แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525

นโยบายยุทธศาสตร์สำคัญ

ข้อมูล- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ฉบับย่อ (ภาษาไทย)- ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ฉบับย่อ (ภาษาอังกฤษ)- แผนแม่บทยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี- แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการต่างประเทศ- แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ.2561-2580) (5S 5มี)- แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 (ฉบับเต็ม)- แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ 4.0 (พ.ศ.2565 - 2565)- แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)- นโยบายรัฐบาลนโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา)นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวีวะ)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1   (พ.ศ.2504 - 2506)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2   (พ.ศ.2510 - 2514)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3   (พ.ศ.2515 - 2519)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 4   (พ.ศ.2520 - 2524)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5   (พ.ศ.2525 - 2529)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6   (พ.ศ.2530 - 2534)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7   (พ.ศ.2535 - 2539)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8   (พ.ศ.2540 - 2544)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9   (พ.ศ.2545 - 2549)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550 - 2554)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564)- แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 - 2570)- นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สป. (OG)- นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565- นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564- แผนการดำเนินการตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี สป. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 5 พ.ศ.2525-2529
แนวคิดและลักษณะของแผน


  • เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพ
  • เริ่มเปลี่ยนวิธีการวางแผนจากรายโครงการมาเป็นการจัดทำแผนงาน (Programming) โดย เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการพัฒนาชนบทและการ พัฒนาชายฝั่งทะเลด้านตะวันออก
  • การวางแผนยังมีลักษณะ Top Down แต่เริ่มมี การกระจายการวางแผนลงสู่ระดับภูมิภาคและพื้นท

แนวทางการพัฒนา

    ปรับแนวนโยบายการพัฒนาประเทศ "แนวใหม่"
    • ยึดพื้นที่เป็นหลักในการวางแผน กำหนดแผนงานและโครง การให้มีผลทางปฏิบัติทั้งภาครัฐและภาคเอกชน เช่น พื้นที่ เป้าหมายเพื่อพัฒนาชนบท พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก พื้น ที่เมืองหลัก ฯลฯ
    • เน้นการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ เป็นพิเศษโดยการเร่งระดมเงินออม, สร้างวินัยทางเศรษฐกิจ การเงิน และการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น ปรับ โครงสร้างการเกษตร ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมเพื่อการส่ง ออกและกระจายอุตสาหกรรมไปสู่ส่วนภูมิภาค, ปรับโครง สร้างการค้าต่างประเทศ และบริการ, ปรับโครงสร้างการผลิต และการใช้พลังงาน ฯลฯ
    • เน้นความสมดุลในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ
    • เน้นการแก้ปัญหาความยากจนในชนบทล้าหลัง กำหนดพื้นที่ เป้าหมาย 286 อำเภอและกิ่งอำเภอ
    • เน้นการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติเช่นมีระบบการบริหารการ พัฒนาชนบทแนวใหม่ประกาศใช้ พ.ศ. 2527
    • เน้นบทบาทและการระดมความร่วมมือจากภาคเอกชน

กระบวนการจัดทำแผน
และกรอบการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ

  • กระบวนการจัดทำแผนและกรอบการ นำแผนไปสู่การปฏิบัติ
    - ลักษณะเดียวกับแผนฯ 3
  • กรอบการนำแผนไปสู่การปฏิบัติ
    - ใช้มติคณะรัฐมนตรีเป็นเครื่องมือ ในการมอบหมายให้กระทรวง ทบวง กรม จัดทำแผนปฏิบัติการ ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนา

    - เน้นการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ ให้ได้ผลต่อประชาชนอย่าง จริงจัง โดยการปฏิรูประบบบริหารงาน
    พัฒนาของรัฐทั้งส่วนกลาง ส่วนภูมิ ภาค และท้องถิ่น ให้มีระบบการ ตัดสินใจ และสั่งการ และการติด ตามประเมินผลโดยจัดให้มีระเบียบ การบริหารการพัฒนาชนบท(กชป.) ซึ่งเป็นประกาศสำนักนายกฯ

    - แผนพัฒนาพื้นที่เฉพาะ เช่น พื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก จัดให้มี องค์กรรับผิดชอบแบบเบ็ดเสร็จ ตั้ง แต่การกำหนดนโยบาย การจัดทำ แผน การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล