จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

 เทคโนโลยีของ Internet of Things นั้นได้สร้างพรมแดนใหม่ของการใช้ข้อมูลและการสร้างประสบการณ์ใหม่ๆ มันเลยกลายเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นสำหรับหลายๆคนมากมายที่กำลังพยายามลองหาวิธีการใหม่ๆ ในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่ต่างไปจากเดิม

1.      Smart home

Smart home หรือบ้านอัจฉริยะ คือการใช้เทคโนโลยีมาควบคุมอุปกรณ์ต่างๆภายในบ้าน เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้อยู่อาศัย ,  มีระบบการจัดการพลังงาน ระบบรักษาความปลอดภัยอัตโนมัติทั้งภายในและรอบตัวบ้าน  ส่วนใหญ่จะควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปเรียกว่า home automation ซึ่งสามารถถูกจำแนกความสามารถและความซับซ้อนในการควบคุมออกเป็น

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

1.       ระบบควบคุมไฟฟ้าแสงสว่าง เช่น เปิด/ปิด หรือปรับระดับความสว่าง

2.       ระบบควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน เช่น สั่งงานเครื่องปรับอากาศ หรือการเปิดปิดม่าน

3.       ระบบความบันเทิงภายในบ้าน เช่น สั่ง Internet radio ให้ทำงานในห้องที่ ผู้ใช้อยู่ และปิดเมื่อผู้ใช้ออกจากห้อง

4.       ระบบบริหารพลังงาน และพลังงานสำรอง เช่น การปิด/เปิด เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆโดยขึ้นกับสิ่งแวดล้อม

5.       ระบบสื่อสาร เช่น รับ/ส่ง ข้อความหรือคำสั่งระหว่างผู้ใช้

6.       ระบบรักษาความปลอดภัย เช่น เชื่อมต่อระบบกันขโมย/กล้อง กับ บ.รักษาความปลอดภัย

ระดับของความซับซ้อนนี้ ขึ้นอยู่กับงบประมาณของผู้อยู่อาศัยว่าจะเลือกให้อัตโนมัติขนาดไหน และจะให้มีอะไรอัจฉริยะบ้าง บางคนอาจจะต้องการเพียงแค่ สามารถสั่งเปิดปิด อุปกรณ์ต่างๆจาก Tablet เช่น iPad หรือจากมือถือ หรือให้อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน โคมไฟ แอร์ ทีวี  เปิดปิดเองอัตโนมัติจากการวัดด้วย sensor หรือประมวลผลชุดคำสั่งจาก user profile ว่าผู้ใช้น่าจะต้องการให้ระบบควบคุมปฏิบัติเช่นไร

2.      Wearables

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

wearable เป็นอุปกรณ์สวมใส่ เป็นได้ทั้งแฟชั่น และไอทีที่ช่วยเพื่มอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ที่ให้คุณมากกว่าแค่เครื่องประดับร่างกาย แต่การที่จะเลือก Wearable Device นั้น ต้องเลือกให้สอดคล้องกับความต้องการของเราว่า  อุปกรณ์นี้มีความสามารถอะไรบ้าง? ตรงใจเรา ช่วยให้เราสะดวก ดีขึ้น หรือไม่?

หลักการทำงานของพวก Smart watch ซึ่งเป็น Wearable ยอดนิยมที่จำหน่ายทั่วโลกแล้ว

  • Sync ข้อมูลระหว่างนาฬิกา กับ  smartphone
  • วัดอัตราการก้าวเดิน
  • การแจ้งเตือน sms โทรเข้า รวมถึง สั่นเตือนในกรณี นาฬิกาอยู่ห่างจาก smartphone
  • รองรับการสั่งงานด้วยเสียง
  • เชื่อมต่อผ่านทาง bluetooth , internet
  • ชาร์จแบตเตอรี่ได้

