การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การกำหนดปัญหางานวิจัย คืออะไร

การกำหนดปัญหางานวิจัย คือ การพิจารณาถึงปัญหาหรือหัวข้อที่เราสนใจต้องการจะศึกษา ว่าหัวข้อนั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องอะไร ต้องการทดสอบหรือหาคำตอบเรื่องอะไร เพื่อเป็นการระบุชื่อเรื่องงานวิจัยให้ชัดเจน และเข้าใจตรงกันว่าจะศึกษาเรื่องใด ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอนที่มีความสำคัญที่สุดในกระบวนการวิจัย เพราะผู้วิจัยต้องกำหนดปัญหาของงานวิจัย ให้สามารถได้มาซึ่งคำตอบของสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาค้นคว้า ซึ่งการกำหนดปัญหาของงานวิจัยควรมีการศึกษาสิ่งต่าง ๆ ดังนี้

  • ศึกษาลักษณะและความเป็นมา ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเนื้อหาลักษณะของความเป็นมาของเรื่องที่เป็นปัญหาในการวิจัย

  • ศึกษาโครงสร้างขององค์การที่กําหนดเป็นเรื่องการทําวิจัย บางครั้งจําเป็นต้อง ศึกษาโครงสร้างขององค์การที่ใช้กําหนดเป็นหัวเรื่องของการวิจัย ตัวอยาง เช่น การดําเนินงาน การบริหาร การเงิน เป็นต้น

  • ศึกษาเอกสารและกิจกรรมที่ เกี่ยวของกับหัวเรื่องที่วิจัย ทั้งนี้เพื่อให้ทราบว่า หัวข้อวิจัยนั้นเป็นปัญหาที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้กอ่นหน้านี้รวมทั้งปัญหาอื่นๆ ที่มีอยู่

  • ศึกษาและปรึกษากับผูที่มีความรูโดยเฉพาะผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้มีประสบการณในเรื่องที่จะศึกษาวิจัย

  • ศึกษากรอบและทฤษฎี ซึ่งจะทําใหผู้วิจัยสามารถเห็นความสัมพันธ์ระหว่างหัวเรื่อง ปัญหา ข้อมูล ลักษณะของปัญหา
     

โดยทั่วไปแล้วปัญหาของการวิจัยควรมีคุณสมบัติ ดังนี้

  1. จะต้องเป็นปัญหาที่ชัดเจนไม่คลุมเครือ ไม่กำกวม เข้าใจง่าย สามารถอ่านแล้วเข้าใจตรงกัน

  2. ปัญหาที่กำหนดต้องไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป

  3. ควรเป็นปัญหาที่มีความหมาย ง่ายต่อการศึกษาวิจัย

  4. จะต้องเหมาะสมกับเวลา ค่าใช้จ่าย และความรู้ความสามารถของผู้วิจัย

เกณฑ์การประเมินปัญหาการวิจัย

การเลือกปัญหาการวิจัยจะเหมาะสมหรือไม่ ควรที่นักวิจัยจะได้ประเมินหัวข้อปัญหาการวิจัยนั้นโดยอาศัยเกณฑ์ต่อไปนี้พิจารณา

1.ควรเป็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจซึ่งมีลักษณะ ดังนี้

1.1 มีความอยากรู้  อยากเห็นอยากทราบคำตอบโดยไม่มีอคติ

1.2 เป็นความสนใจที่เกิดจากแรงจูงใจภายนอกมากระตุ้น

1.3 เป็นปัญหาที่แสดงความคิดริเริ่มของผู้วิจัยเอง

2.ควรเป็นปัญหาที่มีคุณค่า ซึ่งมีลักษณะ ดังนี้  

2.1 ก่อให้เกิดความรู้  ความจริงใหม่ๆ ไม่ซ้ำซ้อนกับผู้อื่น

2.2. ก่อใหเกิดสติปัญญาและพัฒนาความคิด

2.3 นำไปแก้ไขปรับปรุงงานที่ทำอยู่ได้

3.ควรคานึงถึงความสามารถของผู้วิจัยในประเด็นต่อไปนี้  

3.1 มีความรู้  ความสามารถพอที่จะทำงานวิจัยเรื่องนั้น

3.2 มีเวลา กำลังงาน และกำลังทรัพย์พอที่จะทำได้สำเร็จ

3.3 สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างเที่ยงตรงและมีประสิทธิภาพ

