แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้

More Related Content

แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้

แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
แนวคิดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้

  1. 1. การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
  2. 2. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้   เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างเพียงพอ หลากหลาย ทั่วถึง ครอบคลุมประชากรทุกพื้นที่ ทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท ทุกระดับที่เป็นปัจจุบันและเป็นระบบเปิด รวมทั้งการจัดระบบเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนมีการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีอยู่ในสังคมให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่มีศักยภาพในการให้บริการการเรียนรู้ มีความพร้อมด้านปัจจัย อำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้
  3. 3. แหล่งการเรียนรู้ หมายถึง แหล่งข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณ์สนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้เรียนใฝ่เรียนใฝ่รู้แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวางและต่อเนื่องเพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นแนวคิดที่มุ่งเน้นการเรียนรู้ของผู้เรียน
  4. 4. ศูนย์เยาวชน เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ของคนเป็นอยู่ยิ่ง ซึ่งบุคคลสามารถแสวงหาความรู้อย่างเต็มที่ ไม่จำกัดรูปแบบตายตัว ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและชุมชนแต่ละแห่ง การบุกเบิกพรมแดนความรู้เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมออกสู่โลกกว้าง ซึ่งกิจกรรมแหล่งเรียนรู้ชุมชนโดยตรงนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ผ่อนคลายจากโรงเรียน นำไปสู่การมีส่วนร่วม การฝึกทักษะ ความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย  
  5. 5. <ul><ul><ul><li>- มีแหล่งเรียนรู้อย่างเพียงพอ หลากหลาย ทั่วถึง </li></ul></ul></ul><ul><ul><li>- มีระบบข้อมูล สารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ทุก ประเภท </li></ul></ul><ul><ul><ul><li>- มีการจัดระบบเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งการเรียนรู้ </li></ul></ul></ul><ul><ul><ul><li>- มีการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ ที่มีอยู่ในสังคม ให้เป็นแหล่ง การเรียนรู้ </li></ul></ul></ul>แหล่งการเรียนรู้
  6. 6. การจัดองค์ความรู้ <ul><ul><ul><li>พัฒนารูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายพัฒนาบุคคลองค์กร </li></ul></ul></ul><ul><ul><ul><li>ผู้ดำเนินงานในการจัด การความรู้ พัฒนากลไก กระบวนการถ่ายทอดความรู้การสร้างบรรยากาศเพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ </li></ul></ul></ul><ul><ul><ul><li>มีการบูรณาการใช้ความรู้เป็นฐานในการแก้ปัญหาและการพัฒนาที่เหมาะสมกับสภาพของชุมชน </li></ul></ul></ul>
  7. 7. <ul><ul><li>มีระบบการจัดหาและรวบรวมความรู้ </li></ul></ul><ul><ul><li>มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดเก็บและค้นคว้าองค์ความรู้ได้อย่างรวดเร็วมีการสร้างสรรองค์ความรู้ใหม่ๆที่สอดคล้องกับกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและบริบทของสังคมไทยมีการสร้างองค์ความรู้หรือเนื้อหาการเรียนรู้ที่สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพและความต้องการการเรียนรู้ของบุคคลกลุ่มหรือชุมชน </li></ul></ul>องค์ความรู้
  8. 8. พัฒนาแหล่งการเรียนรู้   เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้อย่างเพียงพอ หลากหลาย ทั่วถึง ครอบคลุมประชากรทุกพื้นที่ ทุกกลุ่มเป้าหมาย พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท ทุกระดับที่เป็นปัจจุบันและเป็นระบบเปิด รวมทั้งการจัดระบบเครือข่ายเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ตลอดจนมีการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ที่มีอยู่ในสังคมให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ที่มีศักยภาพในการให้บริการการเรียนรู้ มีความพร้อมด้านปัจจัย อำนวยความสะดวกต่อการเรียนรู้
  9. 9. 1. Learn to know เรียนเพื่อให้มีความรู้ และมีวิธีการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถนำความรู้ วิธีการเรียนรู้ที่ได้มาไปต่อยอด แสวงหา หรือผลิตสร้างความรู้ใหม่เพิ่มขึ้นได้เรื่อยๆ 2. Learn to do เรียนเพื่อที่จะทำเป็นหรือใช้ความรู้ไปประกอบอาชีพ และสร้างประโยชน์แก่สังคม 3. Learn to with the others เรียนเพื่อดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นๆ ในสังคมอย่างมีความสุข และสร้างสรรค์ 4. Learn to be เรียนเพื่อที่จะเป็นผู้ที่รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้ สามารถพัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ หรือพัฒนาตนให้เป็น &quot; มนุษย์ที่สมบูรณ์ แนวความคิดในการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้นี้ เริ่มจากการคิด เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายของการเรียน 4 ประการ คือ
  10. 10. การสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ นั้นสามารถสร้างได้หลายวิธี วิธีหนึ่งซึ่งเราสามารถทำได้ง่าย มีประโยชน์ต่อการเรียนการสอน มีประโยชน์ต่อผู้อื่น โดยนำผลงานการเรียนของเรา ซึ่งเน้นการปฏิบัติการสร้างชิ้นงาน สืบสานจากแนวคิด วิธีการ กระบวนการ สู่ผลผลิตจากการเรียนรู้ เขียน / รายงาน เผยแพร่สู่สาธารณะ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระทำตนให้มีจิตสาธารณะ
  11. 11. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้กับทุกคนในทุกสถานที่ ทุกเวลา   แหล่งเรียนรู้ของชุมชน มีมากมายทั้งเป็นองค์กรจัดตั้งสถาบันในชุมชน วิถีชีวิต การทำมาหากิน ประเพณี พิธีกรรมและสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติการเรียนรู้ที่ดีเกิดขึ้นจากการที่ทุกฝ่ายสร้างเครือข่ายของการเชื่อมโยง ประสบการณ์ เกิดสังคมการเรียนรู้ และสังคมคุณธรรม การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และธรรมชาติ เป็นกระบวนการที่มีความสุข สร้างสรรค์ความคิดและสังคมคุณธรรม
  12. 12. แหล่งการพัฒนาการเรียนรู้ไกล้ตัว
  13. 13. แหล่งการพัฒนาการเรียนรู้ไกล้ตัว
  14. 14. แหล่งการพัฒนาการเรียนรู้ไกล้ตัว
  15. 15. แหล่งการพัฒนาการเรียนรู้ไกล้ตัว