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

Wearable Device  คืออุปกรณ์ที่่เข้ามาเกี่ยวข้องกับไลฟสไตร์ของมนุษย์เรา  โดยเราสามารถนำมาสวมใส่ ทำงานและควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ล่าสุดผู้เขียนได้ซื้ออุปกรณ์ด้านนี้มามีชื่อว่า UP จาก Jawbone ลักษณะภายนอกจะเป็นเสมือนกำไลข้อมือ เมื่อนำมาใส่แล้วจะสามารถนับก้าวเดินของเราว่าวันหนึ่งๆ เราเดินไปทั้งหมดกี่ก้าวแล้ว ถ้าออกวิ่งก็สามารถตรวจสอบก้าวที่เราวิ่งได้ เผาผลาญไปกี่แคลอรี่ ยามที่จะนอนสามารถที่จะตั้งเพื่อตรวจสอบได้ว่าเรานอนหลับลึกไม่ลึกแค่ไหน ตั้งปลุกตอนเช้าได้โดยการสั่นที่ข้อมือเรา ตรวจสอบอาหารที่เรากินเข้าไปนั้นกี่แคลอรี่ เมื่อเรานำอุปกรณ์ดังกล่าวมาเชื่อมกับที่เสียบหูฟังเครื่อง iPhone  ที่เราลงแอพพลิเคชั่น UP เอาไว้ ข้อมูลต่างๆ ของเราก็จะ Sync  และนำมาแสดงผลในแอพฯ ใครอยากแบ่งปันใน Social Network ให้เพื่อนๆ ของเราที่ใช้ UP ด้วยกันเห็นก็ได้เช่นเดียวกัน

3.    Smart City

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

“เมืองอัจฉริยะ” หรือสมาร์ตซิตี้ (smart city) เป็นแนวคิดที่หมายถึงระบบที่เชื่อมโยงถึงกันซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างพื้นฐานของเมือง แนวคิดเบื้องหลังของเมืองอัจฉริยะคือการที่สภาพแวดล้อมสามารถรับรู้และปรับเปลี่ยนตัวเองเพื่อส่งมอบบริการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดให้กับผู้อยู่อาศัย

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

  • ระบบไฟจราจรที่เชื่อมโยงกัน ทำให้รถรู้ว่าควรจะหยุดตอนไหนและคนเดินถนนรู้ว่าควรข้ามถนนเมื่อไร ในที่สุดระบบสัญญาณจราจรก็พัฒนาเซ็นเซอร์​ (sensor) เพื่อตรวจจับการเคลื่อนไหวของรถยนต์ แทนที่จะใช้เพียงการจับเวลา
  • ระบบอย่างการสอดแนมด้วยกล้องวงจรปิด (CCTV) ระบบวิเคราะห์ใบหน้า ระบบอ่านป้ายทะเบียนรถยนต์​ ระบบเหล่านี้สร้างข้อมูลขึ้นมาแม้ว่าเราจะไม่ได้กำลังพกพาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ แค่สัญจรอยู่บนท้องถนนเราก็ป้อนข้อมูลบางอย่างให้กับระบบแล้ว

4.  Smart grids

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

“สมาร์ทกริด”(Smart Grid) คือระบบโครงข่ายสำหรับส่งไฟฟ้าอัจฉริยะแบบครบวงจรโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล  สมาร์ทกริดทำหน้าที่ส่งไฟฟ้าจากผู้ให้บริการไปยังผู้ใช้บริการด้วยระบบการสื่อสารสองทางเพื่อควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้า ณ บ้านของผู้ใช้ ซึ่งจะช่วยให้สามารถบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบริษัทที่ให้บริการระบบส่งจ่ายไฟฟ้าสมาร์ทกริดได้พัฒนาโปรแกรมพร้อมกับติดตั้งอุปกรณ์ที่สามารถตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าได้ตามเวลาจริง (Real Time) ไว้ที่แต่ละครัวเรือนว่ามีการใช้ไฟฟ้าเท่าไหร่ จุดไหนใช้มากน้อยอย่างไร เพื่อช่วยคำนวณการแจกจ่ายกระแสไฟของเมือง ช่วยให้การจ่ายกระแสไฟฟ้ามีความเสถียร ลดปัญหาไฟดับในช่วงที่มีการใช้ไฟสูง ทั้งยังทำให้ผู้ใช้สามารถเห็นพฤติกรรมและปรับลดการใช้พลังงานของตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้ระบบสมาร์ทกริดเกิดขึ้น เป็นเพราะแนวโน้มในธุรกิจไฟฟ้าของโลกเบนเข็มมาที่การใช้พลังงานสะอาดจากพลังงานลม แสงอาทิตย์ หรือพลังงานชีวภาพอื่นๆ และผู้ใช้ก็เป็นฝ่ายผลิตไฟฟ้าได้เองจากการติดตั้งแผงโซลาร์เซลหรือกังหันลม ซึ่งเมื่อผลิตไฟฟ้าได้เกินจากการใช้งานก็ย่อมสามารถส่งกลับไปขายให้รัฐหรือบริษัทผู้ให้บริการไฟฟ้าได้ แต่ทั้งหมดนี้ยังขาดการบริหารการผลิตหรือรองรับการจัดเก็บในระบบอุตสาหกรรม จึงไม่สามารถจัดสรรพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในระบบในช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูง ระบบกริดอัจฉริยะนี้จึงเข้ามาช่วยจัดการการผลิต จัดเก็บ และจัดสรรพลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้นไม่เพียงประหยัดค่าใช้จ่าย แต่ระบบนี้ยังมุ่งเน้นไปในด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการพลังงานทดแทนด้วย

