กษัตริย์ของพม่าในสงคราม 9 ทัพคือพระองค์ใด

การล่องเรือเพื่อชมวัดใต้น้ำหรือเมืองบาดาล เรียกได้ว่าเป็นไฮไลท์อีกหนึ่ง อย่างเมื่อมายังเมืองสังขละบุรี ไม่แพ้ไปกับการถ่ายรูปที่สะพานมอญเลยก็ว่าได้ เนื่องด้วยประวัติอันน่าสนใจ ของเมืองสังขละบุรีเกี่ยวกับวัดเก่าทั้ง 3 อันเป็นตัวแทน ของ 3 เชื้อชาติ ประกอบด้วย วัดวังก์วิเวการาม วัดของชาวมอญ, วัดศรีสุวรรณ วัดของชาวกระเหรี่ยง, และวัดสมเด็จ วัดของชาวไทย โดยในบรรดาวัดของทริป ล่องเรือนั้น มี 2 วัดที่จมอยู่ใต้น้ำหรือโผล่พ้นเหนือน้ำ นั่นก็คือวัดวังก์วิเวการามเก่า หรือวัดหลวงพ่ออุตตมะ และวัดศรีสุวรรณ ส่วนวัดสมเด็จเก่า จะประดิษฐานอยู่บน เนินเขา และสังเกตุได้ว่า วัดทั้ง 3 ทำมุมเป็น 3 เหลี่ยมครอบจุดบรรจบของแม่น้ำทั้ง สามสาย หรือที่เรียกว่า "สามประสบ" บริเวณเนินที่มีแม่น้ำสามสายมาบรรจบกัน คือ แม่น้ำบิคลี่ ซองกาเลีย และรันตี แม่น้ำที่หล่อเลี้ยงชีวิตชาวบ้านท้องถิ่นมาช้านาน

อ่านต่อ
    "สงครามเก้าทัพ" เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่างๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรมราชาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์อังวะแล้ว ต้องการประกาศแสนยานุภาพ เผยแผ่อิทธิพล โดยได้ทำสงครามรวบรวมเมืองเล็กเมืองน้อยรวมถึงเมืองประเทศราชให้เป็นปึกแผ่น แล้วก็ได้ยกกองกำลังเข้ามาตีไทย โดยมีจุดประสงค์ทำสงครามเพื่อทำลายกรุงรัตนโกสินทร์ให้พินาศย่อยยับเหมือนเช่นกรุงศรีอยุธยา

เริ่มที่สงคราม พ.ศ.2310 ที่จริงพม่าตั้งใจจะปล้นเอาผู้คน เสบียงอาหาร ทรัพย์สิน แถวๆเมืองเหนือของไทย เอาไปใช้เป็นกำลังตั้งท่ารบกับจีนเท่านั้น

พอเริ่มๆรุกเข้ามา ก็พบว่าไทยเราบ้อท่ามาก เจาะเอาเมือง เมืองไหนก็ง่ายๆ พม่าได้ใจ ใช้เวลาล้อมอยู่แค่ 1 ปี 2 เดือน รุกเข้ายึดกรุงศรีอยุธยาไปเฉยเลย

พ.ศ.2328 พม่ามาอีก พระเจ้าปดุงทำสงครามเก้าทัพ แต่ละทัพมาจากทุกทิศทุกทาง ดังต่อไปนี้

ทัพที่ 1 มีทั้งทัพบกทัพเรือ ทัพบกตีตั้งแต่เมืองชุมพรลงไปถึงสงขลา ทัพเรือตีหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันตก ตั้งแต่เมืองตะกั่วป่าลงไปถึงเมืองถลาง เมืองเหล่านี้มีหน้าที่หาเสบียงอาหารให้กองทัพ

ทัพที่ 2 เริ่มเดินทัพที่เมืองทวายเข้ามาทางด่านบ้องตี้ ตีเมืองราชบุรี เพชรบุรี ไปบรรจบกับทัพที่ 1 ที่ชุมพร

