหนักเปน็ เป็นกโิ ลกรัมและเปน็ ขดี - การสอื่ สารและสื่อ - ตระหนักในคุณค่าและมี กิโลกรัมและเปน็ ขดี ความหมายทาง เจตคตทิ ่ีดีต่อวชิ า คณิตศาสตร์ คณติ ศาสตร์ - การเชื่อมโยง - การใหเ้ หตุผล - ทางานอย่างเป็นระบบ - มีระเบียบวนิ ยั - มีความรอบคอบ - มีความรบั ผดิ ชอบ - มวี ิจารณญาณ - มีความเชือ่ มัน่ ในตนเอง - ตระหนกั ในคุณค่าและมี เจตคตทิ ีด่ ตี อ่ วชิ าคณิตศาสตร์

24 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เขา้ ใจพ้นื ฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ทตี่ ้องการวัด และนาไปใช้ ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรู้ ทักษะกระบวนการ คุณลกั ษณะ แกนกลาง อันพงึ ประสงค์ - ทางานอยา่ งเป็นระบบ ค ๒.๑ ป.๓/๙ - การเปรยี บเทยี บ - การแก้ปญั หา - มรี ะเบียบวนิ ยั - มีความรอบคอบ เปรยี บเทยี บน้าหนัก น้าหนกั โดยใช้ - การสอ่ื สารและ - มีความรบั ผิดชอบ - มีวจิ ารณญาณ ระหวา่ งกิโลกรมั กบั กรมั ความสัมพนั ธ์ ส่ือความหมาย - มีความเชอื่ ม่นั ในตนเอง - ตระหนักในคุณค่าและมเี จตคติ เมตรกิ ตันกับกิโลกรมั จาก ระหว่างกโิ ลกรัมกับกรัม ทางคณติ ศาสตร์ ที่ดตี อ่ วชิ า คณติ ศาสตร์ สถานการณต์ ่าง ๆ เมตรกิ ตนั กบั กิโลกรัม - การเชอ่ื มโยง - ทางานอย่างเป็นระบบ - มรี ะเบยี บวินยั - การใหเ้ หตุผล - มีความรอบคอบ - มีความรับผิดชอบ ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ แสดงวิธี - การแกโ้ จทยป์ ญั หา - การแก้ปัญหา - มีวจิ ารณญาณ หาคาตอบของโจทย์ เกี่ยวกบั นา้ หนัก - การส่อื สารและ - มคี วามเช่ือม่นั ในตนเอง ปัญหาเก่ียวกบั นา้ หนัก ท่ี ส่อื ความหมาย - ตระหนกั ในคุณค่าและมเี จตคติ มหี น่วยเปน็ กิโลกรัมกับ ทางคณิตศาสตร์ ทด่ี ตี อ่ วชิ า กรัม เมตรกิ ตันกับ - การเชอื่ มโยง คณิตศาสตร์ กโิ ลกรมั - การให้เหตุผล - ทางานอยา่ งเป็น ปรมิ าตรและความจุ ระบบ - มีระเบยี บวนิ ยั ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ เลอื กใช้ - การวดั ปริมาตรและ - การแก้ปัญหา - มีความรอบคอบ - การสื่อสารและ - มีความรบั ผดิ ชอบ เครือ่ งตวงที่เหมาะสม วัด ความจเุ ปน็ ลิตรและ สอื่ ความหมาย - มวี ิจารณญาณ ทางคณติ ศาสตร์ และเปรียบเทยี บปริมาตร มิลลิลติ ร - การเชื่อมโยง - การให้เหตุผล ความจุเป็นลติ รและ - การเลือกเครื่องตวงที่ มิลลลิ ติ ร เหมาะสม - การเปรียบเทยี บ

25 ปรมิ าตรและความจุโดย - มคี วามเช่อื มัน่ ใน ใช้ ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง ตนเอง ลิตรกับมลิ ลิลิตรช้อนชา - ตระหนักในคุณคา่ ชอ้ น โตะ๊ ถว้ ยตวงกับ และมเี จตคติท่ดี ตี ่อ มิลลิลติ ร วชิ าคณติ ศาสตร์ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ รายวชิ าคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง รูปเรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนา ไปใช้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะ แกนกลาง อันพึงประสงค์ รูปเรขาคณติ สองมิติ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ระบรุ ูป - รูปท่มี ีแกนสมมาตร - การแก้ปัญหา - ทางานอยา่ งเป็นระบบ - การสอ่ื สารและส่ือ - มรี ะเบียบวินยั เรขาคณติ สองมิตทิ ม่ี ีแกน ความหมายทาง - มีความรอบคอบ คณิตศาสตร์ - มีความรับผดิ ชอบ สมมาตรและจานวนแกน - การเชื่อมโยง - มวี จิ ารณญาณ - การให้เหตผุ ล - มีความเชอื่ มัน่ ใน สมมาตร - การคดิ สรา้ งสรรค์ ตนเอง - ตระหนกั ในคุณค่าและ มเี จตคติท่ดี ตี ่อวชิ า คณติ ศาสตร์

26 มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ สาระที่ ๓ สถติ ิและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปญั หา ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้ ทักษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะ ค ๓.๑ ป.๓/๑ เขียน แกนกลาง อันพงึ ประสงค์ แผนภมู ิรปู ภาพ และใช้ - การส่อื สารและการ - ทางานอยา่ งเป็นระบบ ข้อมลู จากแผนภูมิ การเก็บรวบรวมข้อมูล สือ่ ความหมายทาง - มีระเบียบวินยั รูปภาพในการหาคาตอบ และการนาเสนอข้อมูล คณิตศาสตร์ - มีความรอบคอบ ของโจทยป์ ัญหา - การเก็บรวบรวมข้อมูล - การเช่อื มโยง - มคี วามรับผิดชอบ และจาแนกขอ้ มูล - การให้เหตผุ ล - มีวิจารณญาณ ค ๓.๑ ป.๓/๒ เขียน - การอา่ นและการเขียน - การคิดสร้างสรรค์ - มคี วามเชือ่ มน่ั ในตนเอง ตารางทางเดียวจาก แผนภูมริ ูปภาพ - ตระหนกั ในคุณคา่ และ ข้อมลู ที่เปน็ จานวนนับ - ขอ้ มลู ในประเทศ - การสอื่ สารและการ มเี จตคติท่ีดีต่อวิชาคณติ ศาสตร์ และใชข้ ้อมูลจากตาราง สื่อความหมายทาง ทางเดียวในการหา อาเซยี นมาทาเป็น คณติ ศาสตร์ - ทางานอย่างเป็นระบบ คาตอบของโจทยป์ ัญหา - การเชอ่ื มโยง - มีระเบียบวนิ ัย แผนภมู ริ ปู ภาพ - การให้เหตผุ ล - มีความรอบคอบ - การคิดสรา้ งสรรค์ - มคี วามรบั ผดิ ชอบ - การอ่านและการเขียน - มวี ิจารณญาณ ตารางทางเดยี ว - มคี วามเชอื่ มน่ั ในตนเอง (one-way table) - ตระหนักในคุณค่าและ มีเจตคติท่ดี ีต่อวิชาคณติ ศาสตร์