5. Industrial internet

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

ทุกวันนี้ เราได้ยินเรื่องต่าง ๆ มากมายเกี่ยวกับ IoT หรืออินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง (Internet of Things) และการปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4 (Industry 4.0) ซึ่งคำเหล่านี้ล้วนอ้างถึงเมกะเทรนด์อันเดียวกันที่กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดและลูกค้าหลายรายในปัจจุบัน รวมไปถึงอนาคตในระยะที่สามารถคาดการณ์ได้ ทั้งนี้ สำหรับอุตสาหกรรม เราขอเรียกเมกะเทรนด์นี้ว่า IIoT (Industrial Internet of Things) หรือถ้าให้เรียกเป็นภาษาไทยก็คือ อินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่งสำหรับอุตสาหกรรม ซึ่งครอบคลุมกระบวนการที่ครบถ้วน รวมถึงกระบวนการที่ต่อเนื่องกันทั้งหมด เราจะวางจุดยืนของเราในเรื่องนี้อย่างไรให้กลยุทธ์ด้าน IIoT มีความชัดเจนและเกี่ยวข้องกับลูกค้าของเรา

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

  1. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เป็นผู้คิดค้น IIoT ตั้งแต่ปลายปี ค.ศ.1990 เราก็ได้ติดตั้งอีเธอร์เน็ต และเว็บเซิร์ฟเวอร์ ไว้ในอุปกรณ์ระบบออโตเมชั่นของเรา ด้วยระบบขบวนการผลิตที่โปร่งใส (Transparent Factory) และ Transparent Ready ในขณะที่คู่แข่งของเรายังโปรโมทโปรโตคอลดั้งเดิม เช่น Profibus และ DeviceNet อยู่ เรายังคงคิดค้นนวัตกรรมด้วยการเปิดตัวผลิตภัณฑ์ที่ได้รับรางวัล เช่น Modicon M580 ในปี ค.ศ.2013 โดยเป็นคอนโทรลเลอร์ตัวแรกที่มีการฝังอีเธอร์เน็ตไว้ที่ Backplane
  2. ในฐานะที่เป็นหน่วยธุรกิจ พันธกิจแรกของเราคือการจัดหาระบบงานและผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมต่อได้ฉลาด ซึ่งเป็นระบบชั้นนำและให้นวัตกรรมที่ใช้เทคโนโลยีใหม่จาก IIoT ฝ่ายซอฟต์แวร์ของเราเป็นฝ่ายที่มีความเชี่ยวชาญเรื่องบิ๊กดาต้า และระบบวิเคราะห์และจำลองรูปแบบการทำงาน
  3. องค์กรที่ทำธุรกิจด้านอุตสาหกรรม มองเรื่อง IIoT เป็น “พัฒนาการ” ไม่ใช่ “การปฏิวัติ” เราต้องทำให้ลูกค้าเชื่อมั่นว่าเราจะเคียงข้างไปด้วยในการเดินทาง เราต้องมั่นใจว่าเทคโนโลยีใหม่ที่เรานำเสนอนั้นให้คุณค่าอย่างแท้จริงสำหรับธุรกิจทั้งความคุ้มค่าเรื่องค่าใช้จ่าย ช่วยปกป้องสิ่งที่ลูกค้าลงทุนไว้ในอดีตได้
  4. ในส่วนของซัพพลายเออร์ด้านระบบออโตเมชั่นทั้งหมด ชไนเดอร์ อิเล็คทริค เคยเป็นและยังคงเป็นผู้ที่ยึดมั่นในเรื่องของมาตรฐานระบบเปิดของอุตสาหกรรม เราตอกย้ำคำมั่นสัญญานี้ด้วยการนำเสนอโปรโตคอล Modbus TCP เป็นมาตรฐานระบบเปิดมาตั้งแต่ปี 1997 และจะยังคงเป็นผู้ที่มีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการก่อตั้งและติดตั้งมาตรฐาน IIoT ที่รวมถึงพัฒนาการเรื่องโปรโตคอลที่ใช้ร่วมกันเป็นหลัก
  5. เราพร้อมที่จะนำเสนอระบบและผลิตภัณฑ์ที่ให้การเชื่อมต่ออย่างฉลาด โดยใช้คลาวด์และซอฟต์แวร์ล้ำหน้ามาช่วยเพื่อให้ลูกค้าได้รับคุณค่าทางธุรกิจที่จับต้องได้ ในประเด็นต่อไปนี้
  • ไดนามิคคิวอาร์โค้ด สำหรับคาดเดาความผิดปกติที่เกิดขึ้นได้อย่างฉลาด ช่วยลดช่วงเวลาดาวน์ไทม์ของโรงงาน
