ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

������͹�Թ (search engine) ���� ��������� ��� �����������㹡���׺���Ң����� ��੾�Т����ź��Թ������ �¤�ͺ������駢�ͤ��� �ٻ�Ҿ �Ҿ����͹��� �ŧ �Ϳ������ Ἱ��� �����źؤ�� ��������� ������ � ���ᵡ��ҧ�ѹ���������������ͼ������ԡ���������. ������͹�Թ��ǹ�˭�Ф��Ң����Ũҡ���Ӥѭ (���������) ��������͹���� �ҡ��鹡���ʴ���¡�ü��Ѿ�����ѹ�Դ��Ҽ�����Ҩе�ͧ��â���� 㹻Ѩ�غѹ ������͹�Թ�ҧ��� �� ����� �кѹ�֡����ѵԡ�ä�����С�����͡���Ѿ��ͧ����������� ��Шйӻ���ѵԷ��ѹ�֡����� �Ҫ��¡�ͧ���Ѿ��㹡�ä��Ҥ��駵�� � �

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

��ª���������͹�Թ���§�ӴѺ�����������

������͹�Թ����

  • ���� (Baidu) ������͹�Թ �ѹ�Ѻ 1 �ͧ����Ȩչ
  • ��� (Cuil)
  • �ҹഡ�� (Yandex) ������͹�Թ �ѹ�Ѻ 1 �ͧ������
  • ����� (Google) ������͹�Թ �������ǹ�觡�õ�Ҵ�ҡ����ش�ѹ�Ѻ 1 �ͧ�š

������͹�Թ�ʹյ���Ѩ�غѹ¡��ԡ�����ҹ����

  • �͵�͵ (HotBot)
  • ��ŵ���ʵ� (Alta Vista)
  • �Ť�� (Lycos)

㹻�������ա�þѲ������ͧ��ͤ��Ңͧ��㹪��� ������ �Ѳ����๤෤

�������ͧ����ͧ��ͤ���

  • Catalog based search engine ��������׺�鹢�������Թ�����絪�Դ˹�� ����������Ǻ��� ����¡�Ѵ��������㹰ҹ�����ŵ����������Ǣ�ͧ͢��� ����ͼ�����Ҥ��� �������ö���仴ٵ����Ǣ�͵�ҧ � ���Ǵ���Ǣ������ � �����ա�����Ҩ�����Ǣ����������ͧ����ͧ��� ������ҧ catalog based search engine ��� Yahoo �繵� ��觨е�ҧ�Ѻ query based search engine ���е�ͧ�����Ӥ������͵�Ǩ�ͺ�Ѻ�ҹ����������բ����Ź��������� ����ա���ʴ���ª����͡��

��ѡ��÷ӧҹ�ͧ������͹�Թ

  • ��õ�Ǩ���Ң���������ྨ��ҧ�
  • ��˹�ҷ��㹡���Ǻ��������ŷ����ӡ�õ�Ǩ�����㹰ҹ������
  • ����ʴ��š�ä��Ң�����
  • ��ѡ��÷ӧҹ�ͧ Search Engine ��� �к� Search Engine �����ҧ�к��红����� ���ͷ�����¡��� Google Bot ����Ѻ�� (Crawl) ��� Links ��ҧ� �����红�������纵�ҧ� ����� Server ��Шж١�Ѵ�ѹ�Ѻ�����к� Algorithm ���л����ż��������˹�դس�Ҿ �������ǡѺ����ͧ���� �¨ШѴ�红������������Ǵ�����ҧ� ����ͼ����Ң����ż�ҹ�ҧ Search Bot ���� Keyword ��ҧ� �к� Search Engine ��令��Ң���������ҹ�����ʴ����������Ң�����

