ข้อใดคือสาเหตุที่ดนตรีไทยในปัจจุบัน “ไม่ได้” รับความนิยมเท่าที่ควร

ทำไมดนตรีไทยถึงไม่ค่อยนิยม

คนส่วนใหญ่คิดอย่างไรกับภาพรักดนตรีไทย ทำไมดนตรีไทยถึงนิยมน้อยลง

0

ข้อใดคือสาเหตุที่ดนตรีไทยในปัจจุบัน ไม่ได้” รับความนิยมเท่าที่ควร

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้

ความคิดเห็นที่ 1

อาจเป็นเพราะว่าเราไม่ใส่ใจกับมันมากพอ ทั้งๆที่ดนตรีไทยมีเสน่ห์มาก
เราหวังว่าสักวัน จะเห็นวงร็อกที่มีคอนเซปท์แบบนำเอาดนตรีไทยมามิกซ์แอนด์แมทกับเพลงร็อกบ้าง
เพราะยอมรับว่าดนตรีไทย เสีงทั้งหวาน และสามารถโหยหวนได้

0

ข้อใดคือสาเหตุที่ดนตรีไทยในปัจจุบัน ไม่ได้” รับความนิยมเท่าที่ควร

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

ข้อใดคือสาเหตุที่ดนตรีไทยในปัจจุบัน ไม่ได้” รับความนิยมเท่าที่ควร

Advertisement

ดนตรีไทย เป็นศิลปะแขนงหนึ่งของไทย ได้รับอิทธิพลมาจาก ประเทศต่าง ๆ เช่น อินเดีย จีน อินโดนีเซีย และอื่น ๆ เครื่องดนตรีมี 4 ประเภท ดีด สี ตี เป่า

ประวัติความเป็นมาของ ดนตรีไทย


         จากการสันนิษฐานของท่านผู้รู้ทางด้าน ดนตรีไทย โดยการพิจารณา หาเหตุผลเกี่ยวกับกำเนิด หรือที่มาของ ดนตรีไทย ก็ได้มีผู้เสนอแนวทัศนะในเรื่องนี้ไว้ 2 ทัศนะที่แตกต่างกันคือ

         ทัศนะที่ 1 สันนิษฐานว่า ดนตรีไทย ได้แบบอย่างมาจากอินเดีย เนื่องจาก อินเดียเป็นแหล่งอารยธรรมโบราณ ที่สำคัญแห่งหนึ่งของโลก อารยธรรมต่าง ๆ ของอินเดียได้เข้ามามีอิทธิพล ต่อประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชียอย่างมาก ทั้งในด้าน ศาสนา ประเพณีความเชื่อ ตลอดจน ศิลป แขนงต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้านดนตรี ปรากฎรูปร่างลักษณะ เครื่องดนตรี ของประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชีย เช่น จีน เขมร พม่า อินโดนิเซีย และ มาเลเซีย มีลักษณะ คล้ายคลึงกัน เป็นส่วนมาก ทั้งนี้เนื่องมาจาก ประเทศเหล่านั้นต่างก็ยึดแบบฉบับ ดนตรี ของอินเดีย เป็นบรรทัดฐาน รวมทั้งไทยเราด้วย เหตุผลสำคัญที่ท่านผู้รู้ได้เสนอทัศนะนี้ก็คือ ลักษณะของ เครื่องดนตรีไทย สามารถจำแนกเป็น 4 ประเภท คือ

                 - เครื่องดีด

                 - เครื่องสี

                 - เครื่องตี

                 - เครื่องเป่า

        ใกล้เคียงกับลักษณะ เครื่องดนตรี อินเดียตามที่กล่าวไว้ในคัมภีร์ "สังคีตรัตนากร" ของอินเดีย ซึ่งจำแนกเป็น 4 ประเภท เช่นกันคือ