  • การติดตั้งปั้มเคิร์ฟที่ฝังไว้ในกระบวนการทำงานของอัลติวาร์ไดรฟ์ ซึ่งถือเป็นตัวอย่างของ “การเพิ่มประสิทธิภาพภายใน” ของ “ผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมต่อได้อย่างฉลาด” ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายและความเสื่อมสภาพของตัวปั๊ม ทำให้เกิดการดาวน์ไทม์น้อยลง
  • ซอฟต์แวร์ Vijeo Design’Air ที่มีรางวัลรับประกันสำหรับแท็ปเล็ตและสมาร์ทโฟนทั้งในระบบแอนดรอย์ และของแอปเปิล จะช่วยในเรื่องของการมอนิเตอร์และตั้งค่าการใช้งานอุปกรณ์ในระบบควบคุมระหว่างที่ต้องเดินทางไปมาได้ ช่วยลดเวลาดำเนินการและลดการดาวน์ไทม์ได้
  • ลูกค้าที่ใช้ระบบออโตเมชั่นในกระบวนการทำงาน สามารถตั้งค่าและทดสอบระบบควบคุมจากการสั่งงานแบบรวมศูนย์ (Distributed Control System) และระบบควบคุมความปลอดภัยจากระยะไกลได้ด้วยการใช้ “ระบบงานผ่านคลาวด์” ซึ่งช่วยให้วิศวกรหลายท่านที่ทำงานอยู่ต่างสถานที่กัน สามารถดำเนินงานเรื่องเกี่ยวกับวิศวกรรมระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในลักษณะของการประสานงานร่วมกันโดยไม่จำเป็นต้องใช้ฮาร์ดแวร์ ช่วยลดเวลาการทำงานโดยรวม และลดค่าใช้จ่าย ในขณะที่ช่วยปรับปรุงคุณภาพของระบบไปยังไซท์งาน
  • สำหรับลูกค้าที่ทำเหมืองรายใหญ่ที่สุด เรายังให้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อช่วยในการรันระบบซัพพลายเชนที่ซับซ้อนได้แบบกระจายศูนย์ตามภูมิศาสตร์ จากระบบของตัวเหมืองเอง ไปยังระบบขนส่ง และระบบทางรถไฟตลอดทางไปจนถึงท่าส่งของ ระบบเหล่านี้ใช้เทคนิคการจำลองและวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง เพื่อที่จะสามารถแนะนำผู้ประกอบการได้แบบเรียลไทม์ว่าควรจะทำอะไรหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ตัวอย่างเช่น รถไฟเกิดขัดข้องขึ้นมา เป็นต้น ซึ่งซอฟต์แวร์ดังกล่าว ไม่เพียงแต่จะแนะนำผู้ประกอบการว่าจะจัดตารางใหม่อย่างไรให้สามารถทำงานในช่วงเวลานั้น ๆ และให้ได้ผลกำไรที่เหมาะสมที่สุด แต่ยังอธิบายเหตุผลในการตัดสินใจดังกล่าวได้ด้วย
  1. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ได้พัฒนาคลังที่ใช้จัดเก็บบันทึกข้อมูลขนาดใหญ่เป็นส่วนกลาง สำหรับบริการคลาวด์ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค และได้ตั้งทีม “นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล” เฉพาะขึ้นมา เพื่อทำงานร่วมกับลูกค้าในกรณีของธุรกิจที่ต้องอาศัยโซลูชันระบบวิเคราะห์เข้ามาช่วย
  2. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตระหนักดีถึงการพัฒนาหลายสิ่งที่ซับซ้อน ซึ่งจะต้องอาศัยพลังของ IIoT มาช่วยในการควบคุมอย่างแท้จริง ตัวอย่างเช่น ในเครื่องจักรที่มีการเรียนรู้การทำงานด้วยตัวเอง เป็นต้น เราส่งผ่านงานวิจัยและพัฒนาที่เปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม ในหลาย ๆ ด้าน และโร๊ดแม็พของเราในอนาคตจะนำการพัฒนาดังกล่าวมาต่อยอดต่อไป
  3. ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ตระหนักดีว่าการรักษาความปลอดภัยไซเบอร์เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการนำ IIoT มาใช้ และได้ทำเรื่องนี้ในหลายระดับเพื่อให้บรรลุผล รวมถึงการพัฒนามาตรฐาน และผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองด้านความปลอดภัย รวมถึงรักษาความปลอดภัยเรื่องการให้บริการและโซลูชันจากระยะไกล