เว็บไซต์ที่ให้บริการ  Search Engine

 Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลในserver ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ
     เครื่องมือหรือโปรแกรมสำหรับการสืบค้น (Search Engine) มีอยู่มากมายและมีให้บริการอยู่ตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ใช้บริการการสืบค้นข้อมูลโดยเฉพาะ การเลือกใช้นั้นขึ้นกับประเภทของข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการสืบค้น Search Engine ต่างๆ จะให้ข้อมูลที่มีความลึกในแง่มุมหรือศาสตร์ต่างๆ
ไม่ เท่ากัน ตัวอย่าง Search Engine ที่นิยมใช้มีทั้งเว็บไซต์ที่เป็นของต่างประเทศ และของไทยเอง
     ตัวอย่าง เว็บไซต์ของไทยและต่างประเทศ ได้แก่ 

website ภาษาไทย

website ภาษาอังกฤษ

http://www.thaifind.com/ http://www.ixquick.com/
http://www.thaiseek.com/ http://www.yahoo.com%20/
http://www.thaiall.com/ http://www.lycos.com/
http://www.thainame.net/main.html http://www.netfind2.aol.com/
http://www.sanook.com/ http://www.excite.com/
http://www.google.com/ http://www.altavista.com/
http://www.aromdee.com/ http://www.freestation.com/

เมื่อพูดถึง SEO แล้วสำหรับประเทศไทยคนส่วนใหญ่จะคิดถึง Google แต่หากว่าคุณเป็นนักการตลาดระดับโกอินเตอร์หน่อย SEO จะหมายรวมถึง Search Engine อื่นๆ ที่ฮิตกันในแต่ละประเทศด้วย วันนี้ทีมงานจึงหยิบยก Search Engine ยอดนิยมของแต่ละประเทศที่น่าสนใจมาเป็นข้อมูลให้อ่านกัน

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

Yahoo เว็บไซต์ที่อยู่คู่กับโลกอินเตอร์เน็ตมายาวนานที่สุด

มาเริ่มกันเลยกับ Yahoo ที่หลายคนคุ้นหูกันมานานก่อนถือกำเนิด Google ซะอีก นั่นเพราะเป็นเว็บไซต์ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1994 ซึ่งเดิมทีใช้ชื่อว่า Jerry’s Guide to the World Wide เป็นเว็บไซต์ประเภทเว็บไดเร็คทอรี่ที่รวบรวมเว็บลิงก์ที่น่าสนใจ เรียบเรียงเป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจนสำหรับการค้นหา หรือเรียกว่าเว็บท่า และอาจเป็นจุดกำเนิดของ Search Engine เว็บแรกที่คนทั่วโลกรู้จักเลยก็ว่าได้

ในประเทศญี่ปุ่นยังคงนิยมใช้ Google เป็นอันดับหนึ่ง รองลงมาคือ Yahoo ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี โดยเฉพาะกับการใช้ Yahoo บนหน้าจอมือถือ แม้ว่าในปี 2016 ที่ผ่านมา อัตราการใช้ Google และ Yahoo เพิ่มขึ้น และลดลงต่างกันก็ตาม

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

สอดคล้องกับข้อมูลของ The StatCouter ส่วนแบ่งการตลาดของ Google บนหน้าเดสก์ท็อป ช่วงปี 2010 กูเกิ้ลมีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุดในขณะที่ Yahoo มีส่วนแบ่งการตลาดต่ำสุด หลังจากนั้นการเปลี่ยนกฎของกูเกิ้ล และการเกิดใหม่ของแพลตฟอร์ม Yahoo Loco และ Yahoo News นั่นทำให้ส่วนแบ่งการตลาดในการใช้งาน Yahoo ในญี่ปุ่นเพิ่มมากขึ้นทุกปีจนเกือบ 30% ในปี 2016

