แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา doc

มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา from Yui Yuyee

คณะทันตแพทยศาสตร์มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยที่มีความละเอียดชัดเจน  ครอบคลุมทุกเรื่อง ได้แก่  การตรวจตรา  การอบรม  การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย  การดับเพลิง  การอพยพหนีไฟและการบรรเทาทุกข์

ข้อมูลประกอบของกิจกรรม

  • คณะกรรมการป้องกันอัคคีภัย
  • รวมเล่มคู่มือป้องกันภัยพิบัติ

เอกสารประกอบของกิจกรรม

View Fullscreen

คำนำ

แผนป้องกนั และระงับอคั คภี ัยของโรงเรยี นชมุ พรปัญญานุกูล พ.ศ.2563 ฉบับน้ี จัดทา ขนึ้ เพ่ือใช้ใน
การป้องกนั และระงบั เหตุอัคคีภัยท่ีเกิดขนึ้ ในบริเวณโรงเรียน โดยมกี ารกาหนดบทบาทหน้าท่เี จ้าหนา้ ที่ของ
โรงเรียนชมุ พรปัญญานกุ ูล โดยการปฏบิ ตั ิตามแผนดังกล่าว แบ่งออกเป็น ๓ ระยะ คือ การปฏิบัติก่อนเกิด
อคั คีภัย เปน็ การดาเนนิ การต่าง ๆ เพอื่ ป้องกนั และเตรยี มการเผชญิ เหตุการณ์อัคคภี ัยไว้ลว่ งหนา้ โดย
กาหนดให้มีการตรวจตราระบบความปลอดภัย การฝึกอบรมให้ความรู้ เก่ียวกับการป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั
การฝึกซ้อมแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย การรณรงค์ป้องกันอัคคภี ัย การเตรยี มความพร้อมสาหรบั การอพยพ
และการเตรยี มความพรอ้ มเพื่อสนบั สนนุ การดับเพลิง การปฏิบัติระหวา่ งเกิดอคั คีภยั เปน็ การดาเนนิ การต่าง ๆ
เพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ตั เิ ม่ือเกิดอัคคีภัย เปน็ ไปอยา่ งมีระบบ มีการกาหนดแนวปฏบิ ตั ิอย่างชดั เจน การปฏิบัตหิ ลังเกิด
อัคคีภัย เปน็ การดาเนินการเพ่อื บรรเทาทุกขผ์ ไู้ ด้รบั ผลกระทบจากอคั คภี ยั ให้สามารถกลับมาดารงชีวิตได้ตาม
สภาพปกติโดยเรว็ ทสี่ ุด

ทงั้ น้ี หากเจา้ หนา้ ที่และนักเรียนไดถ้ ือปฏบิ ตั ติ ามแผนปอ้ งกันและระงับอคั คภี ยั ฉบับนี้ อย่างเคร่งครัด
จะสามารถป้องกันการสูญเสียอนั จะเกดิ แก่ชวี ติ และทรัพยส์ นิ ของโรงเรยี น นกั เรยี น เปน็ อย่างมาก

นายนพรัตน์ มะโนอิ่ม
ผู้อานวยการโรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล

สำรบัญ

เรอื่ ง หน้ำ
ข้อมูลท่ัวไป 1
1
วิสัยทัศน์ 2
3
พันธกจิ 3

เป้าประสงค์ 4
กลยุทธ์ 4
6
มำตรกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย 9
วตั ถุประสงค์ 13
แผนป้องกันอัคคีภัย 16
แผนผังข้ันตอนการปฏิบัติงาน 18
หน้าท่ีของผู้ปฏิบัติงานตามโครงสร้าง 19
แผนอพยพหนีไฟ
แผนบรรเทาทุกข์
แผนปฏิรูป

คณะผู้จัดทา

คณะผจู้ ัดทำ

นายนพรตั น์ มะโนอม่ิ ผู้อานวยการสถานศกึ ษา
นางแสงเดอื น ตรนี ันทวัน รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
นางสาวยพุ เยาว์ คนซ่ือ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา
นายนิรุต เพ็ชรกาแหง รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา
นายศิลป์ พรมแมน้ รองผ้อู านวยการสถานศึกษา
นางเกศินี ศรีสงคราม ครูชานาญการพเิ ศษ

นางสาวณิชาพัชร์ แสงสวี ครู

นางสาววารณุ ี นวลมูสกิ ครู

นายอุทยั รตั นพนั ธ์ ครู

นายสญั ชัย ทองสารไตร ครผู ้ชู ่วย

นางณัฐนันท์ ทวภี ชั ธรี ารมย์ ครูผู้ช่วย

นางสาวสวุ ิรชา พักดี ครผู ู้ช่วย

นายเรวตั ิ หมู่โยธา ครผู ู้ช่วย

นายสมโภชน์ มีสติ ครผู ู้ชว่ ย

นายณัฐพล อนุ่ แกว้ ครผู ้ชู ช่วย

นางสาวสไุ รด๊ะ ไชยเพชร พนกั งานราชการ

นางสาวเพญ็ นภา อาษาพนั ธ์ พนักงานราชการ

นางสาวธัญสมร นามบุตร พนักงานราชการ

นายณัฐวุฒิ แกว้ เลียม พนักงานราชการ

1

ข้อมลู ท่วั ไป

1. ข้อมูลทัว่ ไป

1.1 ช่ือสถานศึกษาโรงเรียนชุมพรปัญญานุกูล ตั้งอยู่เลขที่ 57 หมู่ 1ตาบลสะพลี อาเภอปะทิว
จังหวัดชุมพรรหัสไปรษณีย์ 86230 โทรศัพท์077 – 622784 โทรสาร 077–622784Website :
www.chumphonps.ao.th Email :[email protected]สังกัดสานั กบ ริห ารงาน การศึกษ าพิ เศ ษ
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

1.2 เปิดสอนระดับอนุบาล 1 อนุบาล 2 รูปแบบชน้ั เรียน 2-2 เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ระดบั ประถมศึกษาปีที่ 6 ตามแผนการจัดชน้ั เรยี น 12 ห้องเรียนรปู แบบชน้ั เรียน 2 –2–2–2-2-2เปดิ สอนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที 1ี่ ถงึ ระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 6ตามแผนการจัดชัน้ เรียน 12 ห้องเรียน รปู แบบชน้ั เรียน 2-2-2 : 2-2-2