27 คำอธิบำยรำยวิชำ รหสั วิชา ค ๑๓๑๐๑ รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชวั่ โมง ศึกษา ฝึกทกั ษะการคดิ คานวณ และฝึกการแกป้ ัญหาในสาระต่อไปน้ี การอ่านการเขยี นตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทยและตัวหนังสอแสดงจานวนหลักค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการ เขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูปกระจายการเปรียบเทียบและเรียงลำดับจานวนจำนวนนบั ไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เศษส่วนที่ตวั เศษน้อยกวา่ หรอเทา่ กบั ตวั ส่วนการเปรียบเทยี บและเรียงลำดับเศษส่วน การบวกการลบ การคณู การหารจำนวนนบั ไม่เกิน๑๐๐,๐๐๐ และ๐ การบวกและการลบการคูณ การหาร ยาวและการหารส้นั การบวกลบคูณหารระคนการแก้โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาพร้อมทัง้ หาคำตอบ การบวกและการลบเศษส่วนการแก้โจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนแบบรูปของจำนวน ทเี่ พมิ่ ข้นึ หรอลดลงทีละเท่าๆกัน การบอกและเขียนแสดงจานวนเงิน แบบใช้จุดการเปรียบเทียบจานวนเงินและการแลกเงินการอ่านและเขียน บันทกึ รายรับรายจ่ายการแกโ้ จทย์ปัญหาเก่ียวกับเงินและตระกลู เงินในอาเซียน การบอกเวลาเปน็ นาฬิกาและนาที การเขยี นบอกเวลาโดยใช้มหัพภาค(.) หรอทวิภาค(:) และการอ่านการ บอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาทีการเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใชค้ วามสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงกบั นาทีการอ่านและ การเขียนบันทึกกจิ กรรมท่ีระบุเวลาการแก้โจทยป์ ัญหาเกยี่ วกับเวลาและระยะเวลา การวัดความยาวเป็นมิลลิเมตร เซนติเมตรเมตร และกโิ ลเมตรการเลอกใช้เคร่องวัดความยาวท่ีเหมาะสมการ คาดคะเนความยาวเป็นมิลลิเมตร เซนตเิ มตรเมตร และกิโลเมตรการเปรยี บเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหวา่ ง หน่วยความยาวการแก้โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั ความยาว การเลอกใช้เคร่องชั่งที่เหมาะสมการคาดคะเนน้าหนักเป็นกิโลกรัมและเป็นขีดการเปรียบเทียบน้าหนักโดยใช้

28 ความสัมพันธ์ระหว่างกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัมการแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับน้าหนักการวัดปริมาตรและ ความจุเป็นลิตรและมิลลิลิตรการเลอกเคร่องตวงที่เหมาะสมการคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตรการเปรียบเทียบ ปริมาตรและความจุโดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตรช้อนชาช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตรการแก้โจทย์ปัญหา เกยี่ วกับปริมาตรและความจุที่มหี น่วยเปน็ ลิตรและมลิ ลิลิตร รปู เรขาคณิตสองมติ ริ ปู ทีม่ แี กนสมมาตร การเกบรวบรวมข้อมูลและจำแนกข้อมูลการอา่ นและการเขียนแผนภูมิรปู ภาพการอา่ นและการเขียนตาราง ทางเดยี ว (one-waytable) และการนาขอ้ มูลในประเทศอาเซียนมาทาเป็นแผนภมู ริ ูปภาพและใชข้ ้อมูลจากตาราง ทางเดยี วในการหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการส่อสาร การส่อ ความหมายและการนาเสนอได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม และนาประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการ ทไ่ี ด้ไปใช้ในการเรยี นร้สู ่ิงต่าง ๆ และใชใ้ นชีวติ ประจาวนั อย่างสร้างสรรค์ เพ่อให้เหนคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็นระบบระเบียบรอบคอบ มี ความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและเช่อม่ันในตนเอง มีความมุ่งมั่นในการทางานและใฝ่รู้ใฝ่เรียน และสามารถนา หลักเศรษฐกิจพอเพียงและตระหนกั ถึงการอนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อมมาปรบั ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ ตวั ชีว้ ดั ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘ ป.๓/๙ ป.๓/๑๐ ป.๓/๑๑ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑ ป.๓/๒ รวม ๒๖ ตวั ชีว้ ัด

29 โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชาคณติ ศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 200 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 1 หน่วยท่ี ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) น้าหนัก ตวั ช้ีวดั คะแนน -อ่าน เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย 15 1 จานวนนบั ค1.1 ป3/1 และตวั หนังสือแสดงจานวนนบั ไม่เกิน 6 ไมเ่ กนิ ค1.1 ป3/2 ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ๑๐๐,๐๐๐ -การอ่านแสดงตัวเลขแสดงจานวนนับท่ีไม่เกิน และ ๐ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ต้องอา่ นตามคา่ ของเลข โดดในแตล่ ะหลกั จากซา้ ยไปขวา แ - การเขียนตวั เลขแสดงจานวนนบั ใดๆในรูป กระจายเป็นการเขยี นในรปู การบวกคา่ ของ เลขโดดในหลักต่างๆของจานวนนั้นๆ

30 -จานวนสองจานวนเมื่อเปรยี บเทยี บกนั จะ เท่ากัน หรือไม่เท่ากัน ถ้าไม่เท่ากันอาจจะ มากกว่า หรนื ้อยกว่า - = <> ≠ เป็นเคร่ืองหมายแสดงของการ เปรียบเทียบจานวน ท่ี เทา่ กนั มากกว่า น้อย กว่า และไม่เท่ากัน โดยพิจารณาจากจานวน ในแต่ละหลัก ถ้าจานวนในหลักใดเท่ากันใหด้ ู จานวนในหลักถัดไป ถา้ จานวนในหลกั ใดมาก แสดงว่าจานวนนั้นมีคา่ มาก - เรียงลาดบั จานวนให้พจิ ารณาจากมากไป น้อย และจากน้อยไปมาก รายวชิ าคณิตศาสตร์ โครงสรา้ งรายวชิ า ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 200 ชวั่ โมง หน่วยท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) น้าหนกั ตวั ชีว้ ัด คะแนน -หาผลบวก ลบ คณู หาร จานวนนับที่ไม่ 35 2 การบวก ค1.1 ป3/5 เกิน 14 การลบ ค1.1 ป3/6 100,000และ 0 การคณู ค1.1 ป3/7 - หาค่าของตัวไม่ทราบค่าในประโยค การหาร ค1.1 ป3/8 สญั ลักษณ์แสดงการบบวก การลบ การคูณ จานวนนับ ค1.1 ป3/9 และการหารของจานวนนบั ไม่เกิน ไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ ๑๐๐,๐๐๐ - บวก ลบ คูณ หารระคน ต้องหาผลลัพธใ์ น และ ๐ วงเลบ็ ก่อนแลว้ จึงหาคาตอบได้ -การแก้โจทย์ปัญหาให้พจิ ารณาโดยการ