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

จากการตั้งค่าเบื้องต้นของบราวเซอร์ในดีไวซ์ยอดฮิตต่างๆ มีหน้าเว็บเริ่มต้นเป็น Yahoo ทำให้ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้นอย่างเป็นเหตุเป็นผลมากถึง 25% ภายใน 6 ปี แม้ว่า Google จะร่วมมือกับระบบแอนดรอยในการติดตั้งบราวเซอร์ต่างๆ พร้อมกับเครื่องสมาร์ทโฟน แต่ Yahoo ของญี่ปุ่นเองก็มีกลยุทธ์ร่วมลงทุนกับ Softbank ซึ่งเพิ่มความต้องการอย่างประสบความสำเร็จให้กับการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดในมือถือมากเช่นกัน

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

Yahoo และ Google ในญีปุ่นมีความเหมือนกันมาก ตั้งแต่การจัดอันดับ โครงสร้าง และการดีไซน์ รวมถึงความเร็วในการโหลดหน้าเว็บสูงสุดด้วย ในเรื่องของการบริการโฆษณาก็มีการจำกัดชิ้นโฆษณาไม่เกิน 4 ชิ้น เช่นกัน และมีระบบ Google AdWords กับ Yahoo! Promotional Ads ที่คล้ายคลึงกัน

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine
ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

ส่วนที่ต่างกันอย่างแรกคือการแสดงผลลิ้งค์เพิ่มเติม หรือ Sitelink ซึ่งมีผลต่อการเพิ่มทราฟฟิค และคอนเวอร์ชั่นให้กับเว็บไซต์ต่างๆ และยังเพิ่ง CTR ให้เกิดอะแวร์เนสกับแบรนด์ได้อีกด้วยนั้น Google จะมีคำอธิบายที่สามารถสร้างความน่าสนใจได้มากกว่า ในขณะที่ Yahoo มีเป็นเพียงการวางลิ้งค์เท่านั้น อย่างไรก็ตามการวางลิ้งค์เหล่านี้ไม่สามารถกำหนดได้ด้วยตัวเอง เป็นไปตามออกาลิทึ่มของเว็บไซต์

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

การแสดงผลเมื่อค้นหาคำที่ต้องการนั้นนอกจากข้อมูลพื้นฐานจากวิกิพีเดียแล้ว Yahoo ยังแนบการค้นหาคลิปวิดีโอจาก Youtube ออกมาแสดงผลอีกด้วย

โดยสรุปแล้วตามสแตทอ้างอิงจาก The StatCounter แสดงให้เห็นว่า Google ยังคงเป็น Search Engine ยอดฮิตที่สุดของคนญี่ปุ่นอยู่ แต่ทั้งสองเว็บไซต์ก็มีช่องว่างของส่วนแบ่งการตลาดที่ลดแคบลงทุกวัน ซึ่งหมายความว่าทั้งคู่ล้วนแต่ได้รับความสนใจจากคนญี่ปุ่นไม่แพ้กันเลยทีเดียว

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

Baidu ไม่ใช่ไวรัส แต่เป็น Search Engine ทรงอิทธิพลของชาวจีน

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

สำหรับ Search Engine ยอดฮิตในจีนนั้น Google ไม่ติดอันดับ Top3 เลยด้วยซ้ำไป ซึ่งแน่นอนว่า Baidu คือ Search Engine ที่ฮิตที่สุดของจีนอย่างที่หลายท่านทราบกันดี Baidu ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 2000 ซึ่งตอนนี้ตั้งตนเป็นผู้เชี่ยวชาญการให้บริการสินค้าเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต และยังมีโปรดักซ์ต่างๆ อีกมากมาย แต่ในฐานะ Search Engine แล้ว Baidu มีส่วนแบ่งการตลาดสูงถึง 70.74% ในจีนเลยทีเดียว (ซึ่งเคยขึ้นสูงถึง 79% ในปี 2014) อีกทั้งยังเป็น Search Engine ที่มีผู้ใช้มากเป็น Top3 ของโลกด้วยนะ รองลงมาคือ Shenma