ทัพที่ 3 เข้าทางเชียงแสน ตีลำปาง สวรรคโลก สุโขทัย นครสวรรค์ ลงมาบรรจบที่กรุงเทพฯ

ทัพที่ 4 เริ่มที่เมาะตะมะ รุกเข้าไทยก่อน แล้วให้ทัพที่ 5-6-7-8 เดินทัพหนุนตามมาตามลำดับ ทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ลงมาตีกรุงเทพฯ ทัพที่ 9 ตีหัวเมืองเหนือริมฝั่งแม่น้ำปิง ตั้งแต่ตาก กำแพงเพชร ลงมากรุงเทพฯ

ฝ่ายไทย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ท่านได้บทเรียนคราวเสียกรุง ไม่ตั้งทัพรับที่เมืองหลวง จัดสี่กองทัพ แยกกันชิงบุกทัพพม่าก่อน

ทัพที่ 1 กรมพระราชวังบวรฯ รับผิดชอบด้านตะวันตก ยกทัพไทย ทัพใหญ่ที่สุดไปโจมตีพม่าที่ด่านพระเจดีย์สามองค์ วังหน้าทรงคาดว่าพระเจ้าปดุง แม่ทัพใหญ่พม่า จะคุมกองทัพหลวงมาด้วยพระองค์เอง

ทัพที่ 2 กรมพระราชวังหลัง รับผิดชอบทางเหนือ สกัดทัพพม่าที่นครสวรรค์ ทัพที่ 3 เจ้าพระยาธรรมา (บุญรอด) ร่วมกับเจ้าพระยายมราช โจมตีพม่าที่จะมาทางใต้และด่านบ้องตี้

ทัพที่ 4 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงเป็นแม่ทัพหลวง ตั้งมั่นอยู่กรุงเทพฯ มีหน้าที่เป็นทัพหนุน ศึกหนักด้านใดก็จะยกไปช่วยด้านนั้น

แม้ทัพไทยจะมีกำลังน้อยกว่า แต่มีผู้นำที่ดีมีความสามารถ ทหารไทยมีกำลังใจเข้มแข็งในการสู้รบ ทั้งยังมีประสบการณ์จากการ กู้ชาติครั้งพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงสามารถตีเก้าทัพพม่าแตกพ่ายไปในที่สุด

เหตุพม่าปราชัยในสงครามเก้าทัพ พระเจ้าปดุงอัปยศอดสูนัก วางแผนสงครามครั้งใหม่ ด้วยยุทธวิธีใหม่

พ.ศ.2329 พระเจ้าปดุง เป็นแม่ทัพใหญ่ยกมาทางด่านพระเจดีย์สามองค์ทางเดียว สร้างยุ้งฉางสะสมเสบียงอาหาร ตั้งค่ายถาวรเป็นระยะๆจากท่าดินแดงถึงสามสบ ขุดคูปักขวากแน่นหนา ชักปีกกาถึงกัน

แผนพระเจ้าปดุง พักบำรุงขวัญไพร่พลจนกล้าแข็งแล้ว ก็จะตรงเข้าตีกรุงเทพฯจุดเดียว

แต่ผิดคาดฝ่ายไทยไม่รั้งรอ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงเป็นแม่ทัพหลวง กรมพระราชวังบวรฯ เป็นแม่ทัพหน้า นำสองทัพพร้อมกันไปตีค่ายพม่า แตกพ่ายในเวลาเพียงสามวัน

จับเชลย ยึดยานพาหนะ เสบียงอาหาร ศัสตราวุธได้เป็นจำนวนมาก นับเป็นชัยชนะพม่าขั้นเบ็ดเสร็จเด็ดขาด

ผมอ่านประวัติศาสตร์สงครามไทยพม่า แล้วรู้สึกคึกมาก! ตะโกน ไชโย้ ไชโย อึงในใจ วีรกรรมกษัตริย์ไทย คงเป็นแบบอย่างให้ผู้นำไทยรุ่นต่อๆมา จนถึงรุ่นปัจจุบัน ได้ฮึกเหิม...ตามมองไปทั้งโลกมองรอบบ้านถึงเมืองเรา...รุนแรงกว่าครั้งสงครามเก้าทัพ ผมว่าผู้นำเราฉลาดและกล้าหาญพอ จะพาพวกเราเอาตัวรอดไปด้วยกัน