4.ควรคำนึงถึงสิ่งที่จะเอื้ออำนวยให้การวิจัยสำเร็จได้แก่

4.1 มีแหล่งวิชาการที่จะค้นคว้าได้สะดวกและเพียงพอ

4.2 มีอุปกรณ์เครื่องมือ และเครื่องช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล

4.3 ได้รับความสนับสนุนและร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องด้วยดี

อ้างอิง

https://www.scribd.com/doc/23466202/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5-3-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2

http://e-book.ram.edu/e-book/t/TO405(51)/TO405-3.pdf

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
"โครงงาน" คือ การศึกษาค้นคว้า หรือ การทดลอง หรือ การทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ผู้ทำต้องการศึกษา ต้องการรู้ สงสัย หรือต้องการแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการที่เป็นวิทยาศาสตร์จนกระทั่งได้ข้อสรุป หรือ ผลลัพธ์ ซึ่งข้อสรุปหรือผลลัพธ์นี้อาจเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ก็ได้ เพราะโครงงานนั้นเกิดขึ้นจากการที่ผู้ทำไม่เคยรู้มาก่อน ดังนั้นหากผลลัพธ์จะออกมาโดยไม่ตรงกับจุดมุ่งหมายก็มิใช่ปัญหาของการทำโครงงานแต่อย่างใด
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
"โครงงานก็เปรียบเสมือนกับการทำงานวิจัยเล็กๆ" เนื่องจากโครงงานนั้นมีรูปแบบ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
ขั้นตอนและกระบวนการ ไม่ต่างไปจากงานวิจัยเลย แต่สิ่งที่ต่างออกไป คือ ผู้ทำยังอยู่ในช่วงวัยที่ความสามารถในการทำอาจยังไม่เทียบเท่ากับนักศึกษา นักวิชาการ หรือ นักวิจัย เพียงเท่านั้น อีกอย่างในการทำโครงงานนั้นก็จะไม่เข้มงวดในการทำเท่ากับการทำวิจัย

1.1 ประเภทของโครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
ประเภทของโครงงานนั้นได้ถูกแบ่งออกโดยใช้หลักเกณฑ์ 2 อย่างด้วยกัน คือ
1) หลักเกณฑ์ขอบเขตเนื้อหาของโครงงาน และ
2) หลักเกณฑ์วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน ซึ่งไม่ว่าจะเป็นโครงงานใดๆ ก็แล้วแต่ ก็จะอยู่ภายใต้หลักเกณฑ์ทั้ง 2 อย่างนี้ทั้งสิ้น อันเนื่องมาจากในโครงงานนั้นจะต้องมีทั้ง 2 อย่างนี้อยู่ด้วย กล่าวคือ การทำโครงงานต้องมีเนื้อหาที่จะทำ และ จะต้องมีวัตถุประสงค์ในการทำ ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับประเภทของโครงงานโดยละเอียดกันเลยดีกว่า ทั้งนี้ก็เพื่อให้สามารถทำโครงงานได้อย่างถูกต้อง

ประเภทของโครงงานตามขอบเขตของเนื้อหา
                ประเภทของโครงงานตามขอบเขตของเนื้อหานั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วย คือ
                 1. โครงงานตามสาระการเรียนรู้ คือ การทำโครงงานโดยดูจากขอบเขตของเนื้อหาสาระ เช่น โครงงานวิทยาศาสตร์, โครงงานคอมพิวเตอร์ และ โครงงานประวัติศาสตร์ เป็นต้น
                 2. โครงงานตามความสนใจ คือ การทำโครงงานในเรื่องที่ผู้ทำมีความสนใจ โดยไม่ต้องสนใจว่าโครงงานที่ทำนั้น จะอยู่ภายใต้ขอบเขตเนื้อหาใดๆ หรือไม่

ประเภทของโครงงานตามวัตถุประสงค์
ประเภทของโครงงานตามวัตถุประสงค์นั้นแบ่งออกเป็น 4 ประเภทด้วยกัน คือ
                 1. โครงงานที่เกี่ยวกับการสำรวจรวบรวมข้อมูล อาทิ การสำรวจฐานะทางการเงินของประชากรในจังหวัดกรุงเทพฯ, การสำรวจอาชีพของประชากรในจังหวัดใดจังหวัดหนึ่ง และ การสำรวจความคิดเห็นเรื่องใดเรื่องหนึ่งของประชากรในพื้นที่ เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการรู้ถึงสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สามารถทำได้ด้วยการสำรวจและรวบรวมข้อมูล ซึ่งโครงงานประเภทนี้มักจะใช้เครื่องมือในการทำโครงงาน คือ แบบสำรวจ, แบบสอบถาม, แบบสังเกต เป็นต้น
                  2. โครงงานที่เกี่ยวกับการทดลอง อาทิ การทดลองปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน, การทดลองปลูกผักไร้สารพิษ, แสงมีผลต่อการเจริญเติบโตของผัก เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มักเป็นโครงงานที่ต้องการทำการเปรียบเทียบความเหมือน ความต่าง หรือต้องการผลลัพธ์ในทางใดทางหนึ่ง ซึ่งเกิดขึ้นจากตัวแปรที่แตกต่างกัน
                  3. โครงงานที่เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์หรือการพัฒนา อาทิ การสร้างผลิตภัณฑ์จากกระดาษ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชในท้องถิ่น, การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร เป็นต้น โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ หรือพัฒนาสิ่งที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพหรือผลลัพธ์ที่ดีขึ้น
                  4. โครงงานที่เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการ อาทิ การเกษตรตามแนวทางทฤษฎีใหม่, การผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ และการผลิตเชื้อเพลิงจากพืชทางการเกษตร เป็นต้น โครงงานประเภทนี้มักเป็นโครงงานที่ทำกันเพื่อตรวจสอบทฤษฎีและหลักการว่าเป็นไปตามนั้นหรือไม่

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การพัฒนาโครงงานเป็นกิจกรรมที่เริ่มจากการศึกษาสิ่งที่นักเรียนสนใจ จากนั้นดำเนินการออกแบบ วางแผน ลงมือปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์ และเผยแพร่ผลงานนั้น ซึ่งนักเรียนจะเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในสิ่งที่สนใจอย่างถ่องแท้
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
แนวทางการพัฒนาโครงงาน ควรเริ่มจากการกำหนดปัญหา ซึ่งอาจเป็นปัญหาที่พบในชีวิตประจำวัน หรือปัญหาที่มีผู้แก้ไขไว้แล้ว แต่เราเห็นช่องทางที่จะพัฒนาให้ดีขึ้น หลังจากกำหนดปัญหาแล้ว เราต้องทำการศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหาที่ต้องการแก้ไข รวมทั้งศึกษาความรู้เพิ่มเติม แล้ววางแผนกำหนดกิจกรรมและการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ จากนั้นดำเนินการพัฒนาโครงงานตามแผนที่วางไว้ ซึ่งระหว่างการพัฒนา อาจต้องมีการปรับเปลี่ยนแผน เพื่อให้พัฒนาโครงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดที่กำหนดไว้ เมื่อพัฒนาโครงงานเสร็จแล้ว จึงทำการสรุปผลและเผยแพร่ผลงาน เพื่อเป็นประโยชน์แก้ผู้อื่นต่อไป โดยแนวทางการกำหนดปัญหามีดังนี้

1. ที่มาของปัญหา

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
1.1 ปัญหาในชีวิตประจำวัน เช่น การควบคุมค่าใช้จ่ายส่วนตัว หรือในครอบครัว เป็นต้น
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
1.2 ปัญหาในการเรียน หรือการทำงาน เช่น การลืมทำการบ้าน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
1.3 ปัญหาในระดับชุมชน หรือระดับประเทศ เช่น ปัญหานักท่องเที่ยวไม่รู้จักแหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
2. แหล่งจุดประกายความคิดในการพัฒนาโครงงาน อาทิ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
2.1 กิจกรรมในชีวิตประจำวัน การเรียน งานอดิเรก และงานที่รับผิดชอบ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
2.2 โทรทัศน์ รวมทั้งข่าวสารทางอินเตอร์เน็ต
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
2.3 หนังสือ วารสาร ภาพยนตร์ การ์ตูน เกม หรือสื่อต่างๆ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
2.4 การเข้าค่ายอบรม การร่วมอภิปราย
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
2.5 ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน หรือแหล่งท่องเที่ยว
3. องค์ประกอบเพื่อการตัดสินใจเลือกโครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.1 ความรู้ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด และประสบการณ์ของผู้ทำโครงงาน โดยพิจารณาได้จากคะแนนวัดผลความรู้หรือผลงานที่เคยปฏิบัติ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.2 ประโยชน์ของโครงงาน โดยโครงงานนั้นจะต้องสามารถนำภาระงาน ชิ้นงาน และกิจกรรมอิสระนั้นไปพัฒนาและใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.3 ความคิดสร้างสรรค์ โดยเป็นโครงงานที่ไม่มีผู้ใดทำไว้หรือเป็นการพัฒนาโครงงานที่มีผู้อื่นทำไว้แล้ว ซึ่งโครงการนั้นจะต้องมีความแปลกใหม่และทันสมัย
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.4 ระยะเวลา โดยผู้ทำโครงงานควรกำหนดวันสิ้นสุดโครงงานให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถประมาณระยะเวลาลงในตารางดำเนินการของโครงงานในแต่ละขั้นตอน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.5 ค่าใช้จ่าย โดยผู้ทำโครงงานจะต้องประเมินค่าใช้จ่ายทั้งหมด ยึดหลักความคุ้มค่า ในการทำโครงงานด้วยการเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้วมากกว่าการจัดหาใหม่
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.6 ความปลอดภัย โดยผู้ทำโครงงานควรเลือกทำโครงงานที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ทำโครงงาน สังคม และประเทศชาติ หากโครงงานนั้นมีความเสี่ยงที่อาจเกิดอันตราย ผู้ทำโครงงานควรประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การทำโครงงานคอมพิวเตอร์นั้นอยู่ในการดูแลและควบคุมของผู้เชี่ยวชาญ(Professional)
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.7 ค่านิยมและวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยผู้ทำโครงงานควรหลีกเลี่ยงการทำโครงงานที่ขัดต่อความเชื่อ วัฒนธรรม หรือประเพณีต่างๆของท้องถิ่น

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การพัฒนาโครงงานนั้น ควรที่จะต้องศึกษาถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน ว่าโครงงานนั้นแก้ปัญหาอะไร และหากแก้ปัญหาแล้ว ได้ประโยชน์อะไรกับใครบ้าง รวมทั้งแนวทางในการแก้ปัญหานั้นมีความแปลกใหม่ในเชิงทฤษฎีหรือเชิงเทคนิคใดบ้าง หลังจากนั้นควรระบุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงงานให้ชัดเจนว่าต้องการพัฒนาอะไร แก้ปัญหาในมุมใด และควรที่จะต้องกำหนดแนวทางและขอบเขตของโครงงานว่าจะแก้ปัญหาในส่วนใดบ้าง ใช้ความรู้และทรัพยากรใดบ้าง จากนั้นจึงประเมินระยะเวลาและงบประมาณของโครงงานว่า โครงงานดังกล่าวจะใช้ระยะเวลาและงบประมาณเท่าใด โดยมีรายละเอียดในขั้นตอนต่างๆ ดังนี้