คนไทยทั่วไปเราเคยรู้จัก Baidu ในฐานะโปรแกรมแจกไวรัสอยู่พักใหญ่ เพราะมันมักแอบแฝงมากับโปรแกรมต่างๆ แล้วพอได้ติดตั้งลงไปก็พบว่าเครื่องมันช้ากว่าเดิมไปอีก แต่จริงๆ Baidu ก็เป็นแค่ Search Engine จากประเทศจีนที่เปิดตัวมาตั้งแต่ปี 2000

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine
ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

Baidu จะจัดการหน้าเว็บ เป็นไปตามการค้นหาคำตามๆ หากเป็นการค้นหาคำทั่วไป สิ่งที่ขึ้นมาแนะนำอันดับแรกคือพจนานุกรมของ Baidu เอง ตามมาด้วยเว็บสารานุกรมแบบวิกิพิเดียของ Baidu เอง อย่าง Baike ส่วนด้านขวาก็จะเป็นบทความที่เกี่ยวข้องตามมา ถัดลงมาด้านล่าง หากไม่ใช่คำค้นหาที่เฉพาะเจาะจงชัดเจน Baidu ก็จะแสดงผลการจัดอันดับยอดฮิตเป็นเรียลไทม์ให้เราได้เห็นเทรนด์จริงๆในขณะนั้นกัน

 

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

ส่วนถ้าเป็นเรื่องดนตรี ก็จะมีลิ้งค์เข้าเว็บฟังเพลงให้เลือกในทันที

จากบทความนี้ขอแนะนำ Baidu กันแบบคร่าวๆ ไว้โอกาสหน้าเราจะมาวิเคราะห์การทำ SEO กับ Baidu ให้อ่านกันต่อนะคะ

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

Bing ผู้ขับเคี่ยวกับ Baidu ตลอดกาล

Bing คือ Search Engine จาก Microsoft ไม่ต้องแปลกใจหากเมื่อไรที่เครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณจะมี Bing แนบติดมาเป็น Search Engine แทนการตั้งค่าเป็น Google ทุกครั้งที่มีการจัดอันดับ Search Engine ตามเว็บไซต์จัดอันดับหลายแห่ง ก็มี Bing และ Baidu นี่ล่ะที่เบียดกันเป็นอันดับ 2 อันดับ 3 ต่อคิวจาก Google

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

โปรเจค Bing เริ่มต้นโดย  Steve Ballmer ผู้บริการของไมโครซอฟท์ เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2009 ที่ต้องการมาแทนที่ Live Search จนกระทั่งในเดือนกรกฎาคม 2009 ไมโครซอฟท์ และยาฮู ได้ข้อตกลงร่วมกับ Yahoo! Search นั่นทำให้ Bing เริ่มมีอำนาจมากขึ้น จนถึงปี 2015 แม้จะมีการยกเลิกข้อตกลงระหว่างกัน โดยในปี 2015 ส่งผลให้ Bing กลายเป็น Search Engine ที่ประเทศอเมริกานิยมใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุดเป็นอันดับสอง รองจาก Google ภายใต้แบรนด์ Yahoo! Search

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

จากเว็บไซต์ theegg ได้ทำการวิเคราะห์เว็บ Search Engine ยอดฮิตในเกาหลี จากหลายๆเว็บที่ทำงานวิจัย อาทิ The Search Monitor, Statcounter, KoreanClick, Return on Now ซึ่งเป็นเว็บงานวิจัยที่เลือกใช้ Search Engine ต่างๆในการวัดผล และพบว่า Search Engine ที่คนเกาหลีนิยมใช้สูงสุดคือ Naver รองลงมาคือ Daum และ Google

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

แม้ว่า Google ในเกาหลี จะเป็น Search Engine ที่คนเกาหลีนิยมใช้เป็นอันดับ 3 รองจาก Daum อีกที แต่แนวโน้มของการใช้เว็บไซต์ค้นหาระหว่าง Google และ Daum มีความน่าสนใจมากที่มีการเติบโตอย่างสวนทางกัน จนช่วงปี 2017 สแตทการใช้งาน Google ดูจะแซง Daum ไปแล้ว