                 - ตะตะ คือ เครื่องดนตรี ประเภทมีสาย

                 - สุษิระ คือ เครื่องเป่า

                 - อะวะนัทธะ หรือ อาตตะ คือ เครื่องหุ้มหนัง หรือ กลอง ต่าง ๆ

                 - ฆะนะ คือ เครื่องตี หรือ เครื่องกระทบ

การสันนิษฐานเกี่ยวกับ กำเนิดหรือที่มาของ ดนตรีไทย ตามแนวทัศนะข้อนี้ เป็นทัศนะที่มีมาแต่เดิม นับตั้งแต่ ได้มีผู้สนใจ และ ได้ทำการค้นคว้าหาหลักฐาน เกี่ยวกับเรื่องนี้ขึ้น และนับว่า เป็นทัศนะที่ได้รับการนำมากล่าวอ้างกันมาก บุคคลสำคัญที่เป็นผู้เสนอแนะแนวทางนี้คือ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพ พระบิดาแห่งวงการประวัติศาสตร์ของไทย


วิวัฒนาการของ ดนตรีไทย สมัยต่าง ๆ


สมัยสุโขทัย

         นับตั้งแต่ไทยได้มาตั้งถิ่นฐานในแหลมอินโดจีน และได้ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้น จึงเป็นการเริ่มต้น ยุคแห่งประวัติศาสตร์ไทย ที่ปรากฎ หลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร กล่าวคือ เมื่อไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และหลังจากที่ พ่อขุนรามคำแหง มหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช้แล้ว นับตั้งแต่นั้นมาจึงปรากฎหลักฐานด้าน ดนตรีไทย ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ทั้งในหลักศิลาจารึก หนังสือวรรณคดี และเอกสารทางประวัติศาสตร์ ในแต่ละยุค ซึ่งสามารถนำมาเป็นหลักฐานในการพิจารณา ถึงความเจริญและวิวัฒนาการของ ดนตรีไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัย เป็นต้นมา จนกระทั่งเป็นแบบแผนดังปรากฎ ในปัจจุบัน พอสรุปได้ดังต่อไปนี้

         สมัยสุโขทัย ดนตรีไทย มีลักษณะเป็นการขับลำนำ และร้องเล่นกันอย่างพื้นเมือง เกี่ยวกับ เครื่องดนตรีไทย ในสมัยนี้ ปรากฎหลักฐานกล่าวถึงไว้ในหนังสือ ไตรภูมิพระร่วง ซึ่งเป็นหนังสือวรรณคดี ที่แต่งในสมัยนี้ ได้แก่ แตร, สังข์, มโหระทึก, ฆ้อง, กลอง, ฉิ่ง, แฉ่ง (ฉาบ), บัณเฑาะว์ พิณ, ซอพุงตอ (สันนิษฐานว่าคือ ซอสามสาย) ปี่ไฉน, ระฆัง, และ กังสดาล เป็นต้น ลักษณะการผสม วงดนตรี ก็ปรากฎหลักฐานทั้งในศิลาจารึก และหนังสือไตรภูมิพระร่วง กล่าวถึง "เสียงพาทย์ เสียงพิณ" ซึ่งจากหลักฐานที่กล่าวนี้ สันนิษฐานว่า วงดนตรีไทย ในสมัยสุโขทัย มีดังนี้ คือ

         1. วงบรรเลงพิณ มีผู้บรรเลง 1 คน ทำหน้าที่ดีดพิณและขับร้องไปด้วย เป็นลักษณะของการขับลำนำ

         2. วงขับไม้ ประกอบด้วยผู้บรรเลง 3 คน คือ คนขับลำนำ 1 คน คนสี ซอสามสาย คลอเสียงร้อง 1 คน และ คนไกว บัณเฑาะว์ ให้จังหวะ 1 คน

         3. วงปี่พาทย์ เป็นลักษณะของวงปี่พาทย์เครื่อง 5 มี 2 ชนิด คือ

         วงปี่พาทย์เครื่องห้า อย่างเบา ประกอบด้วยเครื่องดนตรีชนิดเล็ก ๆ จำนวน 5 ชิ้น คือ 1. ปี่ 2. กลองชาตรี 3. ทับ (โทน) 4. ฆ้องคู่ และ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประกอบการแสดง ละครชาตรี (เป็นละครเก่าแก่ที่สุดของไทย)

         วงปี่พาทย์เครื่องห้า อย่างหนัก ประกอบด้วย เครื่องดนตรีจำนวน 5 ชิ้น คือ 1. ปี่ใน 2. ฆ้องวง (ใหญ่) 3. ตะโพน 4. กลองทัด และ 5. ฉิ่ง ใช้บรรเลงประโคมในงานพิธีและบรรเลงประกอบ การแสดงมหรสพ ต่าง ๆ จะเห็นว่า วงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ยังไม่มีระนาดเอก