1.3 ประวัติโรงเรียน
ประวัติศาสตร์เมืองชุมพร ได้จารึกไว้เพ่ือให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาน้ันคือ “มหาวาตภัยเกย์ ”
เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2532 จากวันน้ันเป็นต้นมา รัฐบาลโดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการมีความห่วงใยอย่างยิ่ง
กรมสามัญศึกษา โดยท่านอธิบดีนายโกวิทวรพิพัฒน์ และท่านผู้อานวยการกองการศึกษาพิเศษ นายกมล ดิษฐกมล
สมัยนั้นเล็งเห็นวา่ นักเรยี นที่ด้อยโอกาสทางการศึกษาโดยเฉพาะเดก็ ปญั ญาอ่อน ในพื้นท่ี 14 จังหวัดภาคใต้ มี
จานวนมาก จึงได้เสนอให้จัดตั้งโรงเรียนสาหรับเด็กปัญญาอ่อนขึ้นในภาคใต้และเลือก จังหวัดชุมพรเป็นที่ก่อต้ัง
โรงเรียน โดยให้สานักงานสามัญศึกษาจังหวัดชุมพรจัดหาที่ดินสาหรับจัดต้ังโรงเรียนคณะกรรมการได้พิจารณาท่ีดิน
สาธารณประโยชน์ สาหรับหมบู่ ้านของ ต.สะพลี อ.ปะทิว จ.ชุมพร มีหลักฐาน นส.3 จานวน 29 ไร่ เสนอให้ กรม
สามัญศึกษาเพ่ือพิจารณา และได้รับความเห็นชอบ โดยมีอาจารย์บุญเสริญ ชิตรัถถา ตาแหน่งอาจารย์ใหญ่โรงเรียน
มาบอามฤตวิทยา อาเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ซึ่งได้รับมอบหมายจากกรมสามัญศึกษา เป็นผู้ประสานงานในด้าน
ต่างๆ โรงเรียนชุมพรปัญญานุกูลจึงได้ปรากฏขึ้น กระทรวงศึกษาธิการประกาศจัดต้ังตามประกาศ ลงวันที่ 6
มถิ นุ ายน 2534 และให้เปิดทาการสอนต้ังแต่ปีการศกึ ษา 2534

เรมิ่ ดาเนนิ การกอ่ สรา้ ง 3 มกราคม 2534

ประกอบพธิ ีวางศิลาฤกษ์ 4 มกราคม 2534

เปดิ เรียน 1 มถิ นุ ายน 2534

อกั ษรยอ่ ชอื่ โรงเรียน ช.ป.

แผนทโ่ี รงเรยี นชมุ พรปญั ญานุกูล 2
แนวทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
บ้านพัก
ผู้อานวยการ

อาคารธารนาใจ
ปอ้ มยาม
ศาลาธรรม

เรอื นพยบาล
บา้ นพัก

ธนาคารขยะ
ศนู ย์จาหนา่ ยสนิ ค้า

โรงซ่อมบารงุ

วสิ ัยทศั น์

ภายในปี 2563 โรงเรยี นชุมพรปัญญานุกูล ผลติ ผู้เรยี นทม่ี ีความรู้คู่คณุ ธรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงอย่างย่ังยืน บนพ้นื ฐานโรงเรยี นประชารัฐ

พันธกจิ

1. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ ตามหลกั ธรรมาภิบาล มาตรฐานโรงเรียนประชารฐั
2. พฒั นาศักยภาพผู้เรยี นให้มีความร้คู คู่ ุณธรรม มที ักษะการดาเนนิ ชีวิตและการประกอบอาชพี
โดยการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
3. ส่งเสริมครู บคุ ลากร ให้มคี วามรคู้ ู่คุณธรรม มีภาวะผู้นาทางวิชาการ
4. พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ และสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด สวยงาม เอ้อื ต่อการเรียนร้ตู ามแนวปรชั ญาขอ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. สง่ เสรมิ สนบั สนุนการประสานความรว่ มมอื ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมอยา่ งยงั่ ยืน

3

เปา้ ประสงค์

1. โรงเรียนชุมพรปญั ญานกุ ลู มกี ารบรหิ ารจัดการทมี่ ปี ระสิทธิภาพ
2. ผู้เรียนมคี วามรู้ค่คู ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีทกั ษะการดาเนินชีวติ และการประกอบอาชพี
3. ครู บคุ ลากร มคี วามรู้ มีคุณธรรม และมีภาวะผู้นาทางวชิ าการ
4. โรงเรียนชมุ พรปญั ญานกุ ลู มแี หลง่ การเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ตามแนวปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียง
5. ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ให้การยอมรับและสนับสนุนการดาเนนิ งานของโรงเรียน

กลยุทธ์

กลยทุ ธ์
1. ส่งเสรมิ พฒั นาการบรหิ ารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล มาตรฐานโรงเรยี นประชารฐั
2. พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรคู้ ู่คุณธรรม จริยธรรม มที กั ษะการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ โดย

การเรียนรูต้ ลอดชวี ิต
3. สนับสนุนสง่ เสรมิ ครู บคุ ลากร ให้มีความรู้คู่คุณธรรม มภี าวะผู้นาทางวชิ าการ
4. พฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ และสภาพแวดล้อมใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรูต้ ามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
5. สง่ เสริมการประสานความรว่ มมอื ของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมอยา่ งย่งั ยืน

อตั ลกั ษณ์ ผ้เู รยี นมีความสขุ ไมส่ ร้างทุกขใ์ ห้สังคม

เอกลกั ษณ์ บรรยากาศดี กฬี าเดน่ เนน้ อาชพี

4

มาตรการป้องกันและระงับอัคคีภัย

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือเป็นการป้องกันการสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพย์สินจากอัคคีภัย
2. เพ่ือสร้างความม่ันใจในเร่ืองความปลอดภัยต่อนักเรียนและบุคลากรกรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้
3. เพื่อลดอัตราการเส่ียงต่อการเกิดเหตุอัคคีภัย
4. เพื่อสร้างทัศนคติท่ีดีต่อนักเรียนและบุคลากรในสถานประกอบการ

เพ่ือให้ชีวิตและทรัพย์สินทั้งหมดในสถานประกอบการมีความปลอดภัยจากอัคคีภัย ควรได้มีการกาหนด
มาตรการการป้องกันและระงับอัคคีภัย ดังนี้
1. จัดให้มีระเบียบป้องกันและระงับอัคคีภัย ท้ังด้านการจัดอุปกรณ์ดับเพลิง การเก็บรักษาวัตถุไวไฟ การกาจัด