เสียอยุธยาครั้งที่สอง ไทยย้ายเมืองหลวงมาอยู่กรุงเทพฯ พ.ศ.2328 พระเจ้าปะดุง กษัตริย์พม่า ก็ยังย่ามใจ ใช้ยุทธวิธีเดิม จัดทัพเป็น 9 ทัพ

ทัพที่ 1 แบ่งเป็นทัพบกทัพเรือ ทัพบก ตีหัวเมืองปักษ์ใต้ ตั้งแต่ชุมพรไปถึงสงขลา ตัดการช่วยเหลือจากหัวเมืองปักษ์ใต้ ทัพเรือ ตีหัวเมืองชายทะเลฝั่งตะวันตก ตั้งแต่เมืองตะกั่วป่าลงไปถึงเมืองถลาง

ได้หัวเมืองแถวนี้ไว้ เท่ากับได้แหล่งเสบียงสำคัญเลี้ยงกองทัพพม่า

ทัพที่ 2 รวบรวมพลที่เมืองทวาย เดินทัพเข้าทางด่านบ้องตี้ ตีเมืองราชบุรี เพชรบุรี มีจุดหมายไปบรรจบทัพที่ 1 ที่เมืองชุมพร

ทัพที่ 3 ยกเข้าทางเมืองเชียงแสน ตีเมืองลำปาง สวรรคโลก สุโขทัย นครสวรรค์ ลงมาบรรจบกับทัพหลวง ที่กรุงเทพฯ

ทัพ 4 ทัพ 5 ทัพ 6 ทัพ 7 และทัพ 8 ชุมนุมกันที่เมืองเมาะตะมะ เดินทัพมาตามลำดับ เข้าไทยทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ลงมาตีกรุงเทพฯ

ทัพ 9 ตีหัวเมืองเหนือ ริมฝั่งแม่น้ำปิง ตั้งแต่เมืองตาก กำแพงเพชร ลงมาบรรจบที่กรุงเทพฯ

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงเห็นว่า สงครามครั้งนี้ พม่ามีรี้พลมากกว่าไทย ทั้งยังยกมาทุกทิศทุกทาง หากไทยจะรอรับศึกในกรุงเหมือนสมัยอยุธยา ก็คงจะรักษากรุงไว้ไม่ได้

ทรงใช้ยุทธวิธีใหม่ จัดทัพออกไปวางแผนโจมตีพม่า ในจุดที่สำคัญไว้ก่อน

แม้พม่าจะยกมา 9 ทัพ แต่รวมกันแล้วมีจุดที่ตั้งรับและรบได้ใน 4 ทิศ รัชกาลที่ 1 จึงจัดทัพออกเป็น 4 ทัพ ทัพ 1 รับผิดชอบข้าศึกทิศตะวันตก กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท เป็นแม่ทัพ ยกทัพไปโจมตีพม่าที่เข้ามาทางด่านพระเจดีย์สามองค์

ทัพวังหน้าเป็นไทยที่ใหญ่ที่สุด คาดว่าพระเจ้าปะดุงจะยกทัพหลวงเข้ามาทางนี้

ทัพ 2 รับผิดชอบทิศเหนือ กรมพระราชวังหลัง ขณะยังทรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์ เป็นแม่ทัพยกไปโจมตีพม่า ที่จะยกมาทางนครสวรรค์ สกัดไม่ให้พม่าเข้ามาถึงเมืองหลวง

ทัพ 3 รับผิดชอบทิศใต้ เจ้าพระยาธรรมา (บุญรอด) เป็นแม่ทัพ ร่วมกับพระยายมราช มีหน้าที่โจมตีพม่าที่ยกมาทางใต้และด่านบ้องตี้

ทัพ 4 ทัพหลวง รัชกาลที่ 1 ทรงเป็นจอมทัพ ตั้งมั่นอยู่ในกรุงเทพฯ ทำหน้าที่เป็นกองหนุน ศึกหนักด้านใดก็จะยกทัพไปช่วยด้านนั้น