31 วเิ คราะหโ์ จทย์ออกเป็นขน้ั ตอนแลว้ นา ขน้ั ตอนการวิเคราะห์โจทยม์ าหาคาตอบ และการสรา้ งโจทย์ปัญหาพร้อมท้ังหา คาตอบ 3 เศษส่วน ค1.1 ป3/3 - เศษสว่ นเป็นจานวน สัญลักษณท์ เ่ี ขียน 15 6 ค1.1 ป3/4 แสดงเศษส่วนประกอบด้วยตวั เศษและตวั ส่วน ตวั เศษแสดงส่วนท่ีแรเงา ส่วนตัวสว่ น คือ จานวนท่ีแสดงสว่ นที่แบ่งทง้ั หมด เทา่ ๆกัน โดยเขียนในรปู ตัวเศษอยูด่ ้านบน ตวั ส่วนอยู่ด้านลา่ ง มี เส้นคั้นระหวา่ งตัวเศษ และตัวส่วน - เปรยี บเทียบและเรยี งลาดับเศษสว่ นใหด้ ู เฉพาะตวั เศษ ถ้าเศษใดมากแสดงวา่ ตวั เศษส่วนนั้นมคี า่ มาก โดยที่ตวั ส่วนยังคงเท่า เดิม รายวิชาคณิตศาสตร์ โครงสร้างรายวชิ า ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1 จานวน 200 ช่วั โมง หน่วยที่ ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) น้าหนัก 4 การบวก ตวั ช้ีวดั คะแนน การลบ ค1.1 ป3/10 - หาผลบวกและผลลบของเศษส่วนท่มี ี 15 เศษสว่ น ค1.1 ป3/11 ตัวสว่ นเท่ากนั ทาได้โดยนาตัวเศษมาบวก 8 กนั หรอื ลบ โดยตวั สว่ นคงเดมิ 7 5 แบบรปู ค1.2 ป3/1 -แก้โจทย์ปญั หาการบวก และการลบ 7 5 6 เงนิ ค2.1 ป3/1 เศษส่วนท่มี ีตวั สว่ นเท่ากัน พร้อมท้ังแสดง 11 วธิ ีการหาคาตอบ ระบุจานวนในแบบรูปของจำนวนทเ่ี พิ่มขึน้ หรอื ลดลงทีละเท่าๆกัน - บอกและเขียนแสดงจานวนเงิน แบบใช้จุด - เปรียบเทียบจานวนเงิน

32 -เงนิ เหรยี ญและธนบัตรสามารถนามา 94 50 แลกเปล่ียนกันได้ถ้าจานวนเงินเท่ากัน - อ่านและเขยี นบันทึกรายรับรายจ่ายโดย บนั ทึกจากกิจกรรมและสถานการณ์ในแต่ ละวันของนักเรยี น - แก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเงิน รวมภาคเรยี นท่ี 1 โครงสรา้ งรายวิชา รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 200 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) นา้ หนกั ตัวชวี้ ัด ๑๕ คะแนน - การเขยี นบอกเวลาโดยใช้มหพั ภาค(.) 7 เวลา ค2.1 ป3/2 หรือทวิภาค(:) และการบอกเวลาเป็น 6 นาฬิกาและนาที - บอกระยะเวลาเป็นช่วั โมงและนาทีจาก หนา้ ปดั นาฬกิ าใช้วธิ กี ารสังเกตเขม็ สน้ั และเขม็ ยาว - เปรียบเทียบระยะเวลาเปน็ การบอก ความมาก น้อยหรอื เทา่ กันของ ระยะเวลา โดยใชค้ วามสัมพันธร์ ะหว่าง

33 ชวั่ โมงกบั นาที 14 - อ่านและการเขยี นบนั ทึกกิจกรรมที่ระบุ เวลา - แก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับเวลาและ ระยะเวลา 8 ความยาว ค2.1 ป3/3 - การวดั ความยาว ความสงู และระยะทาง ๒๕ ค2.1 ป3/4 ควรเลอื กใช้เครื่องวัดความยาวท่ีเป็น ค2.1 ป3/5 มาตรฐานใหเ้ หมาะสมกบั สิ่งของและวดั ได้ ค2.1 ป3/6 ถกู วธิ ี - การบอกความยาว ความสูง และ ระยะทางให้บอกเปน็ หนว่ ยเดียว - คาดคะเนความยาว ความสูง และ ระยะทางเป็นการบอกความยาว ความสงู และระยะทางใหไ้ ด้ใกลเ้ คียงกับความยาว จรงิ โดย โครงสร้างรายวิชา รายวิชาคณิตศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 200 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 2 หน่วยที่ ชื่อหน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) นา้ หนัก 8 ตัวช้ีวัด คะแนน ไมใ่ ช้เคร่ืองวดั 2๓ 9 ความยาว - เปรียบเทียบความยาวโดยใชค้ วามสัมพันธ์ 10 นา้ หนัก ค2.1 ป3/7 ระหว่างหนว่ ยความยาว ค2.1 ป3/8 - แก้โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกับความยาว ค2.1 ป3/9 ค2.1 ป3/10 - วัดน้าหนกั เลอื กใช้เครื่องช่งั ท่ีเหมาะสม กบั ส่งิ ของและชง่ั ไดถ้ ูกวธิ ี - บอกน้าหนักเป็น กรมั ขีด และกิโลกรัม หรอื หน่วยผสม - คาดคะเนนา้ หนักของส่ิงตา่ งๆเป็นการ

34 บอกนา้ หนักใหใ้ กล้เคียงกบั ความจรงิ โดยไม่ใชเ้ คร่ืองช่งั - เปรียบเทยี บน้าหนักโดยใช้ ความสัมพันธร์ ะหว่างกิโลกรัมกบั กรมั เมตริกตันกับกโิ ลกรมั จาก สถานการณ์ต่างๆ - แก้โจทย์ปัญหาเก่ียวกับนา้ หนัก โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาคณิตศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 200 ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 2 หน่วยที่ ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) น้าหนกั 10 ตัวชว้ี ัด คะแนน ปริมาตร - การตวงหาปรมิ าตรของสิ่งที่ตวงหรือ ๒๑ และ ค2.1 ป3/11 ความจขุ องภาชนะ ควรเลอื กใชเ้ ครื่องตวง ๑๐ ความจุ ให้เหมาะสมและถูกต้อง -บอกปริมาตร อาจเปน็ หน่วยเด่ียวหรือ หนว่ ยผสมกนั กไ็ ด้ - คาดคะเนปรมิ าตรของสิง่ ที่ตวงหรือความ จุของภาชนะเป็นการบอกปริมาตรหรอื ความจุทใ่ี กลเ้ คียงกบั ความจริงโดยไม่ใช้ เครอ่ื งตวง