         4. วงมโหรี เป็นลักษณะของวงดนตรีอีกแบบหนึ่ง ที่นำเอา วงบรรเลงพิณ กับ วงขับไม้ มาผสมกัน เป็นลักษณะของ วงมโหรีเครื่องสี่ เพราะประกอบด้วยผู้บรรเลง 4 คน คือ 1. คนขับลำนำและตี กรับพวง ให้จังหวะ 2. คนสี ซอสามสาย คลอเสียงร้อง 3. คนดีดพิณ และ 4. คนตีทับ (โทน) ควบคุมจังหวะ


สมัยกรุงศรีอยุธยา


         ปรากฎหลักฐานเกี่ยวกับ ดนตรีไทย ในสมัยนี้ ในกฏมลเฑียรบาล ซึ่งระบุชื่อ เครื่องดนตรีไทย เพิ่มขึ้น จากที่เคยระบุไว้ ในหลักฐานสมัยสุโขทัย จึงน่าจะเป็น เครื่องดนตรี ที่เพิ่งเกิดในสมัยนี้ ได้แก่ กระจับปี่ ขลุ่ย จะเข้ และ รำมะนา นอกจากนี้ในกฎมณเฑียรบาลสมัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ปรากฎข้อห้ามตอนหนึ่งว่า "...ห้ามร้องเพลงเรือ เป่าขลุ่ย เป่าปี่ สีซอ ดีดกระจับปี่ ดีดจะเข้ ตีโทนทับ ในเขตพระราชฐาน..." ซึ่งแสดงว่าสมัยนี้ ดนตรีไทย เป็นที่นิยมกันมาก แม้ในเขตพระราชฐาน ก็มีคนไปร้องเพลงและเล่นดนตรีกันเป็นที่เอิกเกริกและเกินพอดี จนกระทั่งพระมหากษัตริย์ต้องทรงออกกฎมลเฑียรบาล ดังกล่าวขึ้นไว้

         เกี่ยวกับลักษณะของ วงดนตรีไทย ในสมัยนี้มีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาขึ้นกว่าในสมัยสุโขทัย ดังนี้ คือ

        1. วงปี่พาทย์ ในสมัยนี้ ก็ยังคงเป็น วงปี่พาทย์เครื่องห้า เช่นเดียวกับในสมัยสุโขทัย แต่มี ระนาดเอก เพิ่มขึ้น ดังนั้น วงปี่พาทย์เครื่องห้า ในสมัยนี้ประกอบด้วย เครื่องดนตรี ดังต่อไปนี้ คือ

  • ระนาดเอก
  • ปี่ใน
  • ฆ้องวง (ใหญ่)
  • กลองทัด ตะโพน
  • ฉิ่ง

         2. วงมโหรี ในสมัยนี้พัฒนามาจาก วงมโหรีเครื่องสี่ ในสมัยสุโขทัยเป็น วงมโหรีเครื่องหก เพราะได้เพิ่ม เครื่องดนตรี เข้าไปอีก 2 ชิ้น คือ ขลุ่ย และ รำมะนา ทำให้ วงมโหรี ในสมัยนี้ ประกอบด้วย เครื่องดนตรี จำนวน 6 ชิ้น คือ

  • ซอสามสาย
  • กระจับปี่ (แทนพิณ)
  • ทับ (โทน)
  • รำมะนา
  • ขลุ่ย
  • กรับพวง

สมัยกรุงธนบุรี

         เนื่องจากในสมัยนี้เป็นช่วงระยะเวลาอันสั้นเพียงแค่ 15 ปี และประกอบกับ เป็นสมัยแห่งการก่อร่างสร้างเมือง และการป้องกันประเทศเสียโดยมาก วงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่า ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้น สันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบของ ดนตรีไทย ในสมัยกรุงศรีอยุธยานั่นเอง


สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

         ในสมัยนี้ เมื่อบ้านเมืองได้ผ่านพ้นจากภาวะศึกสงคราม และได้มีการก่อสร้างเมืองให้มั่นคงเป็นปึกแผ่น เกิดความ สงบร่มเย็น โดยทั่วไปแล้ว ศิลป วัฒนธรรม ของชาติ ก็ได้รับการฟื้นฟูทะนุบำรุง และส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยเฉพาะ ทางด้าน ดนตรีไทย ในสมัยนี้ได้มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงเจริญขึ้นเป็นลำดับ ดังต่อไปนี้ คือ

