ค่า ปรับ แจ้งออก ต่างด้าว เกิน 15 วัน

เลือกหัวข้อ

  • ก่อนจ้างต่างด้าว นายจ้างต้องตรวจสอบเอกสาร 4 อย่างนี้
  • การจ้างแรงงานต่างด้าว ค่าแรง และ สวัสดิการต้อง ไม่น้องกว่ากฎหมายกำหนด อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ
  • นายจ้างไม่สามารถยึดเอกสารลูกจ้าง มีความผิดดังต่อไปนี้
  • จ้างแรงงานต่างด้าว ไม่มีใบอนุญาตได้รับโทษอะไรบ้าง
  • แรงงานต่างด้าวต้องรายงานตัวทุก 90 วัน
  • ต่อใบอนุญาต ทำงานต้อง ตรวจสุขภาพ 6โรค ดังต่อไปนี้
  • ห้ามนายจ้าง/สถานประกอบการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าวในทุกกรณี
  • จ้างลูกจ้าง มติ 29 ธค 2563 ต้องมีเอกสารอะไรบ้าง
  • นายจ้างที่ยื่น มติ 28 กย 2564 แล้ว ต้องทำ4สิ่งนี้หลังขึ้นทะเบียน
  • นายจ้างที่มีแรงงานต่างด้าวที่อยู่ประเทศต้นทาง สามารถนำเข้าแรงงานต่างด้าว MOU แล้ว เริ่ม วันที่ 1 ธค 2564 โดยต่างด้าวต้องทำ 4 ข้อนี้

ก่อนจ้างแรงงานต่างด้าวนายจ้างควรรู้10สิ่งนี้เพื่อที่จะ จ้างแรงงานต่างด้าวให้ถูกกฎหมาย และไม่ให้เสียผลประโยชน์ของนายจ้างและลูกจ้าง 

  1. ก่อนจ้างต่างด้าว นายจ้างต้องตรวจสอบเอกสาร 4 อย่างนี้

  • พาสปอร์ต ที่ยังไม่หมดอายุ
  • วีซ่าต้องไม่ขาด
  • ใบอุณญาติทำงาน ต้องมีอายุอยู่
  • ใบแจ้งออกที่ยังมีอายุอยู่
  • หมายเหตุการแจ้งออก (ลดพนักงาน)
  • ตรวจสอบว่านายจ้างอยู่จังหวัดเดียวกันกับนายจ้างใหม่หรือไม่ (ยังไม่สามารถแจ้งเข้าต่างด้าว ข้ามจังหวัด)
  1. การจ้างแรงงานต่างด้าว ค่าแรง และ สวัสดิการต้อง ไม่น้องกว่ากฎหมายกำหนด อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ

  2. นายจ้างไม่สามารถยึดเอกสารลูกจ้าง มีความผิดดังต่อไปนี้

  • มีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน
  • ปรับ 10,000 – 100,000
  • หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
  • กรณีแรงงานต่างด้าว ยินยอม สามารถทำได้ ไม่ผิดกฎหมาย แต่ถ้าพนักงานต้องเอกสารเมื่อไร นายจ้างต้องคือเอกสารสำคัญ คือให้กับลูกจ้างทันที  ความผิดตามมาตรา 10 ของพ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานพ.ศ.2541

ข่าวที่เกี่ยวข้อง กระทรวงแรงงานห้ามนายจ้างยึดพาสปอร์ต ลูกจ้างต่างด้าว

  1. จ้างแรงงานต่างด้าว ไม่มีใบอนุญาตได้รับโทษอะไรบ้าง

นายจ้าง มีโทษปรับ 10,000 – 100,000 บาท / ต่างด้าว 1 คน หากทำผิดซ้ำมีโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับ 50,000 – 200,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และห้ามจ้างแรงงานต่างด้าวทำงานเป็นเวลา 3 ปี

ลูกจ้าง โทษปรับ 5,000 – 50,000 บาท / ต่างด้าว 1 คน และจะถูกส่งออกนอกราชอาณาจักร นอกจากนี้แรงงานต่างด้าวห้ามขออนุญาตทำงานภายใน 2 ปีนับตั้งแต่วันที่ได้รับโทษ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง บังคับใช้แล้ว ‘พระราชกำหนดแรงงานต่างด้าว’ โทษหนักเอาผิด’นายจ้าง’ ปรับสูงสุด 8 แสน