ของเสียที่ติดไฟง่าย การป้องกันฟ้าผ่า การติดต้ังระบบสัญญาณแจ้งแหตุเพลิงไหม้ การจัดทาทางหนีไฟ
รวมถึงการก่อสร้างอาคารท่ีมีระบบป้องกันอัคคีภัย
2. จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ทั้งในด้านการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ป้องกันอัคคีภัยการ
ดับเพลิง การอพยพหนีไฟ การบรรเทาทุกข์ และการปฏิรูปฟื้นฟูเม่ือเกิดอัคคีภัยขึ้นแล้ว
3. จัดให้มีช่องทางผ่านสู่ทางออกตามมาตรฐานที่กฎหมายกาหนด
4. สาหรับบริเวณท่ีมีเคร่ืองจักรติดตั้งอยู่ หรือมีกองวัตถุส่ิงของ หรือผนัง หรือส่ิงอื่นนั้นต้องจัดให้มีช่องทางผ่าน
สู่ทางออก ซ่ึงมีความกว้างตามมาตรฐานกฎหมายกาหนด
5. จัดให้มีทางออกทุกส่วนงาน อย่างน้อยสองทางท่ีสามารถอพยพนักเรียนและบุคลากรท้ังหมดออกจากบริเวณ
ท่ีทางาน โดยออกสู่ทางออกสุดท้ายได้ภายในเวลาไม่เกินห้านาทีอย่างปลอดภัย
6. ทางออกสุดท้าย ซ่ึงเป็นทางที่ไปสู่บริเวณท่ีปลอดภัย เช่น ถนน สนาม จุดร่วมพล
7. ประตูที่ใช้ในเส้นทางหนีไฟได้ติดตั้งในจุดท่ีเห็นชัดเจนโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
8. ประตูที่ใช้ในเส้นทางหนีไฟเป็นชนิดที่เปิดเข้า ออกได้ท้ังนี้ชนิดหนึ่งด้านและสองด้าน
9. ประตูท่ีใช้ในเส้นทางหนีไฟเป็นประตูที่เปิดออกภายนอก โดยไม่มีการผูกปิดหรือล่ามโซ่ในขณะปฏิบัติงาน
10. จัดวัตถุที่เม่ือรวมกันแล้วจะเกิดการลุกไหม้ โดยแยกเก็บมิให้มีการปะปนกัน
11. จัดให้มีเส้นทางหนีไฟท่ีปราศจากจุดท่ีนักเรียนและบุคลากรทางาน ในแต่ละหน่วยงานไปสู่สถานที่ปลอดภัย
12. จัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงแบบมือถือ และระบบน้าดับเพลิงพร้อมอุปกรณ์ประกอบ
13. จัดเตรียมน้าสารองไว้ใช้ในการดับเพลิง
14. ข้อต่อสายส่งนา้ ดับเพลิงเข้าอาคาร และภายในอาคารเป็นแบบเดียวกัน หรือขนาดเท่ากันกับท่ีใช้ในหน่วย
ดับเพลิงของทางราชการ

5

15. จัดให้มีเคร่ืองดับเพลิงแบบมือถือท่ีใช้สารเคมีเพลิงชนิดคาร์บอนไดออกไซด์ หรือฮารอน หรือผงเคมีแห้ง
หรือสารเคมีดับเพลิงท่ีสามารถดับเพลิงประเภท เอ บี ซี และ ดี

16. มีการซ่องบารุง และตรวจตราให้มีสารเคมีที่ใช้ในการดับเพลิงตามปริมาตรที่กาหนดตามชนิดของเคร่ือง
ดับเพลิงแบบมือถือ

17. จัดให้มีการตรวจสอบสภาพของเคร่ืองดับเพลิงไม่น้อยกว่าหกเดือนต่อหน่ึงครั้ง

18. จัดให้มีการตรวจสอบการติดตั้งให้อยู่ในสภาพท่ีดีอยู่เสมอ

19. จัดติดต้ังอุปกรณ์ดับเพลิงในท่ีเห็นได้ชัดเจน และสามารถหยิบใช้งานได้สะดวกโดยไม่มีส่ิงกีดขวาง

20. ให้มีการดูแลรักษาอุปกรณ์ดับเพลิง และการตรวจสอบให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดีอย่างน้อยเดือนละหนึ่งคร้ัง
หรือตามระยะเวลาท่ีผู้ผลิตอุปกรณ์น้ันกาหนด

21. จัดให้นักเรียนและบุคลากรเข้ารับการฝึกอบรมการดับเพลิงข้ันต้นจากหน่วยงานที่ทางราชการกาหนดหรือ
ยอมรับ

22. จัดให้บุคลากรที่ทาหน้าที่ดับเพลิงโดยเฉพาะอยู่ตลอดเวลาท่ีมีการทางาน

23. การป้องกันอัคคีภัยจากการทางานที่เกิดการเสียดสีเสียดทานของเคร่ืองจักรเคร่ืองมือที่เกิดประกายไฟหรือ
ความร้อนสูงท่ีอาจทาให้เกิดการลุกไหม้ เช่น การซ่อมบารุง หรือหยุดพักการใช้งาน

24. มีการจัดแยกเก็บวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดรวมตลอดถึงวัตถุท่ีเม่ืออยู่รวมกันแล้วจะเกิดปฏิกิริยา หรือ ทาให้
กลายเป็นวัตถุไฟ หรือ วัตถุระเบิดมิให้ปะปนกัน ปิดกุญแจทุกคร้ังเม่ือไม่มีการปฏิบัติงานในห้องน้ีแล้ว

25. วัตถุที่ไวต่อการทาปฏิกิริยาแล้วเกิดการลุกได้น้ัน ได้มีการจัดแยกเก็บไว้ต่างหาก โดยอยู่ห่างจากอาคารและ
วัตถุติดไฟในระยะที่ปลอดภัย

26. ควบคุมมิให้เกิดการร่ัวไหลหรือการระเหยของวัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิดท่ีจะเป็นสาเหตุให้เกิดการติดไฟ

27. มีการจัดทาป้าย “ห้ามสูบบุหร่ี” บริเวณห้องเก็บวัตถุไวไฟ

28. จัดให้มีการกาจัดของเสียโดยการเผาในเตาที่ออกแบบสาหรับการเผาโดยเฉพาะ ในท่ีโล่งแจ้ง โดยห่างจากที่
นักเรียนและบุคลากรทางานในระยะท่ีปลอดภัย

29. จัดให้มีสายล่อฟ้า เพื่อป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า

30. จัดให้มีระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ชนิดเปล่งเสียง ให้นักเรียนและบุคลากรที่ทางานอยู่ภายในอาคารได้
ยินทั่วถึง

31. มีการทดสอบประสิทธิภาพในการทางานของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อย่างน้อยเดือนละหนึ่งคร้ัง

32. จัดให้มีกลุ่มนักเรียนและบุคลากรเพ่ือทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย และมีผู้อานวยการ
ป้องกันและระงับอัคคีภัยเป็นผู้อานวยการในการดาเนินงานทั้งระบบประจาอยู่ตลอดเวลา

33. จัดให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยเข้ารับการฝึกอบรมเก่ียวกับการป้องกันและระงับ
อัคคีภัย การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาล และการช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน

34. จัดให้มีการฝึกซ้อมอพยพนักเรียนและบุคลากรออกจากอาคารไปตามเส้นทางหนีไฟ

35. จัดให้มีการฝึกซ้อมดับเพลิง และฝึกซ้อมหนีไฟอย่างน้อยปีละหน่ึงครั้ง

6

แผนป้องกันอัคคีภัย

อุบัติเหตุต่าง ๆ สามารถเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา โดยท่ีบางคร้ังเราอาจไม่ทันรู้ตัวซ่ึงอาจเกิดจากธรรมชาติ
หรือเกิดจากการกระทาที่มีมูลเหตุจากความประมาท ดังในกรณีของอัคคีภัยน้ันสามารถเกิดข้ึนได้ตลอดเวลา
และหากไม่ได้รับการดูแล ตรวจตราเอาใจใส่ให้ความสาคัญ โดยเฉพาะโรงเรียนเฉพาะความพิการ ท่ีมีนักเรียน
อยู่ประจา 24 ช่ัวโมง ซ่ึงอาจเกิดความเส่ียงของอุบัติภัยได้

