แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผลกระทบ

                  ����Ѳ�ҷ��Թ ��Ѳ�ҿ�鹿����͹��ѡ���Ѿ�ҡôԹ ��������繰ҹ��ü�Ե�ת����ʹ��� ��蹤� �������׹ ����ռš�ô��Թ�ҹ����Ӥѭ ���� ��èѴ�Ӣ����ŷ�Ѿ�ҡ÷��Թ ��ҹ��èѴ��ࢵ�������Թ��л����Թ�ż�Ե�ת���ɰ�Ԩ��Ѵ��ࢵ�������Թ 24 ��Դ�ת �Ѵ��Ἱ�Ѳ�ҷ�Ѿ�ҡ÷��Թ�дѺ�Ӻ� 7,125 �Ӻ� �ç��èѴ��Ἱ����Ҿ������������ԧ�Ţ �ҵ����ǹ 1:4,000 ����ҵ����ǹ 1:25,000 ������ç��èѴ��Ἱ������͡�ú����÷�Ѿ�ҡø����ҵ���з�Ѿ���Թ�ͧ��з�ǧ�ɵ�����ˡó� ��ҹ෤��������ʹ����С��������� ��ҹ���͹��ѡ��Թ��й�� �ҹ�Ѳ�� ���觹�� ��ṡ�� 4 ������ ������� �ҹ�Ѳ�����觹�Ӣ�Ҵ��� ��Ѻ��ا��鹷����ШѴ���к��觹������� ��Ѻ��ا���觹�Ӹ����ҵ����������觼�Ե����� �ҹ�Ѳ�� ���觹������� ��Ҵ 1,260 ź.�. ���óç�����������û�١˭��ὡ���͡��͹��ѡ��Թ��й�� ��ҹ��û�Ѻ��ا�س�Ҿ�Թ ��鹷��Թ������Թ�����ѵ�ص�� ��鹷��Թ������/�Թ�ô ��鹷��Թ��� ��鹷��Թ������-�Թ����Ҥ�� ��þѲ�Ҿ�鹷�����ɵ��ѹ���ͧ�Ҩҡ����Ҫ���� �Ѳ����ʹԹ���һ�ШӵӺ�/�����ҹ

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 139 ตอนพิเศษ 258 ง ได้เผยแพร่ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) โดยเนื้อหาระบุว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศว่าโดยที่คณะรัฐมนตรีได้พิจารณาเห็นสมควรให้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) ซึ่งเป็นแผนพัฒนา ฯ ที่ภาคีทุกภาคส่วนในสังคมไทยทุกระดับได้มีส่วนร่วมดำเนินการ เพื่อใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ดังมีสาระสำคัญตามที่แนบท้ายนี้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 - 2570) ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2570 ประกาศ ณ วันที่ 24 ตุลาคม พุทธศักราช 2565 เป็นปีที่ 7 ในรัชกาลปัจจุบัน

ทั้งนี้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 เป็นแผนระดับที่ 2 ที่แปลงยุทธศาสตร์ชาติไปสู่การปฏิบัติและกำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปีข้างหน้า ตั้งแต่ปี 2566-2570 ได้กำหนดทิศทางการพัฒนาบนพื้นฐานของหลักการแนวคิดที่สำคัญ 4 ประการ ได้แก่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิด Resilience เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) และโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy) เพื่อมุ่งสู่วัตถุประสงค์หลักของแผนพัฒนาฯ คือการ "พลิกโฉม” ประเทศไทย สู่ "สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน” โดยมีเป้าหมายหลัก 5 ประการ คือ (1) การปรับโครงสร้างสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม (2) การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่ (3) มุ่งสู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม (4) เปลี่ยนผ่านการผลิตและการบริโภคไปสู่ความยั่งยืน และ (5) สร้างความสามารถในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยงเพิ่มขึ้น

สำหรับหมุดหมายการพัฒนาประเทศ แผนฯ 13 กำหนดไว้ 13 หมุดหมาย ครอบคลุม 4 มิติการพัฒนา ได้แก่

1. มิติภาคการผลิตและบริการเป้าหมาย ประกอบด้วย 6 หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนำ ด้านสินค้าเกษตร และเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สำคัญของโลก หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 5 ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุน และยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สำคัญของภูมิภาค และหมุดหมายที่ 6 ไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและอุตสาหกรรมดิจิทัลของอาเซียน

2. มิติโอกาสและความเสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม ประกอบด้วย 3 หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ 7 ไทยมี SMEs ที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้ หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน หมุดหมายที่ 9 ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลง และมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม

3. มิติความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 2 หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ และ หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

4. มิติปัจจัยผลักดันการพลิกโฉมประเทศ ประกอบด้วย 2 หมุดหมาย ได้แก่ หมุดหมายที่ 12 ไทยมีกำลังคนสมรรถนะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต หมุดหมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน

สำหรับผู้สนใจ สามารถดาวน์โหลดแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ได้ที่เว็บไซต์ https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=13150

ข้อใดเป็นจุดประสงค์สำคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

วัตถุประสงค์ 1. ระดมทรัพยากรของประเทศมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจให้ได้ผลถึงมือประชาชนโดยทั่วกัน 2. ส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งความเป็นธรรมของสังคม เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพของระบบสังคม 3. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และทางการเงิน การคลังของประเทศ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คืออะไร

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคือ การกำหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เพื่อให้ประชาชนมีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนทุกขั้นตอนอย่างเป็นระบบ ความเป็นมาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติมีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจอย่างไร

วัตถุประสงค์ของการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ กระจายความเจริญไปสู่ท้องถิ่นอย่างทั่วถึง กระจายรายได้สู่ประชาชนอย่างยุติธรรม การจ้างงานเพิ่มอัตราสูง ปัญหาการว่างงานลดน้อยลง การมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ มีดุลการค้าและดุลการชำระเงินที่อยู่ในสภาวะเกินดุลหรือขาดดุลน้อยลง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 3 เน้นอะไร

แผนพัฒนาฉบับนี้มีเป้าหมายส าคัญ คือ เพิ่มผลผลิตประชาชาติในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 7.0 ต่อปี ในระยะของแผนพัฒนาฉบับที่ 3 รายได้ต่อบุคคลจะเพิ่มในอัตราร้อยละ 4.5 ในปี 2519 ซึ่ง สูงกว่าอัตราเพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 4.0 ในระยะของแผนพัฒนาฉบับที่ 2.