  1. แรงงานต่างด้าวต้องรายงานตัวทุก 90 วัน

แรงงานต้องแจ้งที่พักอาศัยต่อพนักงานตรวจคนเข้าเมืองโดยสามารถแจ้งที่พักอาศัยได้ก่อน 15 วัน หรือหลัง 7 วันนับจากวันครบกำหนด หากเกินกำหนดการแจ้งที่พักอาศัยจะถูกดำเนินการเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 2,000 บาท

  1. ต่อใบอนุญาต ทำงานต้อง ตรวจสุขภาพ 6โรค ดังต่อไปนี้

  • โรคเรื้อน
  • วัณโรคในระยะอันตราย
  • เท้าช้าง
  • พิษสุราเรื้อรัง
  • ซิฟิลิสในระยะที่ 3
  • ติดยาเสพติด

(หมายเหตุ ต้องซื้อประกันโควิด 4เดือน)

  1. ห้ามนายจ้าง/สถานประกอบการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าวในทุกกรณี

ข่าวที่เกี่ยวข้อง ห้ามเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าวเข้า-ออกพื้นที่เสี่ยงโควิด-19 “ทุกกรณี”

  1. จ้างลูกจ้าง มติ 29 ธค 2563 ต้องมีเอกสารอะไรบ้าง

  • เอกสาร ตรวจอัตลักษณ์บุคคล
  • เอกสาร บต48
  • เอกสาร บต39
  • บัตรชมพู
  1. นายจ้างที่ยื่น มติ 28 กย 2564แล้ว ต้องทำ4สิ่งนี้หลังขึ้นทะเบียน

  • ตรวจสุขภาพต่างด้าวก่อนวันที่ 31-3-2565
  • ตรวจอัตลักษณ์บุคคล ก่อนวันที่ 31-3-2565
  • จัดทำพาสปอร์ต และ ตีวีซ่า ก่อน วันที่ 1-8-2565
  • ถ่ายบัตรชมพู ก่อนวันที่ 13-2-66
  1. นายจ้างที่มีแรงงานต่างด้าวที่อยู่ประเทศต้นทาง สามารถนำเข้าแรงงานต่างด้าว MOU แล้ว เริ่ม วันที่ 1 ธค 2564 โดยต่างด้าวต้องทำ 4 ข้อนี้

  • กักตัว 7วัน (ต้องฉีดวัดซีน แล้ว 2เข็ม)
  • ตรวจโควิด-19 (2ครั้ง)
  • ซื้อประกันสุขภาพโควิด 4 เดือน
  • หลังเข้ามาทำงานในประเทศไทย แล้วต้องยื่นขึ้นทะเบียนประกันสังคม

เรื่องที่เกี่ยวข้อง

Menu

  • หน้าแรก
  • ขึ้นทะเบียนแรงงานต่างด้าว มติ28กย 2564

บริษัท นําคนงานต่างด้าวมาทํางานในประเทศจุลลกะ จํากัด ใบอนุญาตเลขที่ นจ.0058/2560

ที่ตั้ง :  19/302 ซอยวิภาวดีรังสิต 60 แยก 18-1-4กรุงเทพมหานคร 10210

โทรศัพท์มือถือ :  065-161-9195, 064-789-4222

เงื่อนไขการเปลี่ยนนายจ้าง แรงงานต่างด้าว MOU (พม่า, กัมพูชา. ลาว )

การเปลี่ยนนายจ้าง สำหรับแรงงานต่างด้าว MOU 3 สัญชาติ(พม่า กัมพูชา ลาว)สามารถเปลี่ยนได้ใน 5 กรณีดังต่อไปนี้

1. นายจ้าง เลิกจ้างหรือเสียชีวิต

2. นายจ้างทำทารุณกรรมหรือทำร้ายลูกจ้าง

3. นายจ้างจ่ายเงินไม่ตรงกับสัญญาว่าจ้าง หรือไม่ปฏิบัติตาม สัญญาหรือกฎหมายคุ้มครองแรงงาน

4. นายจ้างล้มละลายหรือลดกำลังผลิต เนื่องจาก ไม่มีงาน ให้กับแรงงานต่างด้าว

5. สภาพการทำงานหรือสิ่งแวดล้อมในการทำงานที่ลูกทำลูกจ้างทำงานอาจจะมีอันตรายต่อร่างกายจิตใจสุขภาพอนามัยหรือชีวิตของลูกจ้า

โดยกาเปลี่ยนนายจ้างต้องมีเอกสารและดำเนินการ ดังนี้

1. ต้องมีใบแจ้งออกออกจากนายจ้างเดิม (ดําเนินการที่สํานักงานจัดหางานที่นายจ้างเดิม) ใบแจ้งออกมีอายุ 15 วัน

2. แจ้งเข้านายจ้างใหม่ต้องไป (ดำเนินการที่สำนักงานจัดหางานที่นายจ้างใหม่) และแจ้งเข้าภายใน 15 วัน

ข่าวดี!!! สําหรับต่างด้าวที่ใบแจ้งออกเกิน15วัน อ่านข้อมูลเพิ่มเติม

ข้อของมูลเพิ่มเติม

 

ค่า ปรับ แจ้งออก ต่างด้าว เกิน 15 วัน

ติดต่อ คุณทวี

ค่า ปรับ แจ้งออก ต่างด้าว เกิน 15 วัน

เอกสารในยื่นแจ้งคนต่างด้าวออกจากงาน

1. กรอกแบบแจ้งคนต่างด้าวออกจากงาน คลิกเพื่อ download แบบแจ้งออกคนต่างด้าว

2. สําเนาบัตรสีชมพู หรือ สําเนาใบอนุญาตทํางาน

3. สําเนาหนังสือเดินทาง (พาสปอร์ต ของคนงานต่างด้าว)

4. กรณีนิติบุคคล หนังสือรับรองไม่เกิน 3 เดือน สําเนาบัตรประชาชนนายจ้างเดิม ทะเบียนบ้าน

5. กรณีบุคคลธรรมดา สําเนาบัตรประชาชนนายจ้างเดิม ทะเบียนบ้าน

6. หนังสื่อมอบอํานาจให้คนไทยมาดําเนินการ กรณีนายจ้างเดิมไม่ดําเนินการ

เอกสารในยื่นแจ้งคนต่างด้าวเข้าทํางาน (เปลี่ยนนายจ้าง)

1. กรอกแบบแจ้งการจ้างคนต่างด้าว, กรอกแบบแจ้งการเข้าทํางานของคนต่างด้าว 

คลิกเพื่อ download แบบแจ้งเข้าคนต่างด้าว

คลิกเพื่อ download แบบแจ้งการจ้างคนต่างด้าว

กรอกแบบหนังสือรับรองรับผิดชอบค่าใช้จ่าย (กรณีนายจ้างเดิมไม่ได้แจ้งออก)

2. กรอกแบบหนังสือรับรองการจ้าง

3. สําเนาบัตรสีชมพู หรือ สําเนาใบอนุญาตทํางาน (พร้อมตัวจริง)

4. สําเนาหนังสือเดินทาง (พาสปอร์ต ของคนงานต่างด้าว) (พร้อมตัวจริง)

5. หนังสือมอบอํานาจจากคนต่างด้าว (กรณีคนต่างด้าวไม่ได้มาติดต่อ)

คลิกเพื่อ download ใบมอบอํานาจต่างด้าว

6. กรณีนิติบุคคล หนังสือรับรองไม่เกิน 3 เดือน สําเนาบัตรประชาชนนายจ้างเดิม ทะเบียนบ้าน

7. กรณีบุคคลธรรมดา สําเนาบัตรประชาชนนายจ้างเดิม ทะเบียนบ้าน

8. หนังสื่อมอบอํานาจให้คนไทยมาดําเนินการ กรณีนายจ้างเดิมไม่ดําเนินการ

คลิกเพื่อ download ใบมอบอํานาจนายจ้าง

ข้อของมูลเพิ่มเติม

 

ค่า ปรับ แจ้งออก ต่างด้าว เกิน 15 วัน

ติดต่อ คุณทวี

ค่า ปรับ แจ้งออก ต่างด้าว เกิน 15 วัน