35 - เปรียบเทยี บปริมาตรและความจุ เป็นการ บอกความมากกว่า น้อยกวา่ หรอื เท่ากนั ของปริมาตรหรือความจุโดยอาศัย ความสัมพันธ์ระหวา่ งลิตรกับมิลลิลติ ร - แก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ปรมิ าตรและ ความจทุ ม่ี ี หนว่ ยเปน็ ลิตรและมิลลิลติ ร 11 รปู ค๒.2 ป3/1 - รปู เรขาคณติ สองมิติทพ่ี บั แล้วแต่ละขา้ ง 7 3 เรขาคณิต ของรอยพับทับกนั สนทิ เป็นรูปทีม่ ีแกน สองมติ ิ สมมาตร และรอยพับเป็นแกนสมมาตร -การเขยี นแกนสมมาตรอาจโดยใช้แบบ รปู โครงสร้างรายวชิ า รายวิชาคณติ ศาสตร์ กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 จานวน 200 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 2 หนว่ ยท่ี ชือ่ หน่วย มาตรฐาน/ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชม.) น้าหนกั ตวั ชว้ี ัด คะแนน - ข้อมูล เปน็ ข้อเทจ็ จริงทไี่ ดจ้ ากการเกบ็ 15 12 การเกบ็ ค3.1 ป3/1 รวบรวม อาจเป็นไดท้ ้ังขอ้ ความและ ๗ รวบรวม ค3.1 ป3/2 ตัวเลข ขอ้ มลู และ การนาเสนอ -เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลอาจใช้วิธีการสังเกตหรือ ข้อมูล การสอบถาม -แผนภมู ิรูปภาพเป็นการนาเสนอข้อมลู โดย ใช้รูปภาพแสดงจานวนหรอื ปรมิ าณของ ส่ิงของต่างๆ รูปภาพท่ีแทนต้องเปน็ รูป เดยี วกนั และมีขนาดเท่ากัน

36 -แผนภมู ิรปู ภาพอาจแสดงข้อมูลในแนวหรอื 106 50 แนวต้ัง 200 100 -ตารางทางเดียวเป็นการนาเสนอข้อมลู ใน รปู ตารางท่ีมีการจาแนกรายการตามหัว เรอ่ื งเพยี งลักษณะเดยี ว รางมี สว่ นประกอบ ชอ่ื ตาราง และตัวตาราง รวมภาคเรียนที่ 2 รวมทั้งส้ิน การกาหนดแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามตัวชว้ี ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้ : คณติ ศาสตร์ ชั้น ป. 3 มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคญั พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจัดกิจกรรม หลักฐานการ การเรยี นรู้ พฤตกิ รรม (ระบุ KPA) การเรียนรู้ การเรียนการสอน/สอื่ ที่ เรยี นรู้ -ด้านความรู(้ K) - จา ใช้ -ด้านทกั ษะ(P) - เขา้ ใจ ค ๑.๑ ป ๓/๑ อ่าน -อา่ น 1. ครใู ห้นกั เรยี นทา 1. แบบ่ึก และเขียน ตวั เลข -เขยี น ฮินดูอารบิก ตวั เลข แบบทดสอบเรียน ทกั ษะ ไทยและตัวหนังสือ แสดงจานวนนับ ไม่ 2. ครนู าบตั รตัวเลขมา 2. แบบทดสอบ เกิน๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ ตดิ ในกระดานแลว้ ครู กอ่ นเรยี น อา่ นและเขยี นตัวเลขที่ ติดในกระดานให้ นกั เรียน 3. ครตู ดิ บัตรตัวเลขใน กระดานแล้วให้นักเรยี น อา่ นและเขยี น

37 4. นักเรยี นทาแบบ่กึ ทักษะ ค ๑.๑ ป.๓/๒ - -ด้านความร(ู้ K) -วิเคราะห์ 1. ทบทวนเครือ่ งหมาย 1. แบบ่กึ เปรียบเทียบและ เปรยี บเทยี บ -ด้านทักษะ(P) เรยี งลาดบั จานวนนบั -เรยี งลาดบั การเปรยี บเทยี บจานวน ทกั ษะ ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณ์ต่าง < , > ,= ≠ 2. บัตรตัวเลข ๆจานวนนับไม่เกนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 2. ครนู าบัตรตวั เลข 2 3. แบบทดสอบ จานวน มาติดใน หลังเรียน กระดาน แลว้ ให้นักเรยี น เปรยี บเทียบจานวน 2 จานวนนบั 3. ยกบตั รคามา 3 จานวน แลว้ ใหน้ กั เรียน เรยี งลาดบั จานวนจาก น้อยไปมาก และ จากมา ไปน้อย 4. นกั เรียนทาแบบ่กึ ทักษะ 5.ให้นักเรียนทา แบบทดสอบหลังเรียน มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั คาสาคัญ พฤติกรรม ระดับ แนวทางการจัดกิจกรรม หลักฐานการ การเรียนรู้ (ระบุ KPA) พฤตกิ รรม การเรียนการสอน/ส่อื ท่ี เรียนรู้ การเรยี นรู้ ใช้ ค ๑.๑ ป.๓/๓ บอก -บอก ดา้ นความร(ู้ K) - จา 1. ครใู ห้นักเรยี นทา 1. แบบ่กึ อ่านและเขียน -อ่าน -ดา้ นทักษะ(P) - เขา้ ใจ เศษส่วนแสดง -เขียน แบบทดสอบเรยี น ทักษะ ปริมาณส่ิงตา่ ง ๆ และแสดงส่ิงตา่ ง ๆ 2. ครแู จกกระดาษรปู 2. แบบทดสอบ ตามเศษส่วนที่ กาหนด สีเ่ หลี่ยมจัตรุ สั ให้นกั เรยี น ก่อนเรยี น คนละ 1 แผ่น แล้วให้ 3. กระดาษรูป นักเรียนลองแบ่งกระดาษ ส่เี หลย่ี มจัตรุ สั เปน็ 2 สว่ นเท่าๆ กัน แลว้ 4. บตั รภาพ รว่ มกันตรวจสอบการแบ่ง กระดาษของเพอ่ื นว่า เทา่ กันหรือไม่ โดยการพบั ครง่ึ แบบใดกไ็ ดจ้ น กระดาษทัง้ สองส่วนทับกัน สนิทพอดี

38 3.ให้นกั เรยี นระบายสหี รือ แรเงา 1 ส่วน แนะนา นักเรียนว่า ส่วนทีร่ ะบายสี มคี า่ 1 ใน 2 สว่ น ซ่ึง สามารถเขียนแทนดว้ ย 1 2 4. ครแู ละนกั เรียนร่วมกัน อภิปรายและตอบคาถาม เกยี่ วกับความหมายของ เศษสว่ น 5. ครูนาตวั อย่างบัตร ภาพรูปเรขาคณิตที่แสดง เศษสว่ น ดงั นี้ 1 , 1 , 1 , 345 1 ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั บอก 6 ความหมายของภาพ 6. ครูให้นกั เรียนวาดรูป ท่ี แบ่งเป็นส่วนๆ ท่ีเทา่ กนั มา แรเงาตามท่ีกาหนด แล้ว ให้ นั กเรียน ท าแบ บ ่ึ ก ทักษะ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั คาสาคัญ พฤติกรรม ระดับ แนวทางการจดั กจิ กรรม หลกั ฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม การเรียนการสอน/สอื่ ที่ เรยี นรู้ (ระบุ KPA) การเรยี นรู้ ใช้ ค ๑.๑ ป.๓/๔ - ด้านความรู้(K) - วเิ คราะห์ 1. ครยู กตัวอยา่ งรปู 1. แบบ่ึก เปรียบเทยี บเศษสว่ น เปรียบเทยี บ -ด้านทักษะ(P) เรขาคณิตที่แบ่งเปน็ ส่วน ทกั ษะ ที่ตวั เศษเท่ากนั โดยท่ี เท่าๆ กัน แต่ระบายสีไม่ 2. สมดุ แสดง ตัวเศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากนั ให้นักเรยี น่ึก การ เท่ากบั ตัวสว่ น เปรยี บเทยี บหลายๆ เปรียบเทยี บ ตวั อย่าง เศษส่วน 2. ครูให้นกั เรยี น แบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน จดั ทาสมุดแสดงการ เปรยี บเทยี บเศษสว่ นท่ีมี ตวั ส่วนเทา่ กัน โดยวาด รปู เรขาคณติ หรือส่ิงของ ทแ่ี บง่ เป็นสว่ นๆ ที่ เท่ากนั ระบายสแี สดง

39 เศษสว่ นและใช้ เครือ่ งหมาย > , <หรือ = แสดงการเปรยี บเทยี บ 3.ครูใหน้ กั เรียนทาแบบ ่ึกเสริมทักษะ ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาคา่ -หาคา่ ด้านความรู้(K) - จา 1. นักเรียนทา 1. แบบทดสอบ ของตัวไมท่ ราบคา่ ใน -ด้านทกั ษะ(P) - เขา้ ใจ ประโยคสญั ลกั ษณ์ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ก่อนเรียน แสดงการบวกและ 2. นกั เรียนช่วยกันหา 2. ใบงานการ ประโยคสญั ลกั ษณ์ คาตอบ จากน้นั ให้ บวกและการลบ แสดงการลบของ จานวนนบั ไม่เกนิ รว่ มกันสรุปเกยี่ วกับ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ หลักการบวก 3. แขง่ ขนั การบวกตาม ใบงานบนกระดานดา 4. นกั เรยี นทาแบบ่ึก เสรมิ ทกั ษะ 5.นักเรียนสงั เกตโจทยว์ า่ การหาผลลบตอนใด จะมี การกระจาย มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคญั พฤตกิ รรม ระดับ แนวทางการจัด หลักฐานการ -หาคา่ การเรยี นรู้ พฤติกรรม กจิ กรรมการเรียนการ เรยี นรู้ ค ๑.๑ ป.๓/๕ หาค่า (ระบุ KPA) การเรียนรู้ ของตัวไมท่ ราบคา่ ใน -หาค่า ด้านความรู(้ K) - จา สอน/ส่ือที่ใช้ ประโยคสัญลักษณ์ -ดา้ นทกั ษะ(P) - เข้าใจ 6. ครแู ละนักเรียน แสดงการบวกและ ประโยคสัญลักษณ์ ดา้ นความร(ู้ K) - จา สนทนาโดยใช้คาถาม แสดงการลบของ -ด้านทักษะ(P) - เขา้ ใจ จานวนนบั ไม่เกนิ เพื่อสรปุ เน้ือหาก่อนทา ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ ค ๑.๑ ป.๓/๖ หาค่า แบบ่กึ เสริมทักษะ ของตัวไม่ทราบค่าใน ประโยคสัญลกั ษณ์ 7. ให้นักเรยี นทาแบบ แสดงการคูณของ จานวน ๑ หลกั กบั ่ึกเสรมิ ทกั ษะ จานวนไมเ่ กนิ ๔ หลกั และจานวน ๒ 1. ให้นกั เรียนทา 1. แบบทดสอบ แบบทดสอบเกย่ี วกับ การคูณ การคูณ 2. แบบ่กึ 2. ครูยกตวั อย่างโจทย์ ทกั ษะ การคูณ 1 หลกั กบั ไม่ เกนิ 4 หลัก และ

หลกั กับจานวน๒ 40 หลกั จานวน ๒ หลักกับ จานวน๒ หลกั แล้วให้ นกั เรยี นพจิ ารณา ขน้ั ตอนการหาคาตอบ 3. ครยู กตัวอย่าง ประโยคสัญลกั ษณ์ที่ แสดงการคูณโดยหาตวั ไม่ทราบค่าใหน้ ักเรียน ฟงั พร้อมท้งั อธบิ าย แนวทาง ขั้นตอนในการ แสดงวิธีการหาคาตอบ 3. ครูใหน้ ักเรียนทา แบบ่ึกทักษะ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั คาสาคัญ พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจดั กิจกรรม หลักฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม ค ๑.๑ ป.๓/๗ หาค่า -หาค่า (ระบุ KPA) การเรยี นรู้ การเรียนการสอน/สื่อที่ เรยี นรู้ ของตวั ไม่ทราบค่าใน ประโยคสญั ลกั ษณ์ ดา้ นความรู้(K) - จา ใช้ แสดงการหารท่ตี วั ตง้ั -ดา้ นทกั ษะ(P) - เขา้ ใจ ไม่เกนิ ๔ หลกั 1. ให้นกั เรียนทา 1. แบบทดสอบ ตัวหาร ๑หลกั แบบทดสอบเก่ยี วกับการ การหาร หาร 2. แบบ่ึก 2. ครยู กตวั อย่างโจทย์ ทักษะ การหารทต่ี ัวตั้งไมเ่ กนิ 4 หลกั ตวั หาร 1 หลกั แลว้ ใหน้ กั เรยี นพจิ ารณา ขนั้ ตอนการหาคาตอบ 3. ครูยกตัวอย่างการหา ตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลกั ษณท์ ี่แสดงการ หาร ใหน้ กั เรยี นฟงั พรอ้ ม ทง้ั อธิบายแนวทาง ขนั้ ตอนในการแสดง