ผลของสงคราม...ทัพไทยมีกำลังน้อยกว่า แต่มีผู้นำที่ดี มีความสามารถและเด็ดเดี่ยว ทหารมีทั้งประสบการณ์และมีหัวใจในการสู้รบ ตีทัพพม่าแตกพ่ายไปได้ทุกทัพ

บ้านเมืองเราตอนนี้ เหมือนมีสงคราม ม็อบทั้งเล็กใหญ่ ม็อบสามจังหวัดชายแดนใต้ แนวรบเขมร นับรวมๆกันก็คงได้ไม่น้อยกว่า 9 ทัพ แต่เมื่อมีผู้นำดี แม่ทัพมีใจให้ คงเอาชนะทุกทัพไปได้ไม่ยาก

เป็นห่วงอยู่ทัพเดียว ทัพประชาชนที่หงุดหงิดเพราะหาซื้อน้ำมันปาล์มไม่ได้ ยิ่งรู้ว่าเหตุที่น้ำมันปาล์มขาดตลาด เพราะนักการเมืองไทย เล่นเกมกินหัวคิว 3 เด้ง

เด้ง 1 กินค่าหัวบริษัทน้ำมันปาล์มมาเลย์ อินโดฯ เด้ง 2 กินค่า หัวคิวบริษัทเอกชนในไทย เด้ง 3 เสนอขึ้นราคาขายปลีกรอบ 2 กินค่า หัวคิวลิตรละ 1 บาท

ใครเป็นแม่ทัพสงคราม 9 ทัพ

สงครามเก้าทัพ
ราชวงศ์โก้นบอง (พม่า)
อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สยาม) อาณาจักรล้านนา
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
พระเจ้าปดุง ตะแคงจามะ ตะแคงจักกุ เมียงหวุ่นแมงยี เมียนเมหวุ่น
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระยามาหาโยธา พระยาจ่าแสนยากร เจ้าพระยากาวิละ เจ้าคำน้อย เจ้าคำโสม
กำลัง
สงครามเก้าทัพ - วิกิพีเดียth.wikipedia.org › wiki › สงครามเก้าทัพnull

สงคราม 9 ทัพเรียกสั้นๆว่าอะไร

"สงครามเก้าทัพ" เป็นสงครามระหว่างอาณาจักรพม่ากับราชอาณาจักรไทย หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เป็นราชธานีแห่งใหม่ เวลานั้นบ้านเมืองอยู่ในช่วงผ่านศึกสงครามมาใหม่ๆ ประจวบทั้งการสร้างบ้านแปลงเมือง รวมทั้งปราสาทราชวังต่างๆ ในปี พ.ศ. 2328 พระเจ้าปดุง กษัตริย์พม่า หลังจากบรม ...

สงคราม9ทัพ มีกี่ทัพ

ป้ายอุทยานประวัติศาสตร์สงคราม 9 ทัพ ถือเป็นอนุสรณ์ที่มีความหมาย โดยมีเสาธงชาติไทย 4 เสา ซึ่งหมายถึงกองทัพไทยทั้ง 4 กองทัพ ตั้งอยู่เหนือตอไม้ 9 ตอ ซึ่งหมายถึงทัพพม่าทั้ง 9 ทัพ นั่นหมายถึงว่าทัพไทยมีชัยชนะเหนือกองทัพพม่า

ใครเป็นผู้ต่อสู้กับพม่าในสงครามเก้าทัพ

มหายุทธสงครามทัพนี้ “กรมพระราชบวรมหาสุรสิงหนาท หรือ วังหน้าพระยาเสือ” ทรงเป็นผู้พิชิตศึกอย่างแท้จริง เพราะผลจากการรบในยกแรก ทำให้กองทัพใหญ่จำนวนมหาศาลของฝ่ายพม่าติดอยู่ในช่องเขา และต้องเผชิญกับกลศึกมากมายในสงครามกองโจรแบบ"จรยุทธ์" เคลื่อนที่ไปข้างหน้าก็ไม่ได้ เพราะทัพหน้าถูกตรึงอยู่กับที่ มีทางเดียวคือต้องถอยทัพ และ ...