         สมัยรัชกาลที่ 1 ดนตรีไทย ในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะ และ รูปแบบตามที่มีมาตั้งแต่ สมัยกรุงศรีอยุธยา ที่พัฒนาขึ้นบ้างในสมัยนี้ก็คือ การเพิ่ม กลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปี่พาทย์ ซึ่ง แต่เดิมมา มีแค่ 1 ลูก พอมาถึง สมัยรัชกาลที่ 1 วงปี่พาทย์ มี กลองทัด 2 ลูก เสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหนึ่ง และ เสียงต่ำ (ตัวเมีย) ลูกหนึ่ง และการใช้ กลองทัด 2 ลูก ในวงปี่พาทย์ ก็เป็นที่นิยมกันมา จนกระทั่งปัจจุบันนี้

         สมัยรัชกาลที่ 2 อาจกล่าวว่าในสมัยนี้ เป็นยุคทองของ ดนตรีไทย ยุคหนึ่ง ทั้งนี้เพราะ องค์พระมหากษัตริย์ ทรงสนพระทัย ดนตรีไทย เป็นอย่างยิ่ง พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถ ในทาง ดนตรีไทย ถึงขนาดที่ ทรงดนตรีไทย คือ ซอสามสาย ได้ มีซอคู่พระหัตถ์ชื่อว่า "ซอสายฟ้าฟาด" ทั้งพระองค์ได้ พระราชนิพนต์ เพลงไทย ขึ้นเพลงหนึ่ง เป็นเพลงที่ไพเราะ และอมตะ มาจนบัดนี้นั่นก็คือเพลง "บุหลันลอยเลื่อน"

         การพัฒนา เปลี่ยนแปลงของ ดนตรีไทย ในสมัยนี้ก็คือ ได้มีการนำเอา วงปี่พาทย์มาบรรเลง ประกอบการขับเสภา เป็นครั้งแรก นอกจากนี้ ยังมีกลองชนิดหนึ่งเกิดขึ้น โดยดัดแปลงจาก "เปิงมาง" ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดนี้ว่า "สองหน้า" ใช้ตีกำกับจังหวะแทนเสียงตะโพนในวงปี่พาทย์ ประกอบการขับเสภา เนื่องจากเห็นว่าตะโพนดังเกินไป จนกระทั่งกลบเสียงขับ กลองสองหน้านี้ ปัจจุบันนิยมใช้ตีกำกับจังหวะหน้าทับ ในวงปี่พาทย์ไม้แข็ง

         สมัยรัชกาลที่ 3 วงปี่พาทย์ได้พัฒนาขึ้นเป็นวงปี่พาทย์เครื่องคู่ เพราะได้มีการประดิษฐ์ระนาดทุ้ม มาคู่กับระนาดเอก และประดิษฐ์ฆ้องวงเล็กมาคู่กับ ฆ้องวงใหญ่