41 วธิ ีการหาคาตอบ 3. ครใู ห้นักเรยี นทาแบบ ่กึ ทักษะ ค ๑.๑ ป.๓/๘ หา -หาผลลพั ธ์ ดา้ นความร(ู้ K) - จา 1. ใหน้ กั เรยี นทา 1. แบบทดสอบ ผลลัพธ์การบวก ลบ -ด้านทักษะ(P) - เขา้ ใจ คูณ หารระคน ของ -วเิ คราะห์ แบบทดสอบเกีย่ วกบั การ การบวก ลบ จานวนนับไม่เกนิ บวก การลบ การคูณ คูณ หารระคน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ การหารระคน ของ 2. แบบ่ึก ทักษะ จานวนนบั ไม่เกิน 3. เกมลบั สมอง ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ 2. ครูยกตัวอย่างโจทย์ บวก ลบ คณู หารระคน พร้อมทัง้ รว่ มกนั อภปิ ราย กับนักเรียนถึงวธิ ีการหา ผลลพั ธ์ 3. ครแู บ่งนกั เรียน ออกเป็นกลมุ่ ละ 3-4 คนร่วมเลน่ เกมลบั สมอง 3. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบ ่ึกทกั ษะ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด คาสาคัญ พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจดั หลักฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม กจิ กรรมการเรียนการ เรยี นรู้ ค ๑.๑ ป.๓/๙ แสดง -หาคา่ (ระบุ KPA) การเรียนรู้ วธิ ีหาคาตอบของ สอน/ส่ือทใ่ี ช้ โจทย์ปญั หา ๒ ด้านความร(ู้ K) - จา 1. ครูยกตวั อย่างโจทย์ 1. ใบงาน ขัน้ ตอน ของจานวน -ดา้ นทกั ษะ(P) - เขา้ ใจ ปญั หาเกี่ยวกับการบวก 2. แบบ่ึก นับไมเ่ กิน -วิเคราะห์ การลบ การคูณ หาร ทกั ษะ ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ พร้อมทงั้ อธิบาย หลกั การวิเคราะหโ์ จทย์ และแสดงวธิ ีทา ของ จานวนนบั ไม่เกิน ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ 2. ครยู กตวั อย่างให้ นักเรยี น่กึ วเิ คราะห์ โจทย์ปัญหา แลว้ จากนั้นให้นกั เรยี นแต่ ละคนทาใบงานการ

42 วิเคราะหแ์ ละแสดงวธิ ี หาคาตอบเรื่อง โจทย์ ปัญหาการบวก ลบ คณู หาร ของจานวนนับไม่ เกิน ๑๐๐,๐๐๐และ ๐ แลว้ นามารวบรวมเปน็ สมดุ การแก้โจทยป์ ญั หา 3. ครแู ละนักเรยี น รว่ มกันสรปุ และอธบิ าย ขน้ั ตอนและวิธีการ วเิ คราะหแ์ ละวธิ กี ารหา คาตอบ 3. ครใู ห้นกั เรียนทา แบบ่กึ ทักษะ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคญั พฤติกรรม ระดับ แนวทางการจัด หลักฐานการ การเรียนรู้ พฤตกิ รรม กิจกรรมการเรียนการ เรียนรู้ ค ๑.๑ ป.๓/๑๐หา -หาผลบวก (ระบุ KPA) การเรียนรู้ ผลบวกของเศษสว่ น และผลลบ สอน/ส่อื ทใ่ี ช้ 1. ใบงาน ทมี่ ตี ัวส่วนเท่ากนั ด้านความรู้(K) - จา 1. ครยู กตัวอย่างการ 2. แบบ่ึก และผลบวกไม่เกนิ ๑ -ดา้ นทกั ษะ(P) - เข้าใจ บวกและการลบ ทกั ษะ และหาผลลบของ -วิเคราะห์ เศษสว่ นท่มี ีตัวส่วน เศษส่วนที่มีตวั สว่ น เทา่ กัน 3- 4 ตวั อย่าง เท่ากนั พร้อมอธิบายขัน้ ตอน การหาผลบวกและผล ลบเศษส่วนทีม่ ตี วั สว่ น เท่ากัน 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบ งาน เสร็จแล้วรวมกนั เฉลยและสรุปหลกั การ และข้ันตอนในกรหา คาตอบ 3. ครูให้นักเรยี นทา

43 แบบ่กึ หัดในหนังสือ เป็นการบ้าน ค ๑.๑ ป.๓/๑๑ -แสดง K,P - จา 1. ครแู ละทบทวน 1. ใบงาน แสดงวิธหี าคาตอบ วธิ ีการหา ของโจทยป์ ญั หาการ คาตอบ - เขา้ ใจ หลกั การวเิ คราะหโ์ จทย์ 2. แบบ่ึก บวกเศษสว่ นที่มีตวั ส่วนเท่ากันและ -วิเคราะห์ ปัญหา ทกั ษะ ผลบวกไมเ่ กิน๑ และ โจทยป์ ัญหาการลบ 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบ เศษส่วนทม่ี ตี ัวส่วน เทา่ กนั งาน เสร็จแล้วร่วมกัน เฉลยและสรปุ หลักการ และขนั้ ตอนในการหา คาตอบ 3. ให้นกั เรียนทา แบบ่กึ หดั มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคัญ พฤติกรรม ระดับ แนวทางการจดั หลกั ฐานการ การเรียนรู้ พฤตกิ รรม กิจกรรมการเรยี นการ เรยี นรู้ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ระบุ -ระบุ (ระบุ KPA) การเรียนรู้ จานวนท่หี ายไปใน สอน/ส่อื ที่ใช้ แบบรปู ของจานวนท่ี K,P - เข้าใจ 1. ครูให้นักเรยี นทา 1. แบบทดสอบ เพ่ิมขึน้ หรือลดลงที แบบทดสอบก่อนเรียน กอ่ นเรียน / ละเท่า ๆ กนั 2. ครูยกตวั อยา่ ง หลังเรยี น แบบรูป จานวนนับทีเ่ พ่ิมขนึ้ และ 2.ใบงาน ลดลงทล่ี ะ 2 , 3 , 5 , 3. แบบ่กึ 10 , 50 และ 100 ทักษะ 3. ครูใหน้ กั เรียนทาใบ งานเกีย่ วกบั แบบรปู 4.ครูและนกั เรยี น ร่วมกันสรุปและ อภปิ รายเกย่ี วกบั ความหมาย ขนั้ ตอน และรูปแบบของแบบ รูป

44 5.ให้นกั เรยี นทาแบบ ่ึกทักษะแล้วเฉลย พรอ้ มกนั 6.ครใู ห้นกั เรียนทา แบบทดสอบกอ่ นเรยี น มาตรฐาน/ตัวชี้วดั คาสาคัญ พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจดั หลักฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม ค ๒.๑ ป.๓/๑ แสดง -แสดง (ระบุ KPA) การเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นการ เรยี นรู้ วิธหี าคาตอบของ โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกบั K,P - เขา้ ใจ สอน/ส่อื ทใี่ ช้ เงิน -วิเคราะห์ 1. ทาแบบทดสอบก่อน 1. แบบ่กึ เรียน แลว้ ร่วมกนั ทกั ษะ 2. แบบทดสอบ ทบทวนชนิดและค่า กอ่ นเรียน/หลัง ของเงิน เรียน 2.แบ่งกลมุ่ นกั เรียนจดั 3.ใบงาน สถานการณ์แสดงการ แลกเงินโดยให้ทาใบ งานประกอบ สถานการณ์เกี่ยวกบั การแลกเงนิ 3. ครกู าหนดโจทยต์ า่ ง เก่ียวกบั การบวก การ ลบจานวนเงนิ ให้ นักเรยี นทาความเข้าใจ