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.1 การศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
คุณค่าของโครงงานที่เราจะพัฒนาขึ้นอยู่กับความสำคัญของปัญหานั้นๆ จึงต้องระบุให้ได้ว่าปัญหาที่จะแก้มีความสำคัญอย่างไร มีความรุนแรงแค่ไหน หากแก้ปัญหานั้นแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การระบุที่มาและความสำคัญควรเริ่มต้นจากการอธิบายปัญหาที่เกิดขึ้น โดยต้องระบุให้เห็นภาพว่ามีปัญหาเกิดขึ้นจริง ผลกระทบของปัญหามีความสำคัญและปัญหานั้นยังไม่ได้รับการแก้ไขหรือยังไม่ได้รับการแก้ไขที่ดีพอ ซึ่งหากเป็นปัญหาที่เข้าใจยาก เช่น ปัญหาเฉพาะทางแล้วควรที่จะอธิบายในส่วนนี้ให้ชัดเจน อาจมีการยกตัวอย่างหรือมีภาพประกอบเพื่อเพิ่มความเข้าใจทั้งนี้การระบุถึงความสำคัญ ความรุนแรงของปัญหา รวมทั้งการระบุแนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสมนั้น ควรมีการอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ เช่น การระบุถึงความสำคัญของปัญหาสังคมผู้สูงอายุ อาจอ้างอิงข้อมูลจำนวนผู้สูงอายุจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
หลังจากที่ได้ระบุที่มาและความสำคัญของปัญหาแล้ว ควรนำผลการศึกษาและวิเคราะห์การแก้ปัญหาด้วยวิธีอื่นๆ ที่มีอยู่ว่ามีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไร มาอธิบายโดยเน้นที่ข้อจำกัดของวิธีแก้ปัญหาเดิม เพื่อใช้เป็นเหตุผลสนับสนุนในการพัฒนาโครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
จากนั้นให้อธิบายถึงภาพรวมของโครงงานโดยระบุให้ชัดเจนว่า โครงงานนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อแก้ปัญหา ใด ด้วยวิธีใด และบรรยายวิธีการแก้ปัญหาที่เลือกใช้ ซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องหรือแนวทางที่มีการพัฒนามาแล้ว เพื่อให้เห็นภาพว่า โครงงานนี้จะสำเร็จออกมาในรูปแบบใดมีการต่อยอดหรือลดข้อจำกัดของวิธีการเดิมอย่างไร
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
เรื่องที่ควรระบุคือผลกระทบที่จะเกิดขึ้น หลังจากที่พัฒนาโครงงานสำเร็จแล้ว ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบต่อตนเอง สังคม หรือจะเป็นคุณค่าในเชิงวิชาการอย่างไร
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.2 การระบุวัตถุประสงค์ของโครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
ในข้อนี้เป็นการระบุว่าโครงงานนี้จะทำอะไร ผลลัพธ์ที่ได้คืออะไร เช่น โปรแกรม ขั้นตอนวิธี หรือองค์ความรู้ใหม่ ในการระบุวัตถุประสงค์ควรเริ่มต้นประโยคที่ระบุสิ่งที่จะทำให้ชัดเจน เช่น “เพื่อศึกษาความเป็นไปได้” “เพื่อสร้างต้นแบบในการ............”
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การเขียนวัตถุประสงค์นั้นต้องคำนึงไว้เสมอว่าวัตถุประสงค์แต่ละข้อต้องวัดผลได้ ไม่ว่าจะเป็นการวัดผลในด้านประสิทธิภาพจากการทดลอง หรือแบบสำรวจ เช่น ยากันยุงที่จัดทำขึ้นนี้บรรจุได้กี่ถุง ถุง ถุงละกี่กรัม และใช้ได้กี่วัน ไม่ควรเขียนว่าใช้จนกลิ่นหมด ควรหลีกเลี่ยงคำคุณศัพท์ที่ไม่สามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.3 การระบุแนวทางและขอบเขตของโครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การพัฒนาโครงงานที่ดีนั้น ควรกำหนดขอบเขตสิ่งที่จะทำหรือไม่ทำให้ชัดเจน เพราะแม้ว่าจะเป็นปัญหาเดียวกัน โครงงานที่พัฒนาแต่ละโครงงาน  อาจจะแก้ปัญหาจากคนละด้าน โดยการระบุขอบเขตโครงงานในส่วนที่ต้องทำ สามารถระบุได้ไม่ยากนัก แต่ส่วนที่อยู่นอกเหนือขอบเขตของโครงงานมีจำนวนมาก จึงต้องระบุให้ชัดเจนเพื่อให้คนทั่วไปเข้าใจได้ ซึ่งการเขียนส่วนนี้ต้องอาศัยประสบการณ์หรือผู้มีความเชี่ยวชาญมาช่วยตรวจทาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การเขียนแนวทางและขอบเขตของโครงงานนี้ ควรเริ่มจากการอธิบายภาพรวมของโครงงาน อาจใช้สตรอรี่บอร์ดอธิบายถึงขั้นตอนการทำงานของระบบ รวมทั้งอาจใช้ภาพ แผนผัง แบบจำลองหรือโปรแกรมอื่นๆ มาช่วยอธิบายให้เห็นขั้นตอนการทำงานของโครงงานที่จะพัฒนา โดยในส่วนนี้ควรระบุถึงเทคนิคและเทคโนโลยีที่ใช้เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพรวมของระบบ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
หลังจากที่อธิบายการทำงานของระบบรวมถึงเทคนิค เทคโนโลยี และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาแล้ว ก็จะเป็นการระบุรายละเอียดการทำงาน ของโครงงานที่พัฒนา สำหรับโครงงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศนั้น อาจจะกำหนดรายละเอียดของงานหรือโปรแกรมที่จะพัฒนาว่าจะใช้และแสดงผลเป็นข้อมูลใดบ้าง หลังจากนั้นจะเป็นการอธิบายโครงสร้างระบบหรือแผนการดำเนินงาน โดยให้รายละเอียดของขอบเขตและข้อจำกัดของโครงงานที่จะพัฒนาอย่างชัดเจน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การระบุแนวทางและขอบเขตของโครงงานจะช่วยให้ทราบว่าการพัฒนาโครงงานนี้ ต้องศึกษาความรู้หรือเทคนิคใด รวมทั้งต้องจัดหาทรัพยากรใดเพิ่มเติมบ้าง เพื่อให้การพัฒนาโครงงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
3.4 ประเมินทรัพยากรที่ใช้ในโครงงาน