ดังน้ัน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยขึ้นท้ังชีวิตและทรัพย์สินทั้งหมดที่มีอยู่ จึงควรจัดทาแผนป้องกันอัคคีภัย
ข้ึน
หน้าท่ีของผู้รับผิดชอบในสถานประกอบการในการป้องกันอัคคีภัย

1. ฝ่ายบริหาร
2. นักเรียนและบุคลากรทุกคน
3. เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
4. ยาม

ฝ่ายบริหาร
1.1 การจัดผังโรงเรียน ระบบ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้คานึงถึงการเกิดอัคคีภัย
1.2 กาหนดพื้นท่ี ควบคุมกระบวนการผลิต เคร่ืองมือ เครื่องจักรท่ีอาจเกิดอัคคีภัย

1.3 กาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานให้ปลอดภัยจากอัคคีภัย
1.4 ควบคุมการใช้ไฟ การก่อเกิดไฟ เปลวไฟ ประกายไฟ ไฟฟ้า ความร้อนไฟฟ้าสถิตย์ หรือวิธีการ

ทางานอื่นใดท่ีทาให้เกิดอัคคีภัย เช่น การเช่ือม การตัด การขัด ท่อร้อนต่าง ๆ ตลอดจนการขน
ย้าย ขนส่ง เคล่ือนย้ายสารไวไฟ

ผู้อนุญาตให้มีการทางานดังกล่าวต้องเป็นผู้อานวยการ หัวหน้างาน หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย
1.5 มอบหมายให้มีคณะกรรมการความปลอดภัยและเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยกาหนดแผน และการ

ดาเนินการป้องกันและระงับอัคคีภัย เช่น การฝึกอบรม การตรวจสอบ และการปรับปรุงของ
งาน เป็นต้น
1.6 ติดตามตรวจสอบกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย

1.7 วางแผนระยะยาวเก่ียวกับการป้องกันอัคคีภัย เช่น ในเรื่องการติดตั้งระบบตรวจสอบสารไวไฟ
หรือควันไฟ ระบบสัญญาณเตือนภัย ระบบดับเพลิงอัตโนมัติในจุดท่ีมีสารไวไฟหรือสารติดไฟได้
ง่าย

1.8 กาหนดระเบียบและการควบคุมผู้รับเหมาหรือบุคคลภายนอกที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการก่อเกิดไฟ
ต่าง ๆ

2. หน้าที่ของนักเรียนและบุคลากรเกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย
2.1 นักเรียนและบุคลากรทุกคนต้องปฏิบัติตามกฎแห่งความปลอดภัยในการทางานดังน้ี

7

1) ห้ามก่อไฟในบริเวณที่หวงห้ามหรือในบริเวณโรงงานก่อนได้รับอนุญาตจากผู้มีหน้าท่ี
รับผิดชอบ

2) ห้ามสูบบุหร่ีในบริเวณท่ีมีป้าย “อันตรายจากสารไวไฟหรือวัตถุระเบิด” หรือ “บริเวณท่ี
ห้ามสูบบุหร่ี” นอกจากสถานท่ีจัดไว้เท่าน้ัน

3) ห้ามทาการซ่อมแซมเคร่ืองจักรเคร่ืองมือในบริเวณท่ีมีสารไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้ง่ายโดย
พละการก่อนท่ีช่างซ่อมและเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยจะร่วมกันจาทาใบแจ้งซ่อมตาม
ข้ันตอนและวิธีการท่ีกาหนด

2.2 การควบคุมพื้นท่ีท่ีมีสารไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้ง่าย

การนาไฟมาใช้หรือก่อให้เกิดไฟในพ้ืนท่ีใด ๆ ต้องห่างจากบริเวณท่ีมีสารไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้
ง่ายอย่างน้อยในรัศมี 10 เมตร กรณีท่ีไม่อาจทาให้ต้องทาการป้องกันสารไวไฟหรือวัสดุติดไฟ
ได้ง่ายอย่างปลอดภัยภายใต้การควบคุมของเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย

2.3 การป้องกันสถานที่ทางานและวิธีการท่ีเล่ียงไฟ

1) การป้องกันการร่ัวไหลของเช้ือเพลิงและสารไวไฟต่าง ๆ

- นักเรียนและบุคลากรที่พบเห็นภาชนะท่ีใส่สารไวไฟหรือเช้ือเพลิงต่าง ๆ อยู่ในสภาพท่ี
ชารุด หรือ อาจเกิดการร่ัวไหล ให้รีบรายงานผู้มีหน้าที่รับผิดชอบและกรณีที่พบว่าการรั่วไหล
น้ันอาจก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงหากไม่แก้ไขให้รีบทาการแก้ไขและ/หรือรายงานผู้มีหน้าที่
รับผิดชอบแก้ไขทันที

2) การกาจัดขยะหรือเศษวัสดุที่ติดไฟได้ง่าย

- ขยะหรือเศษวัสดุที่ติดไฟได้ง่าย นักเรียนและบุคลากรจะต้องเก็บรวบรวมไว้ในภาชนะที่ไม่ติด
ไฟได้ง่ายและห้ามนาออกจากบริเวณท่ีทางานไปเก็บไว้ในสถานที่ปลอดภัยอย่างน้อยวันละ 1
ครั้งต่อกะ

3) เสื้อผ้าท่ีเปียกเป้ือนด้วยสารไวไฟ

- เส้ือผ้าท่ีเปียกเป้ือนด้วยสารไวไฟ นักเรียนและบุคลากรจะต้องเปล่ียนเส้ือผ้าน้ันทันที

4) การป้องกันอัคคีภัยจากยานพาหนะ

- บุคลากรท่ีใช้ยานพาหนะขนถ่ายส่ิงของในบริเวณท่ีมีสารไวไฟ ถังแก๊สจะต้องระมัดระวังการ
ชน การกระแทก หรือการก่อให้เกิดอัคคีภัย

5) การป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า

- สายไฟ หลอดไฟ สวิทช์มอเตอร์ไฟฟ้า พัดลม เคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีใช้ไฟฟ้าที่มี หรือใช้อยู่ใน
บริเวณสารไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้ง่าย จะต้องตรวจตราเป็นประจา ในเร่ืองสภาพท่ีชารุด การต่อ
ไฟ ปล๊ักไฟ การต่อสายดิน หรือกรณีอื่นใดที่อาจเป็น สาเหตุของอัคคีภัย