Advertisement
 &lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;font size="5"&gt;&lt;strong&gt;วงดนตรีไทย&lt;/strong&gt;&lt;/font&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt; &lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;ดนตรีไทยมักเล่นเป็นวงดนตรี มีการแบ่งตามประเภทของการบรรเลงที่เป็นระเบียบมาแต่โบราณกาลจนถึงปัจจุบันเป็น 3 ประเภท คือ&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;font size="2"&gt;&lt;strong&gt;วงปี่พาทย์&lt;/strong&gt;&lt;/font&gt; &lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; ประกอบด้วยเครื่องตีเป็นสำคัญ เช่น ฆ้อง กลอง และมีเครื่องเป่าเป็นประธานได้แก่ ปี่ นอกจากนั้นเป็นเครื่อง วงปี่พาทย์ยังแบ่งไปได้อีกคือ วงปี่พาทย์ชาตรี,วงปี่พาทย์ไม้แข็ง,วงปี่พาทย์เครื่องห้า,วงปี่พาทย์เครื่องคู่,วงปี่พาทย์เครื่องใหญ่,วงปี่พาทย์ไม้นวม,วงปี่พาทย์มอญ,วงปี่พาทย์นางหงส์&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;วงเครื่องสาย&lt;/strong&gt; &lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; เครื่องสาย ได้แก่ เครื่องดนตรี ที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรีที่มีสายเป็นประธาน มีเครื่องเป่า และเครื่องตี เป็นส่วนประกอบ ได้แก่ ซอด้วง ซออู้ จะเข้ เป็นต้น ปัจจุบันวงเครื่องสายมี 4 แบบ คือ วงเครื่องสายไทยเครื่องเดี่ยว,วงเครื่องสายไทยเครื่องคู่,วงเครื่องสายผสม,วงเครื่องสายปี่ชวา&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;วงมโหรี&lt;/strong&gt; &lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; ในสมัยโบราณเป็นคำเรียกการบรรเลงโดยทั่วไป เช่น&lt;strong&gt; "มโหรีเครื่องสาย" "มโหรีปี่พาทย์"&lt;/strong&gt; ในปัจจุบัน มโหรี ใช้เป็นชื่อเรียกเฉพาะวงบรรเลงอย่างหนึ่งอย่างใดที่มีเครื่อง ดีด สี ตี เป่า มาบรรเลงรวมกันหมด ฉะนั้นวงมโหรีก็คือวงเครื่องสาย และวงปี่พาทย์ ผสมกัน วงมโหรีแบ่งเป็น วงมโหรีเครื่องสี่,วงมโหรีเครื่องหก,วงมโหรีเครื่องเดี่ยว หรือ มโหรีเครื่องเล็ก,วงมโหรีเครื่องคู่&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;&lt;font size="5"&gt;เครื่องดนตรีไทย&lt;/font&gt;&lt;/strong&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;เครื่องดนตรีไทยแบ่งได้เป็น 4 ประเภท คือ ดีด สี ตี เป่า&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;เครื่องตี&lt;/strong&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" title="กรับ" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A"&gt;กรับ&lt;/a&gt; เช่น กรับพวง และ กรับเสภา&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" title="ระนาด" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94"&gt;ระนาด&lt;/a&gt; เช่น ระนาดเอก และ ระนาดทุ้ม&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ฆ้อง" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%86%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit"&gt;ฆ้อง&lt;/a&gt; เช่น ฆ้องมโหรี,ฆ้องมอญ,ฆ้องวงใหญ่ ,ฆ้องวงเล็ก,ฆ้องโหม่ง&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ฉาบ" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%89%E0%B8%B2%E0%B8%9A&amp;action=edit"&gt;ฉาบ&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" title="ฉิ่ง" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%89%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%87"&gt;ฉิ่ง&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="กลอง" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit"&gt;กลอง&lt;/a&gt; เช่น กลองแขก,กลองตะโพน,กลองทัด,กลองยาว,ตะโพน,มโหระทึก,โทน,รำมะนา&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;เครื่องสี&lt;/strong&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ซอด้วง" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%87&amp;action=edit"&gt;ซอด้วง&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ซอสามสาย" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A2&amp;action=edit"&gt;ซอสามสาย&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ซออู้" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B9%E0%B9%89&amp;action=edit"&gt;ซออู้&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="พิณน้ำเต้า" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%93%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2&amp;action=edit"&gt;พิณน้ำเต้า&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;เครื่องดีด&lt;/strong&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="จะเข้" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89&amp;action=edit"&gt;จะเข้ &lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="กระจับปี่" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%88&amp;action=edit"&gt;กระจับปี่&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;p&gt;&lt;span