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การประเมินทรัพยากรที่ใช้ในโครงงานจะทำการประเมินทั้งงบประมาณและระยะเวลาของโครงงาน ซึ่งการประเมินงบประมาณการจัดหาทรัพยากรต่างๆ ทั้งในด้านซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ บุคลากร รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างทำส่วนประกอบหรือจัดเก็บข้อมูล ส่วนการประเมินระยะเวลาของโครงงานนั้น ทำได้โดยแบ่งโครงงานเป็นกิจกรรมย่อย ประเมินเวลาที่ต้องใช้ในแต่ละกิจกรรม แล้วจึงมาทำการวางแผนผังในการดำเนินกิจกรรม เพื่อประเมินระยะเวลาในภาพรวม
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน
เพื่อทำโครงงานสิ่งสำคัญที่ต้องระบุให้ได้ในรอบนี้คือ ปัญหาและมุมมองปัญหาที่โครงงานนี้จะดำเนินการแก้ไข ประโยชน์ของโครงงานและพัฒนาได้จริงในงบประมาณและเวลาที่เหมาะสม รวมทั้งโครงงานนี้มีแนวทางการแก้ปัญหาที่แปลกใหม่หรือเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่น่าสนใจในรอบสอง ข้อมูลเหล่านี้จะเป็นส่วนสำคัญในการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยเนื้อหาการเขียน จะเป็นข้อมูลที่ได้หลังจากการพัฒนาเสร็จ ว่าใช้งบประมาณและเวลาเท่าใดได้นำแนวทางใดไปแก้ปัญหา แล้วได้ผลลัพธ์ตามที่คาดการณ์ไว้หรือไม่ และได้แนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาหรือได้องค์ความรู้ใหม่ใดบ้าง

การ กํา หน ด ปัญหา โครงงาน