7) การป้องกันอัคคีภัยจากการเช่ือมโลหะ

ก. อุปกรณ์การเช่ือม สายไฟและข้อต่อท่ีหลอมหรือชารุด ต้องทาการแก้ไชให้อยู่ในสภาพที่
ปลอดภัย

8

ข. ทาการตรวจสอบการร่ัวไหลของข้อต่อและวาล์วเป็นประจา ถ้าพบว่ามีการร่ัวไหลของแก๊ส
จากถังแก๊สให้หยุดการทางานท่ีใช้ไฟในบริเวณน้ัน และรีบทา การป้องกันแก้ไขโดยเร็ว
ค. ถังแก๊สและถังน้ามันเชื้อเพลิงต้องวางไว้ห่างจากเปลวไฟประกายไฟ ความร้อน ท่อร้อยต่าง
ๆ หรือส่วนของเคร่ืองมือเคร่ืองจักรท่ีอาจก่อให้เกิดความร้อนได้ในระยะ 7 เมตร
ง. สายไฟ สายแก๊ส ขณะทาการตัดเชื่อมต้องไม่กีดขวางการทางานหรือตรงบริเวณท่ีอาจ
เหยียบทับของคนหรือยานพาหนะ
จ. ห้ามท้ิงหรือปล่อยหัวเช่ือมไว้โดยไม่ดับไฟหรือปิดเคร่ือง
ฉ. การเช่ือมต้องระวังเปลวไฟ สะเก็ดไฟที่จะถูกลมพัดปลิวไปตกอยู่ในบริเวณท่ีมีสารไวไฟหรือ
วัสดุติดไฟได้ง่าย หรือเป็นอันตรายต่อนักเรียนและบุคลากรข้างเคียง
8) การเคลื่อนย้ายขนส่งสารไวไฟโดยนักเรียนและบุคลากร
ก. การเคล่ือนย้ายขนส่งสารไวไฟห้ามผ่านหรือให้หลีกเล่ียงเส้นทางท่ีมีการทางานแล้วเกิด
ประกายไฟ เปลวไฟ ท่อร้อย สะเก็ดโลหะ ฯลฯ
ข. การขนส่งสารไวไฟให้ระมัดระวังการตกหรือหกเร่ียราดบนพื้นท่ีทางาน
ค. ให้ใช้วิธีการขน-ยกที่ปลอดภัย
ง. ภาชนะท่ีบรรจุสารไวไฟท่ีไม่จาเป็นต้องเปิดฝาให้ปิดฝาให้มิดชิด
จ. ให้ระมัดระวังการเรียงต้ังที่อาจเกิดการตกหล่นหรือล้มลงมาได้

3. หน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย
3.1 กาหนดเขตพื้นท่ีเส่ียงต่อการเกิดเพลิงไหม้
3.2 ตรวจสอบสถานท่ีล่อแหลมต่อการเกิดอัคคีภัยเป็นประจา
3.3 กาหนดรายละเอียดของแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ตลอดจนจัดให้มีการอบรมและฝึก
ปฏิบัติเป็นระยะ ๆ
3.4 จัดหา ซ่อมบารุง และตรวจสอบเคร่ืองดับเพลิงและอุปกรณ์ดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่
พร้อมต่อการใช้งานได้ตลอดเวลา
3.5 ควบคุมการทางานของผู้รับเหมาหรือบุคคลภายนอกในเร่ืองท่ีเกี่ยวกับอัคคีภัย
3.6 ออกใบอนุญาตการทางานในพ้ืนท่ีควบคุมอัคคีภัย

4. หน้าท่ียาม
4.1 ตรวจตราไม่ให้บุคคลภายนอกหรือผู้รับส่งสินค้าเข้าไปบริเวณควบคุม หรือสถานที่เสี่ยงต่อ
การเกิดเพลิงไหม้
4.2 ระมัดระวังการก่อวินาศภัยบริเวณเก็บวัตถุระเบิดหรือบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้
4.3 เม่ือพบเห็นส่ิงท่ีอาจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ให้รีบรายงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง

9

แผนผังข้ันตอนการปฏิบัติงาน

กอ่ นเขา้ ช้ันเรยี น (07.30 น.)

ครเู วรตรวจพ้นื ทีต่ ามจุดท่ีกาหนด

ครเู วรเขียนรายงานตรวจพืน้ ที่

กรณมี เี รือ่ งแจง้ กรณไี ม่มีแจ้ง

หวั หน้างานรักษาความ งานรกั ษาความปลอดภยั
ปลอดภัยและงาน รวบรวมเอกสาร ขอ้ มลู
สถานท่ดี าเนนิ การ
ตรวจสอบ งานรกั ษาความปลอดภยั
รายงานประจาวัน
สัง่ การไม่แก้ไข
นารายงานผู้อานวยการ
ส่ังการแกไ้ ข โรงเรียน

เจ้าหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ เพือ่ ทราบ/รว่ มวางแผน
เขา้ ดาเนนิ การ

รายงานผล

แผนระง
ลาดับข้ันตอนการปฏิบัติเม่ือนักเร

ถ้าดบั ได้ ให้ ให้รายงาน
ดาเนนิ การ ผบู้ งั คับบญั ชา
ดบั เพลงิ ตามลาดับข้ัน

ทนั ที

คร/ู นักเรียน ที่ เจ้าหนา้ ทต่ี ัดสินใจว่า
พบเหตเุ พลิง ดับเพลงิ ไดด้ ว้ ยตนเอง

ไหม้ หรือไม่

ถ้าดับไมไ่ ด้ ใหบ้ อกเพื่อน รายงาน
รว่ มงาน
หรือหวั หนา้

10

งับอัคคีภัย หัวหน้าฝ่าย
รียนและบุคลากรพบเหตุเพลิงไหม้ หรือ

เจา้ หนา้ ทคี่ วาม ผรู้ บั ผิดชอบ
ปลอดภัยใน
การทางาน

แจง้

หวั หนา้ งาน รายงาน หัวหนา้ ฝา่ ย รายงาน ผู้อานวยการ

ถ้าดบั ได้ หวั หน้าฝา่ ย รายงาน ผ้อู านวยการ
ใหร้ ายงาน

- ใชแ้ ผนปฏบิ ัติการ ถ้าดับไม่ได้ ผ้อู านวยการ
ระงบั เหตุเพลงิ ไหม้ รายงาน ตัดสนิ ใจใช้
ข้นั ต้น แผนปฏบิ ัตกิ ารเม่ือ
เกิดเหตเุ พลงิ ไหม้ขนั้
- แจง้ ประชาสมั พันธ์
- แจง้ เจ้าหนา้ ท่ีความ รนุ แรง