45 โจทยป์ ญั หา วางแผน แก้ปัญหา ดาเนินการ ตามแผน และ ตรวจสอบความ สมเหตสุ มผลของการ แก้โจทยป์ ญั หา 4.ครูให่้ ึกแกโ้ จทย์ ปญั หาเพิม่ เตมิ ในแบบ ่ึกทักษะ 5.ใหน้ กั เรยี นทา แบบทดสอบหลงั เรียน มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั คาสาคญั พฤติกรรม ระดบั แนวทางการจัดกจิ กรรม หลกั ฐานการ การเรียนรู้ พฤตกิ รรม ค ๒.๑ ป.๓/๒ แสดง -แสดง (ระบุ KPA) การเรยี นรู้ การเรยี นการสอน/สอ่ื ที่ เรียนรู้ วิธหี าคาตอบของ โจทย์ปญั หาเกยี่ วกบั K,P - เขา้ ใจ ใช้ เวลาและระยะเวลา -วเิ คราะห์ 1. ทาแบบทดสอบกอ่ น 1. แบบ่ึก เรยี น แล้วร่วมกนั ทบทวน ทักษะ การบอกเวลาเป็นนาฬิกา 2. แบบทดสอบ และนาที พร้อมทงั้ แนะนา กอ่ นเรียน/หลัง เรยี น การเขยี นแสดงเวลาโดยใช้ 3.เกม จุด และการอ่านเวลา 2.ใหน้ กั เรียนเล่นเกมการ บอกเวลาจากหน้าปัด นาฬิกา 3. ครูยกตัวอย่าง เหตุการณใ์ นชีวิตจริง เก่ียวกับระยะเวลา 4.ครกู าหนดสถานการณ์ ใหน้ ักเรยี นเปรียบเทยี บ

46 ระยะเวลา 5. ครกู าหนด โจทยต์ า่ งเกย่ี วกับการบวก การลบเวลาทกี่ าหนดเปน็ ช่ัวโมงหรอื นาที ให้ นกั เรยี นทาความเขา้ ใจ โจทย์ปญั หา วางแผน แกป้ ัญหา ดาเนนิ การตาม แผน และตรวจสอบความ สมเหตสุ มผลของการแก้ โจทยป์ ัญหา 6.ครูให้่ึกแก้โจทยป์ ัญหา เพิ่มเติมในแบบ่ึกทักษะ 7. ให้นักเรยี นทา แบบทดสอบหลงั เรียน มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคญั พฤติกรรม ระดบั แนวทางการจดั หลกั ฐานการ การเรียนรู้ พฤตกิ รรม กจิ กรรมการเรียนการ เรียนรู้ ค ๒.๑ ป.๓/๓ -เลือก (ระบุ KPA) การเรียนรู้ - เข้าใจ สอน/สือ่ ทใี่ ช้ เลอื กใชเ้ คร่ืองวัด -บอก K 1. ทาแบบทดสอบก่อน 1. แบบทดสอบ - เขา้ ใจ เรยี นพรอ้ มท้งั ทบทวน ก่อนเรยี น ความยาวท่ีเหมาะสม K เรอ่ื งเคร่ืองมือวดั ความ 2. ใบงาน วัดและบอก ความ ยาว วธิ กี ารวัดความ ยาวของส่ิงตา่ ง ๆ ยาวและการบอกความ เป็นเซนตเิ มตรและ ยาวเป็นหนว่ ยต่างๆ มลิ ลเิ มตร เมตรและ 2. ให้นกั เรยี น่กึ วดั เซนตเิ มตร และบอกความยาวของ ค ๒.๑ ป.๓/๓ -เลอื ก สง่ิ ตา่ งๆ พร้อมท้ังบอก เลอื กใชเ้ ครื่องวดั -บอก เหตผุ ลประกอบในใบ ความยาวทเ่ี หมาะสม งาน 1. ทาแบบทดสอบก่อน 1. แบบทดสอบ เรียนพรอ้ มทง้ั ทบทวน ก่อนเรียน เร่อื งเคร่ืองมือวัดความ 2. ใบงาน

วดั และบอก ความ 47 ยาวของสง่ิ ตา่ ง ๆ เป็นเซนติเมตรและ ยาว วธิ กี ารวัดความ มิลลิเมตร เมตรและ ยาวและการบอกความ เซนตเิ มตร ยาวเป็นหน่วยตา่ งๆ 2. ใหน้ กั เรียน่ึกวดั และบอกความยาวของ สิง่ ตา่ งๆ พร้อมท้งั บอก เหตุผลประกอบในใบ งาน มาตรฐาน/ตัวชี้วดั คาสาคัญ พฤตกิ รรม ระดับ แนวทางการจดั หลกั ฐานการ การเรยี นรู้ พฤตกิ รรม กจิ กรรมการเรยี นการ เรยี นรู้ ค ๒.๑ ป.๓/๕ - (ระบุ KPA) การเรียนรู้ เปรียบเทยี บความ เปรียบเทยี บ สอน/สอ่ื ท่ีใช้ ยาวระหว่าง K -เข้าใจ 1. ครแู ละนกั เรียน 1.บัตรข้อความ เซนติเมตรกับ รว่ มกนั สนทนาเก่ยี วกบั 2.แบบ่ึก มลิ ลิเมตร เมตรกบั หน่วยของความยาว ทักษะ เซนตเิ มตร กิโลเมตร กับเมตร จาก และการเปล่ียนหนว่ ย สถานการณ์ต่าง ๆ ความยาวโดยใช้ส่อื ค ๒.๑ ป.๓/๖ แสดง -แสดง K,P - เขา้ ใจ วธิ หี าคา ตอบของ -วเิ คราะห์ ประกอบ 2.ครตู ิดบตั รขอ้ ความ บอกความยาวเปน็ ค่ๆู แลว้ ให้นกั เรยี น เปรียบเทียบ 3.ใหน้ ักเรียนทาแบบ ่กึ ทักษะ 1. ครกู าหนดโจทย์ตา่ ง 1. แบบ่ึก เก่ียวกบั การบวก การ ทกั ษะ