ยกตัวอย่างเว็บไซต์ที่ให้บริการ search engine

ในขณะที่การเติบโตของ Naver ก็มีแนวโน้มลดลงตั้งแต่ปี 2010 มาตลอดเช่นกัน

Naver.com หรือ 네이버 เป็นเว็บไซต์ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1999 โดยกลุ่มบริษัท NHN Corporation ของเกาหลีหลายคนอาจไม่เคยทราบว่าเป็นบริษัทผู้ผลิตแอปแชทอย่าง LINE ที่แท้จริง แต่ได้แตกไลน์ไปโด่งดังที่ญี่ปุ่นแทน ในขณะที่เกาหลีฮิตแอปแชท Kakao มากกว่า สีของ Naver จึงเป็นสีเขียวแบบเดียวกับ LINE เลยค่ะ

Naver ในฐานะ Search Engine แล้ว ก็สามารถค้นหาข้อมูลทั่วไปได้อย่างระเอียด อีกทั้งยังสามารถดูอันดับการค้นหาคำยอดฮิตในขณะนั้นได้แบบเรียลไทม์อีกด้วย นอกจากหน้าที่ Search Engine แล้ว Naver เปรียบเสมือนเว็บข่าวย่อมๆด้วยค่ะ เนื่องจากการจัดหมวดหมู่คอลลั่มที่เราสามารถเลือกเองได้ ไม่ว่าจะข่าวเศรษฐฏิจ การเมือง หรือเรื่องหุ้น อสังหาริมทรัพย์ โดยคอนเทนต์ต่างๆ ก็มาจากเว็บ Naver เอง Naver จึงเปรียบเสมือนสำนักข่าวออนไลน์ไปในตัวด้วย รวมทั้ง Naver ยังมี Naver TV เป็นของตัวเอง และยังมี Naver Pay, Naver Cafe, Naver Map, Naver Music, Naver Comic และอื่นๆอีกมากมาย เรียกได้ว่าครบวงจรสุดๆ ทำให้ Naver จึงกลายเป็นแหล่งข้อมูลมหาศาลที่เข้าใจคนเกาหลีมากที่สุด และขึ้นแท่นเป็น Search Engine ในใจของชาวเกาหลีมาโดยตลอดนั้นเองค่ะ

โดยสรุปแล้ว Search Engine ต่างๆได้มีการปรับตัวให้เหมาะสมกับภูมิภาคของตน และยังออกโปรดักซ์ไลน์ออกมาเพิ่มเติมเพื่อดึงดูดให้ผู้คนหันมาใช้เว็บไซต์ของตนโดยไม่ออกไปไหน โดยเฉพาะกับกรณีตัวอย่างของ Yahoo, Baidu และ Naver ที่มีการทำเว็บไซต์สารานุกรมให้ข้อมูลครบถ้วนของตนออกมาอย่างชัดเจน และแตกโปรดักซ์ไลน์ไปทั้งเป็นสำนักข่าว แผนที่ หนังสือ การ์ตูน ดนตรี หรือแม้แต่บริการทีวีออนไลน์ ซึ่งถือเป็นแนวทางที่ดีมากสำหรับนักทำ SEO หลายท่านที่อยากทดลองตลาดในต่างประเทศ​โดยเฉพาะในประเทศจีน โอกาสหน้าเราจะมาเจาะลึก Baidu สำหรับนักทำ SEO เป็นพิเศษเลยนะคะ รอติดตามที่ Rainmaker ได้เลย

ที่มา – theegg.com(1), theegg.com(2), blog.chineseseoshifu.com

Passapornpor

สนใจในสื่อออนไลน์ ชอบติดตามรายการทีวีไทย เป็นติ่งเกาหลีนิดหน่อย ส่องทวิตเป็นชีวิตจิตใจ ทำเพจที่ตัวเองชอบไปเรื่อยๆ