ปลอดภัยในการ
ทางาน

การกาหนดตัวบุคคลและห

หวั หน้าชุด
นายสญั ชยั

ผู้รับผิดชอบ พนักงานควบคมุ เครือ่ งจกั รหรือ
ปฏบิ ัติการอื่นในขณะเกดิ เพลิง

ไหม้

1. นายเรวตั ิ หมโู่ ยธา
2. นายประมวล เกตแุ ก้ว
3. นายอุทัย รัตนพนั ธ์

11

หน้าท่ีเพ่ือระงับเหตุเพลิงไหม้ขั้นต้น

ดดบั เพลิงข้นั ตน้
ย ทองสารไตร

พนักงานผจญเพลิง

ผู้รับผิดชอบ 1. นายอรรถพล ชิตรัตถา
2 นายอทุ ัย รตั นพนั ธ์
3. ว่าท่ี ร.ต.อนนั ต์ วัดนครใหญ่

โครงสร้างหน่วยงานป้องกันระงับอัค

ผอู้ านวยการดับเพลิง

นายนพรตั น์ มะโนอ่มิ

ฝ่ายไฟฟา้ ฝ่ายปฏบิ ตั กิ าร ฝ่ายสอ่ื สารและประสานงาน
อนนั ต์ นายสมโภชน์
นายสญั ชยั

พนักงาน หน่วยดับเพลิง หน่วยจดั หาและ หน่วย
ควบคมุ เครือ่ ง สนับสนุนการดบั เพลงิ นางส
นายสทิ ธชิ ัย
นายประมวล นายศลิ ป์

ชว่ ยชวี ติ ยานพาหนะ พยา

นายณฐั พล นายสรุ ศกั ด์ิ เพ็ญ

นางสาวธัญ ประกอบ สไุ ร

สมร

หมายเหตุ 1. การปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการเต็มรูปแบบน้ีจะใช้เมื่อเกิดเพลิงไหม้อ

2. การเกิดเพลิงไหม้ภายในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพียงเล็กน้อย ให้หัวหน้าแผนก

โทรศัพท์แจ้งศูนย์ รวมข่าว และสื่อสาร หรือผู้อานวยการดับเพลิง ห

12

คคีภัยเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ข้ันรุนแรง

ฝา่ ยเคลอ่ื นทยี่ า้ ยภายใน-ภายนอก ฝา่ ยส่งเสรมิ ปฏบิ ตั กิ าร
นายอทุ ัย นายนริ ุต

ยสนับสนนุ หน่วยยามรกั ษาการณ์ หน่วยเดนิ เครื่อง หน่วยดบั เพลงิ
สบู น้าฉกุ เฉิน จากพ้ืนที่อน่ื
สาวเกศนี นายประมวล
นายสุรศักดิ์ นายอรรถพล

าบาล ศนู ย์รวมข่าวและสอื่ สาร

ญนภา วารณุ ี
รด๊ะ ณิชาพัชร์

อย่างรุนแรง
กดาเนินการส่ังการดับเพลิงตามแผนการปฏิบัติการเมื่อเกิดเพลิงไหม้ข้ันต้น และ
หรือเจ้าหน้าที่ความปลอดภั

13

หน้าท่ีของผู้ปฏิบัติงานตามโครงสร้าง

ผู้ปฏิบัติงาน หน้าท่ีรับผิดชอบ

หน่วยจัดหาและสนับสนุนในการดับเพลิง ให้เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยคอยช่วยเหลือดังนี้
- ผู้ประสานงาน 1. คอยช่วยเหลือประสานงานระหว่างผู้อานวยการ
ดับเพลิง ยามรักษาการณ์ และผู้เกี่ยวข้อง
2. คอยรับ-ส่งคาส่ังจากผู้อานวยการดับเพลิงในการ
ติดต่อศูนย์ข่าว
3. สั่งการแทนผู้อานวยการดับเพลิง ในกรณีที่
ผู้อานวยการดับเพลิงมอบหมาย

- ยามรักษาการณ์ 1. ให้รีบไปยังจุดเกิดเหตุ คอยรับคาสั่งจาก
ฝ่ายเคล่ือนย้ายภายในภายนอก ผู้อานวยการดับเพลิงและหัวหน้าฝ่ายประสานงาน

2. ป้องกันมิให้บุคคลภายนอกท่ีไม่มีหน้าที่เก่ียวข้องเข้า
ก่อนได้รับอนุญาต

3. ควบคุมป้องกันทรัพย์สินที่ฝ่ายเคล่ือนย้ายนามาเก็บ
ไว้

1. ให้รับผิดชอบในการกาหนดจุดปลอดภัยอัคคีภัยใน
การเก็บวัสดุครุภัณฑ์

2. อานวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายขนส่งวัสดุ
ครุภัณฑ์

3. จัดยานพาหนะและอุปกรณ์ขนย้าย

ฝ่ายปฏิบัติการ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการให้ถือปฏิบัติดังน้ี
1. เม่ือเกิดเพลิงไหม้ในพ้ืนท่ีให้หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ

แยกชุดปฏิบัติการออกเป็น 2 ชุด คือ ชุดควบคุม
เคร่ืองจักรและชุดดับเพลิง
1.1ชุดควบคุมเคร่ืองจักร

เม่ือเกิดเพลิงไหม้ในพื้นท่ีใด ให้ชุดควบคุม
เคร่ืองจักรทาการควบคุม เคร่ืองจักรให้ทางาน
ต่อไปจนกว่าจะได้รับคาส่ังให้หยุดเคร่ืองจาก
หัวหน้า ฝ่ายปฏิบัติการกรณีท่ีไม่สามารถ
เดินเครื่องหรือได้รับคาส่ังให้หยุดเคร่ือง ให้ชุด
ควบคุมเคร่ืองจักรไปช่วยทาการดับเพลิง
1.21.2ชุดดับเพลิง
เม่ือเกิดเพลิงไหม้ในพ้ืนท่ีตัวเองไม่ว่ามากหรือน้อย
ชุดปฏิบัติการชุดน้ีจะแยกตัวออกจากการควบคุม
เครื่องจักรออกทาการดับเพลิงโดยทันทีที่เกิด

ผู้ปฏิบัติงาน 14

ฝ่ายส่งเสริมปฏิบัติการ หน้าท่ีรับผิดชอบ
- หน่วยติดต่อดับเพลิงจากพ้ืนที่อ่ืน เพลิงไหม้โดยไม่ต้องหยุดเคร่ืองและให้
ปฏิบัติการภายใต้คาส่ังของหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการใน
- หน่วยเดินเคร่ืองสูบนา้ ฉุกเฉิน พื้นที่ในการปฏิบัติการหากจาเป็น ขอความช่วยเหลือ
จากหน่วยอื่นให้หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการส่ังดาเนินการ
2. ทันทีท่ีทราบเหตุเพลิงไหม้ในพื้นที่ของตัวเอง ให้แจ้ง
ข่าวโทรศัพท์ถึงเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ถึง
ผู้อานวยการดับเพลิง และโทรศัพท์แจ้งศูนย์รวม
ข่าว

ให้ปฏิบัติดังน้ี
1. ให้แจ้งสัญญาณ SAFETY ORDER SYSTEM(SOS)
2. นักเรียนและบุคลากรท่ีทราบเหตุเพลิงไหม้และ