6. Connected car

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

Connected car เป็นส่วนที่มีการปรับตัวช้ากว่าในรูปแบบอื่นๆ เนื่องจากวงรอบในการพัฒนาในวงการอุตสาหกรรมรถยนต์   กลายเป็นที่สนใจและเกี่ยวข้องกับ Internet of Things (IoT) เพราะรถยนต์จะกลายเป็นเซนเซอร์เคลื่อนที่ที่ช่วยเก็บรวบรวมข้อมูลจากท้องถนน ได้แก่ ข้อมูลอากาศ สภาพถนนและความหนาแน่นของจราจร จึงอาจเปรียบรถยนต์ได้กับสถานีตรวจวัดอากาศเคลื่อนที่ที่พร้อมส่งข้อมูลของสภาพแวดล้อมต่างๆ จากพื้นที่จริง รถยนต์จึงนับแหล่งเก็บข้อมูลที่น่าเชื่อถือและต่อยอดประโยชน์ได้อย่างมาก

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

1.คุณจะปลอดภัยขึ้น ระบบขับขี่อัตโนมัติของรถยนต์จะลดจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนได้เป็นอย่างมากรวมไปถึงการลดจำนวนสัญญาณไฟจราจรตามสี่แยก

2.คุณจะมีเวลาส่วนตัวมากขึ้น รถของคุณจะสามารถขับขี่และจอดได้โดยอัตโนมัติ คุณสามารถพักผ่อน อ่านหนังสือหรือแชทกับเพื่อนได้ระหว่างการเดินทาง เมื่อถึงจุดหมายก็เพียงแค่เดินออกจากรถและตรงไปในร้านอาหารเพื่อทานอาหารกับเพื่อนของคุณ ขณะที่รถไปจอดด้วยตัวเอง

3.คุณจะมีเงินเพิ่มขึ้น บริษัทประกันจะหยุดตั้งคำถามถึงประวัติการขับขี่ของคุณเพื่อเพิ่มเบี้ยประกัน นอกจากนี้ยังสามารถนำรถเพื่อหารายได้จากเพิ่มจากช่องทางอื่นๆ อีกด้วย

4.คุณจะไปโรงพยาบาลน้อยลง รถของคุณจะกลายเป็นเครื่องมือสื่อสารที่ทันสมัยที่สุดที่คุณใช้และสามารถเป็น คลีนิกเคลื่อนที่ได้ด้วยแอปพลิเคชั่นเกี่ยวกับสุขภาพมากมาย ลองจินตนาการถึงการตรวจสุขภาพได้ระหว่างการเดินทางไปทำงานของคุณ

5.คุณจะอยากเดินทางบ่อยขึ้น รถยนต์อัจฉริยะของคุณจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายการให้บริการเดินทางที่ต้องการมอบประสบการณ์การเดินทางที่สะดวกสบายและไร้ความกังวลใดๆในการเดินทางแต่ละครั้งแก่คุณ

7. Connected Health (Digital health/Telehealth/Telemedicine)

แนว คิดของระบบ connected health, Digital health หรือ smart medical ยังไม่ได้เป็นที่แพร่หลายนักในขณะนี้ แต่ก็มีหลายๆ ค่ายได้ปล่อยตัวระบบและอุปกรณ์มาให้เห็นกันบ้างแล้ว