โจทย์ปัญหาเก่ียวกับ 48 ความยาว ที่มีหน่วย เป็นเซนติเมตรและ ลบความยาวโดยความ 2.แบบทดสอบ มิลลิเมตร เมตรและ ยาวที่กาหนดให้เปน็ หลงั เรยี น เซนติเมตร กโิ ลเมตร หนว่ ยเด่ยี วทีต่ ่างกนั ให้ และเมตร นกั เรยี นทาความเข้าใจ โจทยป์ ญั หา วางแผน แก้ปัญหา ดาเนนิ การ ตามแผน และ ตรวจสอบความ สมเหตุสมผลของการ แกโ้ จทย์ปัญหา 6.ครใู ห้่กึ แก้โจทย์ ปัญหาเพิม่ เตมิ ในแบบ ่ึกทกั ษะ 7. ให้นักเรยี นทา แบบทดสอบหลังเรียน มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคญั พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจัดกจิ กรรม หลักฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม การเรยี นการสอน/ส่ือที่ เรียนรู้ ค ๒.๑ ป.๓/๗ -เลือก (ระบุ KPA) การเรยี นรู้ เลือกใชเ้ คร่ืองชงั่ ท่ี -บอก -เขา้ ใจ ใช้ เหมาะสม วัดและ K 1. ทาแบบทดสอบกอ่ น 1. แบบทดสอบ บอกนา้ หนักเป็น -เขา้ ใจ เรยี นพรอ้ มท้งั ทบทวนเรื่อง ก่อนเรียน กิโลกรมั และขีด K เครอื่ งชงั่ นา้ หนัก วิธีการ 2. แบบ่ึก กโิ ลกรัมและกรมั ชั่งและการบอกหน่วย ทักษะ ค ๒.๑ ป.๓/๘ -คาดคะเน นา้ หนัก คาดคะเนนา้ หนักเปน็ 2. ใหน้ ักเรียน่กึ การ เลอื กใช้เครื่องช่ังนา้ หนักที่ เหมาะสมชั่งและบอก นา้ หนกั โดยใช้หน่วยเดยี ว หรือหน่วยผสม 3.ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบ ่กึ ทักษะ 1.ครูกาหนดสิ่งของตา่ งๆ 1. ใบงาน ให้นกั เรยี นแลว้ ให้นกั เรยี น 2. แบบ่กึ

49 กิโลกรมั และเปน็ ขดี ่ึกคาดคะเนนา้ หนักจาก ทักษะ สง่ิ ของที่กาหนดให้และ ค ๒.๑ ป.๓/๙ - K -เข้าใจ ตรวจสอบโดยการช่งั จรงิ 2. ใหน้ กั เรียนทาแบบ่ึก เปรยี บเทียบนา้ หนัก เปรยี บเทยี บ ทักษะ ระหว่างกโิ ลกรัมกับ 1. ครูและนกั เรียนร่วมกัน 1บัตรรปู ภาพ สนทนาเกีย่ วกบั หนว่ ยของ 2.แบบ่กึ กรัมเมตริกตนั กบั น้าหนักและการเปลีย่ น ทกั ษะ หนว่ ยน้าหนกั โดยใช้สื่อ กิโลกรมั จาก ประกอบ 2.ครตู ิดบัตรสิง่ ของที่ระบุ สถานการณ์ต่าง ๆ น้าหนกั มาให้นักเรยี น เปรียบ เทียบและตอบ คาถาม 3.ใหน้ กั เรียนทาแบบ่กึ ทกั ษะ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด คาสาคัญ พฤติกรรม ระดับ แนวทางการจดั กิจกรรมการ หลกั ฐานการ การเรยี นรู้ พฤตกิ รรม ค ๒.๑ ป.๓/๑๐ -แสดง (ระบุ KPA) การเรยี นรู้ เรียนการสอน/สอื่ ที่ใช้ เรยี นรู้ แสดงวิธีหาคาตอบ ของโจทยป์ ญั หา K,P - เข้าใจ 1. ครูกาหนดโจทยต์ ่าง 1. แบบ่กึ เกยี่ วกบั นา้ หนกั ที่มี -วิเคราะห์ หน่วยเป็นกโิ ลกรัม เกีย่ วกับการบวก การลบ ทกั ษะ กบั กรัม เมตรกิ ตันกับ 2. กิโลกรัม โจทยป์ ัญหาเก่ยี วกับนา้ หนัก แบบทดสอบ โดยนา้ หนักทก่ี าหนดใหเ้ ปน็ หลงั เรียน หนว่ ยเดีย่ วท่ตี า่ งกัน ให้ นักเรยี นทาความเขา้ ใจโจทย์ ปัญหา วางแผนแก้ปัญหา ดาเนินการตามแผน และ ตรวจสอบความสมเหตสุ มผล ของการแก้โจทย์ปัญหา 6.ครูให้่ึกแก้โจทย์ปญั หา เพม่ิ เติมในแบบ่ึกทกั ษะ 7. ใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบ หลงั เรยี น

50 ค ๒.๑ ป.๓/๑๑ -เลือก K -เขา้ ใจ 1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน 1. เลอื กใชเ้ คร่ืองตวงท่ี -บอก เหมาะสม วดั และ พร้อมท้งั ทบทวนเร่ืองเครอื่ ง แบบทดสอบ เปรียบเทยี บปริมาตร ตวง วธิ ีการตวงและการบอก ก่อนเรียน ความจเุ ปน็ ลติ รและ หน่วยการตวง 2. แบบ่กึ มลิ ลลิ ิตร 2. ให้นักเรยี น่กึ การเลือกใช้ ทกั ษะ เครอื่ งตวงทเ่ี หมาะสมตวงและ บอกปริมาตรโดยใช้หนว่ ย เดยี วหรอื หนว่ ยผสม 3.ครูและนักเรียนรว่ มกนั สนทนาเกย่ี วกบั หนว่ ยของ ปริมาตร ความจุและการ เปลย่ี นหนว่ ยการตวงโดยใช้ ส่อื ประกอบ ๔.ครตู ิดบัตรภาพสิ่งของท่ี แสดงปรมิ าตร ความจุ มาให้ นักเรียนเปรยี บเทียบและตอบ คาถาม ๕.ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบ่ึก ทักษะ แบบทดสอบหลงั เรียน มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด คาสาคัญ พฤตกิ รรม ระดบั แนวทางการจดั หลกั ฐานการ การเรียนรู้ พฤติกรรม กิจกรรมการเรยี นการ เรยี นรู้ ค ๒.๒ ป.๓/๑ระบุรูป รปู (ระบุ KPA) การเรียนรู้ เรขาคณิตสองมิติที่มี เรขาคณิต สอน/ส่ือท่ใี ช้ แกนสมมาตรและ สองมติ ิ K -เขา้ ใจ 1. ทาแบบทดสอบกอ่ น 1. แบบทดสอบ จานวนแกนสมมาตร - รปู ทีม่ ีแกน เรยี นพรอ้ มท้งั ทบทวน ก่อนเรยี น เรือ่ งรูปเรขาคณิตสอง 2. แบบ่กึ สมมาตร มติ ิ ทกั ษะ -เลือก -บอก 2. ใหน้ ักเรียนบอกชนิด ชนดิ ของรปู เรขาคณิต สองมติ ิ 3.ครูและนกั เรียน ร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกบั รูปเรขาคณติ สองมิตทิ ่มี ี แกนสมมาตรโดยใชส้ ื่อ ประกอบ