ต้องการเข้ามาช่วยเหลือดับเพลิง ให้รายงานตัวต่อ
ผู้อานวยการดับเพลิงเพื่อทาการแบ่งเป็นชุด
ช่วยเหลือส่งเสริมการปฏิบัติงาน
3. สาหรับการเกิดอัคคีภัยในบริเวณเคร่ืองจักร ชุด
ดับเพลิงควรมาจากชุดดับเพลิงในสถานท่ีนั้น ผู้ท่ีมา
ช่วยเหลือควรช่วยเหลือในการลาเลียงอุปกรณ์
ดับเพลิง
4. คอยรับคาสั่งจากผู้อานวยการดับเพลิง ให้คอยอยู่
บริเวณท่ีเกิดเพลิงไหม้

ให้ปฏิบัติดังนี้
1. ให้เดินเครื่องสูบนา้ ดับเพลิงทันทีท่ีได้รับแจ้งเหตุ

เพลิงไหม้
2. ทาการควบคุมดูแลเคร่ืองสูบนา้ ดับเพลิงขณะท่ีเกิด

เพลิงไหม้
3. ในเวลาปกติให้ตรวจสอบเคร่ืองมือ, อุปกรณ์ใช้งาน

ตามรายการตรวจเช็ค

15

ผู้รับผิดชอบในตาแหน่งต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการ

ตาแหน่ง เวลาปกติ (วันธรรมดา) นอกเวลาปกติ (วันธรรมดา) วันหยุด

1. ผู้อานวยการดับเพลิง 08.00-17.00 น. 17.00-08.00 น. 08.00-24.00-08.00
2. หัวหน้าฝ่ายไฟฟ้า
- ผู้อานวยการปฏิบัติการ - ครูเวรกลางคืน - ครูเวรกลางวัน/ครูเวร

หรือผู้ได้รับมอบหมาย -หัวหน้าหอนอน กลางคืน

- หัวหน้างานไฟฟ้า - หัวหน้าหอนอน

3. หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ - หัวหน้าฝ่ายหรือ ผู้ได้รับ - ยาม - ยาม
-หัวหน้าหอนอน
- หน่วยคุมเคร่ืองจักร มอบหมาย -หัวหน้าหอนอน

4. หัวหน้าฝ่ายส่ือสารและ - ผู้จัดการฝ่ายบุคคลหรือ - ทีมปฐมพยาบาล - ทีมปฐมพยาบาล
ประสานงาน ผู้รับมอบหมาย - นักเรียนและบุคลากรขับ - นักเรียนและบุคลากรขับ
- หน่วยสนับสนุน รถพยาบาล รถพยาบาล
- พยาบาลประจาโรงเรียน - หัวหน้ายามรักษาการณ์
- พยาบาล - บุคลากรขับรถพยาบาล - นายเวรประจาวันหยุด
- เจ้าหน้าที่ยานพาหนะ - จากหน่วยธุรการ/ซ่อม - นายเวรประจาวันหยุด
- เจ้าหน้าที่ศูนย์รวมข่าว - ธุรการรับโทรศัพท์ บารุง
และส่ือสาร - เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย - หัวหน้างานหอนอน - งานซ่อมบารุง
- หน่วยจัดหาและสนับสนุน - ผู้ประสานงานยาม - หัวหน้างานหอนอน
การดับเพลิง รักษาการณ์ ผู้กดสัญญาณแจ้งแหตุ
- ผู้ประสานงาน ผู้กดสัญญาณแจ้งแหตุ
- ผู้จ่ายอุปกรณ์ดับเพลิง - หัวหน้าฝ่ายแผนกธุรการ
- ผู้ส่ือข่าวผ่านศูนย์รวมข่าว หรือผู้ได้รับมอบหมาย
และส่ือสาร
- หน่วยยามรักษาการณ์ - ผู้จัดการฝ่าย
- จากหน่วยธุรการ/ซ่อม
5. หัวหน้าฝ่ายเคล่ือนย้าย บารุง
ภายใน - ผู้กดสัญญาณแจ้งแห้ง
จาก SOS
- ภายนอก

6. หัวหน้าฝ่ายส่งเสริม
ปฏิบัติการ
- หน่วยเดินการเคร่ือง
สูบนา้ ฉุกเฉิน
- หน่วยติดต่อดับเพลิง
จากพื้นท่ีอื่น
- ใช้ Safety Order
System (SOS)

16

แผนอพยพหนีไฟ

แผนอพยพหนีไฟน้ันกาหนดขึ้นเพ่ือความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของนักเรียนและ
บุคลากรและ ของสถานประกอบการในขณะเกิดเหตุเพลิงไหม้

แผนอพยพหนีไฟที่กาหนดขึ้นนั้น มีองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น หน่วยตรวจสอบจานวนนักเรียน
และ บุคลากร, ผู้นาทางหนีไฟ, จุดนัดพบ, หน่วยช่วยชีวิต และยานพาหนะ ฯลฯ ควรได้กาหนดผู้รับผิดชอบ
อย่าง ชัดเจน โดยข้ึนตรงต่อผู้อานวยการอพยพหนีไฟหรือผู้อานวยการดับเพลิง ดังน้ี

- นางแสงเดือน ตรีนนั ทวนั ผู้อานวยการอพยพหนีไฟ

- นางสาวยพุ เยาว์ คนซอ่ื ผู้ช่วยผู้อานวยการอพยพหนีไฟ

โดยกาหนดให้

1. นางเกศนิ ี ศรีสงคราม ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ รับผิดชอบการตรวจสอบจานวน
นักเรียนและบุคลากร

มีหน้าที่ ตรวจนับจานวนนักเรียนและบุคลากรว่า มีการอพยพหนีไฟออกมาภายนอกบริเวณท่ีปลอดภัย
ครบทุกคนหรือไม่

2. นางณฐั นนั ท์ ทวภี ัชธรี ารมย์ ตาแหน่งครูผู้ช่วย รับผิดชอบการนาทางหนีไฟ

มีหน้าที่ เป็นผู้นาทางนักเรียนและบุคลากรอพยพหนีไฟไปตามทางออกท่ีจัดไว้

3. นางสาวสุวริ ชา พกั ดี ตาแหน่งครู รับผิดชอบจุดนัดพบหรือจุดรวมพล

มีหน้าที่ จัดเตรียมสถานท่ีที่ปลอดภัย ซ่ึงนักเรียนและบุคลากรสามารถที่จะมารายงานตัวและทาการ
ตรวจสอบนับจานวนได้ หากพบว่านักเรียนและบุคลากรอพยพไฟหนีออกมาไม่ครบตามจานวนจริง ซ่ึง
หมายถึงมีนักเรียนและบุคลากรติดอยู่ในพื้นที่ท่ีเกิดอัคคีภัย

