ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล (Data Communications)

Show

     หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล (Data Communications) ในการเรียนการทำงานและการดำเนินชีวิตประจำวันของคนเรา ต้องมีการพูดคุย บอกความต้องการ ความรู้สึก และแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระระหว่างกัน  เพื่อให้เกิดประสบการณ์และความรอบรู้  ดังนั้น หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นการทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างผู้ส่ง ข้อมูลข่าวสาร สื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสารและผู้รับ เพื่อให้ผู้รับ รับรู้ข้อมูลข่าวสารถูกต้องและหลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลเกิดความเข้าใจตรงกันกับผู้ส่งนั้นเอง

      เมื่อกล่าวถึง หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การติดต่อสื่อสาร ในอดีตอาจหมายถึงการพูดคุยกันของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นการแสดงออกด้วยท่าทาง การใช้ภาษาพูด หรือผ่านทางตัวอักษร โดยเป็นการสื่อสารในระยะใกล้ ๆ ต่อมาเมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้า ได้มีการพัฒนาการสื่อสารเข้ากับการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล ทำให้สามารถสื่อสารได้ในระยะไกลขึ้นและสะดวกรวดเร็วมากขึ้น เช่น การใช้โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร อีกทั้งตัวอุปกรณ์ที่ใช้ในการสื่อสารเองก็ได้รับการพัฒนาความสามารถขึ้นมาเป็นลำดับ และเข้ามามีบทบาทในทุกวงการ ดังนั้นในยุคสารสนเทศนี้

     การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล ซึ่งอาจอยู่ในรูปของตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ เสียง หรือวีดิทัศน์ ระหว่างอุปกรณ์สื่อสาร โดยผ่านทางสื่อกลางในการสื่อสาร ซึ่งอาจเป็นสื่อกลางประเภทที่มีสายหรือไร้สายก็ได้  โดยปกติ  องค์ประกอบหลักของระบบสื่อสารข้อมูล มีอยู่ 5 อย่าง ได้แก่ ข่าวสาร (Message) ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver) สื่อกลาง (Media) และโพรโทคอล (Protocol)

    หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง  การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ผ่านสื่อกลางไปยังผู้รับการสื่อสารข้อมูลจึงประกอบไปด้วยส่วนสำคัญ  4  ส่วนดังนี้

 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นสิ่งหน้าที่ส่งข้อมูลข่าวสารออกไปยังจุดหมายปลายทางที่ต้องการ  ซึ่งอาจเป็นบุคคลหรืออุปกรณ์  เช่น  เครื่องคอมพิวเตอร์  โทรศัพท์  เป็นต้น

2. ข้อมูลข่าวสาร (Message) เป็นสิ่งที่ผู้ส่งต้องการส่งไปให้ผู้รับที่อยู่ปลายทางซึ่งอาจเป็นเสียง ข้อความหรือภาพ เพื่อสื่อสารให้เกิดความเข้าใจตรงกัน

3.  สื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสาร (Medium)

    3.1 เป็นสิ่งที่ช่วยให้ข้อมูลข่าวสารเดินทางจากผู้ส่งไปยังผู้รับได้โดยสะดวก ซึ่งมีหมายรูปแบบ  ดังนี้

     – สายสัญญาณชนิดต่างๆ เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิล เส้นใยแก้วนำแสง เป็นต้น

     – คลื่นสัญญาณชนิดต่างๆ เช่น คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นแสง คลื่นอินฟาเรด เป็นต้น

     – อุปกรณ์เสริมชนิดต่างๆ เช่น เสาอากาศวิทยุ เสาอากาศโทรทัศน์ ดาวเทียม เป็นต้น

4.  ผู้รับ (Receiver) เป็นสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่ง ซึ่งผ่านสื่อกลางชนิดต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ วิทยุ เป็นต้น

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

ที่มา http://www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/234/computer/Page702.htm

5.โพรโทคอล (Protocol) หมายถึง กฎระเบียบที่ใช้กำหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์คู่หนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์สื่อสารใด ๆ ผ่านระบบเครือข่าย

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

ที่มาhttps://medium.com/@petchtany123/%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%95%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A5-b6a95d6a7eed

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของการสื่อสารข้อมูล

    เครือข่ายคอมพิวเตอร์ของ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกันโดยอาศัยสื่อกลางหรือช่องทางการสื่อสารข้อมูล เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์และใช้ทรัพยากรของระบบ ได้แก่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ ร่วมกันโดยมีองค์ประกอบดังนี้

     1.คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากรต่างๆ เช่น ซอฟต์แวร์ ข้อมูล เป็นต้น

    2.ช่องทางการสื่อสาร เป็นสื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่านในการรับ-ส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับและผู้ส่งข้อมูล ซึ่งมีหลายประเภท เช่น สายโทรศัพท์ แบบสายบิดคู่ตีเกลียวชนิดมีฉนวนหุ้ม และไม่มีฉนวนหุ้ม สายโคแอ็กเซียล  เส้นใยแก้วนำแสง เป็นต้น

     3.สถานีงาน เป็นอุปกรณ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับบริการจากเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือเรียกได้ว่าเครื่องลูกข่าย ที่มีทั้งแบบมีหน่วยประมวลผลของตนเอง ซึ่งประกอบด้วยจอภาพ และแผงแป้นอักขระ

     4.อุปกรณ์สื่อสารระหว่างเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์สำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายชนิดเดียวกันและต่างชนิดเข้าด้วยกัน เพื่อทำการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เช่น เครือข่าย โมเด็ม ฮับ เป็นต้น

ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของการสื่อสารข้อมูล

    1.เครือข่ายแลนหรือเครือข่ายท้องถิ่น

    2.เครือข่ายแมนหรือเครือข่ายระดับเมือง

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

    3.เครือข่ายแวนหรือเครือข่ายระดับประเทศ

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

   4.เครือข่ายอินเทอร์เน็ต 

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

           ที่มา https://cc.srru.ac.th/?p=22

5.เครือข่ายไวร์เลสแลนหรือเครือข่ายแบบไร้สาย  (Wireless LAN : WLAN) หมายถึง เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องหรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ โดยผ่านคลื่นความถี่วิทยุเป็นช่องทางการสื่อสารข้อมูลแทนการใช้สายสัญญาณ การรับส่งข้อมูลผ่านอากาศช่วยลดการใช้สายสัญญาณและเวลาในการติดตั้งลดลง ทำให้ระบบเครือข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

ที่มา http://wise.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=3438

เทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์

       เทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications) เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีการใช้งานมากที่สุด คือ เครือข่ายแลน ซึ่งเครือข่ายแลนนั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์หลายเครื่องรับ-ส่ง ข้อมูลระหว่างกันได้ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ร่วมกันด้วยสาเหตุนี้จึงมีการพัฒนาเทคโนโลยี เช่น วิธีการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ เพื่อลดความยุ่งอยากในการเชื่อมโยงสายสัญญาณด้วยการใช้จำนวนสายสัญญาณน้อย หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล โดยเทคโนโลยีการรับ-ส่งข้อมูลภายในเครือข่ายแลนที่น่าสนใจมี ดังนี้

 1.  อินเทอร์เน็ต (Internet)  หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ มีการเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ในหลายๆทาง อาทิ อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆรวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใช้ได้

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

ที่มา https://sites.google.com/site/internetorbook/xinthexrnet

2.โทเค็นริง (token ring) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่บริษัทไอบีเอ็มได้พัฒนาขึ้นโดยการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั้งหมดใช้รูปแบบวงแหวน โดยด้านหนึ่งเป็นตัวรับสัญญาณ และอีกด้านหนึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณการเชื่อมต่อ

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

                              ที่มา http://www.thaigoodview.com/library/contest1/tech04/20/wired/n04_02.html

3.สวิตชิง (Switching)

ช่องทางการสื่อสารแบบใดที่ต้องมีตัวรับสัญญาณ receiver ที่ติดตั้งบนที่สูง

4.ไฮเบริด (Hybrid) หมายถึง คอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะของแอนะล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (digital computer) ผสมกัน

ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

    1.เกิดการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน โดยในเครือข่ายจะมีเครื่องให้บริการข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ผู้ใช้บริการขอดูข้อมูล และปรับปรุงข้อมูลได้ทันที

    2.เกิดการแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย โดยผู้ใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน สามารถใช้อุปกรณ์ เช่น เครื่องพิมพ์ โทรสาร ฮาร์ดดิสก์ โมเด็ม เครื่องกราดตรวจร่วมกันได้ จึงเป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้ออุปกรณ์สำนักงานได้อีกทางหนึ่ง

    3.เกิดการติดต่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลกันในเครือข่าย โดยเมื่อผู้ใช้เชื่อมต่อเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จะสามารถฝากความคิดเห็นหรือคำถาม คำตอบไว้ บนกระดานสนทนาส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ถึงกัน สนทนาผ่านซอฟต์แวร์ต่างๆ ประชุมทางไกล เรียนทางไกล โอนย้ายข้อมูล โอนเงิน ติดต่อธุรกิจ และสั่งซื้อสินค้าผ่านเว็บไซต์ได้

    4.ช่วยลดปริมาณการใช้ขยะในหน่อยงาน โดยเมื่อใช้คอมพิวเตอร์ทำงานเกี่ยวกับเอกสาร และสื่อประสมต่างๆ รวมทั้งรับ-ส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายภายในหน่วยงาน จะช่วยลดปริมาณการใช้กระดาษและค่าใช้จ่ายในการซิ้อกระดาษ

   5.ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยเมื่อใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตติดต่อสื่อสารถึงกันได้ผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ ซอฟต์แวร์สนทนา และ สืบค้นข้อมูลต่างๆ จะช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางได้มาก

อินเทอร์เน็ต หรือ Internet ย่อมาจากคำว่า Inter Connection Network หมายถึง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อและเชื่อมโยงสัญญาณกันทั่วโลก ทำให้การสื่อสารจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งได้โดยไม่จำกัดระยะทาง โดยใช้เครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมต่อเครือข่าย อินเทอร์เน็ตทำให้ทุกคนในโลกทุกชาติทุกภาษาและเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แต่ละประเภท สามารถเชื่อมต่อและสื่อสารถึงกันได้เข้าใจ ภายใต้หลักการและมาตรฐานที่สร้างขึ้นมารองรับ

ในยุคแห่งสังคมข่าวสารเช่นปัจจุบัน การสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ยิ่งทวีความสำคัญมากขึ้น หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications)ตั้งแต่ยุค ค.ศ. 2000 เป็นต้นมา เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหม่จากยุคอุตสาหกรรมเข้าสู่ยุคดิจิตอล ซึ่งยุคนี้ประชากรส่วนใหญ่เรียกว่าเป็นยุคโลกไร้พรมแดนหรือยุคโลกาภิวัฒน์ เนื่องจากมีความเจริญทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นอย่างมากมีการเชื่อมโยงระบบเครือข่ายประเภทต่างๆ หลายๆ ระบบเข้าด้วยกัน จึงทำให้การติดต่อสื่อสารทำได้ง่ายและสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ประชากรสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทุกมุมโลก ทั้งทางภาพ เสียง หรือข้อความ โดยผ่าน หลักการเบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูล(Data Communications) ทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประเภทต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์สมาร์ทโฟนแทปเล็ต ฯลฯ ด้วยลักษณะเช่นนี้จึงทำให้องค์กรธุรกิจต่างๆ เล็งเห็นความสำคัญของประสิทธิภาพของอุปกรณ์เหล่านั้น จึงได้นำมาประยุกต์ใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ในการดำเนินธุรกิจบนโลกออนไลน์มากที่สุด และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันดีในชื่อของ “อินเทอร์เน็ต” (internet) จัดว่าเป็นเครือข่ายที่มีบทบาทสำคัญที่สุดในยุคสังคมข่าวสารดังเช่นในปัจจุบันนี้ ผลจากการพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำให้สามารถน ามาประยุกต์ใช้กับระบบเครือข่ายในรูปแบบ
อื่นๆ ได้ เช่น เครือข่ายอินทราเน็ต (Intranet) ซึ่งมีลักษณะการเชื่อมโยงเครือข่ายเช่นเดียวกับระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) แต่ต่างกันตรงที่อินทราเน็ตเป็นระบบปิดที่มีการจำกัดขอบเขตกลุ่มผู้ใช้งาน โดยอนุญาตให้ผู้มีสิทธิ์ใช้งาน คือ สมาชิกหรือพนักงานในองค์กรเท่านั้น และอีกเครือข่ายหนึ่งที่เรียกว่า เครือข่ายเอ็กซ์ทราเน็ต (Extranet) เกิดจากการผนวกรวมเครือข่ายอินทราเน็ตตั้งแต่ 2 วงขึ้นไปเข้าด้วยกัน โดยอาศัยกลไกการทำงานของโปรโตคอล TCP/IP ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีจุดประสงค์เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการทำงานหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทั้งภายในและภายนอกองค์กรมากขึ้นเครื่องคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อบนระบบเครือข่ายจะมีหมายเลข IP Address เพื่อบอกใช้บอกปลายทางที่ติดต่อว่าเครื่องต้นทางอยู่ที่ไหน โดยหมายเลข IP จะถูกจัดเป็นตัวเลขชุดหนึ่ง ขนาด 32 บิต ซึ่งแต่ละชุดแบ่งตัวเลขออกเป็น 4 ส่วน ส่วนละ 8 บิตและคั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) แต่ละชุดจึงมีค่าตัวเลขตั้งแต่ 0 – 255ตัวอย่างเช่น 172.16.254