อย่างเช่น

CellScope   เป็นอุปกรณ์ด้านการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ เปิดตัวที่ตรวจหู (otoscope) อัจฉริยะ โดยประกอบร่างรวมเข้ากับเคสสำหรับสมาร์ทโฟนโดยเฉพาะ พร้อมแอพสำหรับใช้คู่กับที่ตรวจหูเป็นการเฉพาะ

หลักการของที่ตรวจหูตัวนี้ ทำงานเหมือนที่ตรวจหูทั่วไป โดยใช้เลนส์ชุดพิเศษในการเชื่อมเข้ากับกล้อง เพื่อส่องเข้าไปในรูหูของคนไข้ แต่ที่พิเศษกว่าตรงที่มีแอพทำงานคู่ด้วย ซึ่งหากใช้กับที่บ้าน ตัวแอพดังกล่าวก็จะสามารถส่งข้อมูลไปให้แพทย์ที่มีข้อตกลงกับบริษัท ช่วยวินิจฉัยอาการได้ด้วย โดยตั้งเป้าว่าจะวินิจฉัยอาการภายใน 2 ชั่วโมง เมื่อได้รับภาพจากที่ตรวจหูเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

Swaive  เป็น App ตัวสุขภาพ

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

8. Smart retail

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

สำหรับ Smart retail นั้นจะเข้ามาช่วยห้างร้านต่างๆ ได้เป็นอย่างดีในการเพิ่มประสบการณ์ที่ดีสำหรับลูกค้าในการซื้อสินค้า แต่ในตอนนี้ระบบนี้ยังเริ่มต้นได้ไม่นานนักและสินค้าเฉพาะกลุ่ม เร็วๆ นี้คงได้เห็นกันมากขึ้น

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

คือการจัดการระบบร้านค้าด้วยการส่งข้อมูลไปถึงมือลูกค้าอย่างฉับไว  จะดีเพียงใดถ้าเพียงลูกค้าเดินผ่านประตูร้านเข้ามาก็ได้รับการทักทาย จะเพิ่มโอกาสและแรงจูงใจในการจับจ่ายสินค้าได้มากแค่ไหน หากสามารถนำเสนอสินค้าต้องตามรสนิยม หรือแม้แต่มอบส่วนลดได้ตรงใจลูกค้าอย่างรวดเร็ว ถึงมือ จะสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าได้แค่ไหน เมื่อไม่ต้องเสียเวลาหรือถูกกวนใจกับข้อมูลสินค้าและโปรโมชั่นที่ไม่ต้องการ และไม่เพียงส่งข้อมูลที่เหมาะสมตรงถึงลูกค้าเท่านั้น ยังสามารถเก็บข้อมูลและสถิติในรูปแบบต่างๆ ที่ธุรกิจจะสามารถนำไปปรับใช้กับกลยุทธ์ทางการตลาดและบริหาร เพิ่มความแข็งแกร่งทาง ด้านข้อมูลข่าวสาร เสริมศักยภาพ และความได้เปรียบในการแข่งขันของธุรกิจของคุณ

9.      Smart supply chain

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

ระบบนี้จะเป็นโซลูชั่นที่เข้ามาช่วยติดตามสินค้าที่กำลังขนส่งไปตามท้องถนน ซึ่งระบบนี้จริงๆ แล้วได้มีการใช้งานมาบ้างแล้ว แต่เมื่อพูดถึงในมุมมองของ Internet of Things ดูเหมือนว่าจะยังมีการพูดถึงอยู่ในวงจำกัด

10.   Smart farming

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง

Smart farming บ่อยครั้งที่ถูกมองข้ามเมื่อพูดถึง Internet of Things เพราะเนื่องจากมันไม่ค่อยเป็นที่รับรู้หรือถูกนึกถึงเมื่อเทียบกับด้านสุขภาพ มือถือ หรืออุตสาหกรรม แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากการทำไร่นาสวนต่างๆ เป็นการปฏิบัติงานในพื้นที่ที่ค่อนข้างห่างไกล ฉะนั้นการนำ Internet of Things มาประยุกต์ใช้เพื่อทำการมอนิเตอร์จึงเป็นอะไรที่สามารถปฏิวัติวงการการทำเกษตรได้เลยทีเดียว

จง ยก ตัวอย่าง Smart Health มา 1 ตัวอย่าง