4. นางสาวธัญสมร นามบุตร ตาแหน่งพนักงานราชการ รับผิดชอบหน่วยช่วยชีวิตและ
ยานพาหนะ

มีหน้าท่ี เข้าค้นหาและทาการช่วยชีวิตนักเรียนและบุคลากรท่ียังติดค้างอยู่ในอาคารหรือในพ้ืนท่ีที่ได้เกิด
อัคคีภัย รวมถึงกรณีของนักเรียนและบุคลากรที่ออกมาอยู่ที่จุดรวมพลแล้วมีอาการเป็นลม ช็อค หมดสติ
หรือบาดเจ็บ เป็นต้น หน่วยช่วยชีวิตและยานพาหนะจะทาการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น และติดต่อหน่วย
ยานพาหนะให้ในกรณีที่พยาบาลหรือแพทย์พิจารณาแล้วต้องนาส่งโรงพยาบาล

17

แผนอพยพหนีไฟ

ผู้อานวยการ หรอื ผ้ชู ่วยผอู้ านวยการ
ดบั เพลงิ สง่ั ใช้แผนอพยพหนไี ปยัง

Reception
Reception ประกาศพรอ้ มกดสญั ญาณ

เตือนภยั ยาว 3 ครัง้

ผนู้ าทางจะถอื สญั ญาณธงสี
แดงนาพนักงานออกจาก
พ้ืนทปี่ ฏบิ ัตงิ านตามชอ่ งทาง

ที่กาหนด
ผนู้ าทางนาพนักงานไปยังจุดรวมพล

รบี นาผู้ปว่ ยหรือผ้บู าดเจ็บ ผนู้ าทาง & ผู้ตรวจสอบ
สง่ หนว่ ยพยาบาลหรือ ยอดทาการตรวจสอบ
สถานพยาบาลใกลเ้ คียง
ยอด

ผู้ตรวจสอบยอดแจ้งยอดต่อผอู้ านวยการ
หรอื ผูช้ ่วยผอู้ านวยการดบั เพลิง ณ จดุ รวม

พล

จานวนครบ จานวนไมค่ รบ

ผอู้ านวยการหรอื ผู้ชว่ ยผู้อานวยการ ผอู้ านวยการ หรือผู้ชว่ ย
ดบั เพลิงแจ้งให้พนักงานอย่ใู นจดุ รวมพล ผู้อานวยการดับเพลงิ ส่ังการ

จนกว่าเหตุการณส์ งบ หนว่ ยชว่ ยชวี ิตคน้ หา

หน่วยช่วยชวี ติ ค้นหาและ
รายงานผลให้ผอู้ านวยการหรือ

ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการทราบ

18

แผนบรรเทาทุกข์

แผนบรรเทาทุกข์ หลังการเกิดเหตุ

1. การประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ
2. การสารวจความเสียหาย
3. การรายงานตัวของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย และกาหนดจุดนัดพบของบุคลากรเพื่อรอรับคาส่ัง
4. การช่วยชีวิตและขุดค้นหาผู้เสียชีวิต
5. การเคล่ือนย้ายผู้ประสบภัย ทรัพย์สินของผู้เสียชีวิต
6. การประเมินความเสียหาย ผลการปฏิบัติงานและรายงานสถานการณ์เพลิงไหม้
7. การช่วยเหลือสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
8. การปรับปรุงแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเพื่อให้ธุรกิจสามารถดาเนินการได้โดยเร็วท่ีสุด

ผู้ปฏิบัติการในแผนบรรเทาทุกข์ กาหนดให้มีหน้าที่รับผิดชอบของ

หน้าท่ีรับผิดชอบ 1. นางสาวยพุ เยาว์ ผู้ปฏิบัติ รองผูอ้ านวยการ
2. นางสาวธญั สมร พนักงานราชการ
1. การประสานงานกับหน่วยงานของรัฐ คนซ่อื
นามบตุ ร

2. การสารวจความเสียหาย 1. นายนิรุต เพ็ชรกาแหง รองผู้อานวยการ
2. นายสมโภชน์ มีสติ ครูผู้ช่วย

3. การรายงานตัวของเจ้าหน้าท่ีทุกฝ่ายและ 1. นายศิลป์ พรมแม้น รองผู้อานวยการ
ครู
กาหนดจุดนัดพบของบุคลากร 2. นางสาวณิชาพัชร์ แสงสวี

4. การช่วยชีวิตและค้นหาผู้ประสบภัย 1. นางเกศินี ศรสี งคราม ครูชานาญการพิเศษ
2. นางณฐั นนั ท์ ทวภี ชั ธีรารมย์ ครผู ู้ชว่ ย

5. การเคล่ือนย้ายผู้ประสบภัย ทรัพย์สินและ 1. นายอทุ ยั รตั นพันธ์ ครู
ชูแสงศรี ครู
ผู้เสียชีวิต 2. นายอนุวัตร

6. การประเมินความเสียหาย ผลการ 1. นายนิรุต เพ็ชรกาแหง รองผู้อานวยการ
ปฏิบัติงาน และการรายงานสถานการณ์ 2. นายสมโภชน์ มสี ติ ครผู ชู้ ่วย
เพลิงไหม

7. การช่วยเหลือ สงเคราะห์ผู้ประสบภัย 1. นายณฐั พล อุ่นแก้ว ครผู ู้ช่วย
พนักงานราชการ
2.นางสาวเพญ็ นภา อาษาพันธ์

หน้าท่ีรับผิดชอบ 1. นายนพรตั น์ ผูป้ ฏบิ ตั ิ 19
ผู้อานวยการ
8. การปรับปรุงแก้ไขปัญหาเพ่ือการพัฒนา มะโนอิ่ม รองผู้อานวยการ
2. นายศิลป์ รองผู้อานวยการ
3. นางแสงเดอื น พรมแมน้ รองผอู้ านวยการ
4. นางสาวยุพเยาว์ ตรนี นั ทวนั รองผอู้ านวยการ
5. นายนริ ุต คนซื่อ
เพ็ชรกาแหง

แผนปฏิรูป

แผนปฏิรูป ได้แก่การนารายงานผลการประเมินจากทุกด้าน จากสถานการณ์จริงมาปรับปรุงแก้ไข โดยเฉพาะ
แผนการป้องกันอัคคีภัย (ก่อนเกิดเหตุ) แผนปฏิบัติเม่ือเกิดเหตุเพลิงไหม้ แผนบรรเทาทุกข์ (ทันทีที่เพลิงสงบ) รวมท้ัง
การปรับปรุงแก้ไขตัวบุคลากรต่าง ๆ ที่บกพร่อง

วางแผนการปฏิรุปและพัฒนาผ่านโครงการต่างๆ ได้แก่
1. โครงการประชาสัมพันธ์ สาเหตุการเกิดอัคคีภัยและแนวทางป้องกันในรูปแบบต่าง ๆ
2. โครงการการรณรงค์เกี่ยวกับการป้องกันอัคคีภัย
3. โครงการปรับปรุงซ่อมแซมและสรรหาส่ิงที่สูญเสียให้กลับคืนสภาพปกติ
4. โครงการจัดทาหลักสูตรการฝึกอบรม เร่ือง การดับเพลิงข้ันต้น