class="mw-headline"&gt;&lt;strong&gt;เครื่องเป่า&lt;/strong&gt;&lt;/span&gt;&lt;/p&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ขลุ่ยเพียงออ" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD&amp;action=edit"&gt;ขลุ่ยเพียงออ &lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ขลุ่ยหลีบ" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%82%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B8%9A&amp;action=edit"&gt;ขลุ่ยหลีบ &lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" title="ปี่" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%88"&gt;ปี่&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="ปี่ชวา" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%9B%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B2&amp;action=edit"&gt;ปี่ชวา&lt;/a&gt;&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;span class="mw-headline"&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;&lt;font size="5"&gt;เพลงดนตรีไทย&lt;/font&gt;&lt;/strong&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;/span&gt;&lt;/span&gt;แบ่งได้เป็น 4 แบบคือ&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; &lt;strong&gt;1. เพลงหน้าพาทย์&lt;/strong&gt; ได้แก่ เพลงที่บรรเลงประกอบกิริยาเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งของมนุษย์ ของสัตว์ ของวัตถุต่าง ๆ และอื่น ๆ&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; &lt;strong&gt;2. เพลงรับร้อง&lt;/strong&gt; ที่เรียกว่าเพลงรับร้องก็ด้วยบรรเลงรับจากการร้อง คือ เมื่อคนร้องได้ร้องจบไปแล้วแต่ละท่อน ดนตรีก็ต้องบรรเลงรับในท่อนนั้น ๆ โดยมากมักเป็นเพลงอัตรา 3 ชั้นและเพลงเถา เช่น เพลงจระเข้หางยาว 3 ชั้น เพลงสี่บท 3 ชั้น และเพลงบุหลันเถา เป็นต้น&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; &lt;strong&gt;3. เพลงละคร &lt;/strong&gt;หมายถึงเพลงที่บรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร และมหรสพต่าง ๆ ซึ่งหมายเฉพาะเพลงที่มีรัองและดนตรีรับเท่า นั้น เพลงละครได้แก่เพลงอัตรา 2 ชั้น เช่น เพลงเวสสุกรรม เพลงพญาโศก หรือชั้นเดียว เช่น เพลงนาคราช เพลงตะลุ่มโปง เป็นต้น&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; &lt;strong&gt;4. เพลงเบ็ดเตล็ด&lt;/strong&gt; ได้แก่ เพลงเล็ก ๆ สั้น ๆ สำหรับใช้บรรเลงเป็นพิเศษ เช่น บรรเลงต่อท้ายเพลงใหญ่เป็นเพลงลูกบท หรือเพลงภาษา ต่าง ๆ ซึ่งบรรเลงเพื่อสนุกสนาน&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt; การบรรเลงดนตรีไทย&lt;br&gt; &lt;/strong&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;br&gt; &amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; การบรรเลงดนตรีไทยนั้น ผู้บรรเลงต้องจำทำนองเนื้อเพลงได้อย่างแม่นยำอย่างหนึ่ง รู้วิธีบรรเลงและหน้าที่ของ เครื่องดนตรีที่ตนบรรเลง เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้มว่ามีอย่างไร และมีสติปัญญาแต่งทำนองให้เกิดความไพเราะอีกอย่างหนึ่งเพราะการ บรรเลงดนตรีไทยไม่ได้ดูโน๊ต จึงต้องใช้ความจำ ในขณะที่บรรเลง ผู้บรรเลงจะต้องแต่งทำนองด้วยปัญญาของตน ให้ดำเนินไปตาม วิธีการบรรเลงเครื่องดนตรีที่ตนบรรเลง เช่น &lt;a target="_blank" class="new" title="ระนาดเอก" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81&amp;action=edit"&gt;ระนาดเอก&lt;/a&gt; ก็ต้องเก็บถี่ ๆ ตีเป็นคู่ 8 พร้อม ๆ กันทั้งสองมือ และต้องไม่ให้ผ ิด ไปจากเนื้อเพลงของเพลงนั้นด้วย&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt; การบรรเลงดนตรีไทยประกอบงาน&lt;br&gt; &lt;/strong&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;br&gt; &amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; การที่จะมี่ดนตรีบรรเลงประกอบในงาน ที่จะจัดให้มีขึ้นนั้น ก็ควรจะยึดถือแบบแผนที่สมัยโบราณได้เคย ใช้กันมาจนเป็นประเพณีไปแล้ว คือ&lt;/p&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;งานที่มี&lt;a target="_blank" class="new" title="พระสงฆ์" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%86%E0%B9%8C&amp;action=edit"&gt;พระสงฆ์&lt;/a&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="สวดมนต์" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C&amp;action=edit"&gt;สวดมนต์&lt;/a&gt;และฉัน&lt;a target="_blank" title="อาหาร" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3"&gt;อาหาร&lt;/a&gt; ควรใช้วงปี่พาทย์ จะเป็นวงปี่พาทย์เครื่องห้า เครื่องคู่ หรือเครื่องใหญ่ ก็แล้วแต่เห็นสมควร&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="งานแต่งงาน" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99&amp;action=edit"&gt;งานแต่งงาน&lt;/a&gt; หรือที่เรียกกันว่างานมงคลสมรส ควรใช้วงมโหรีหรือวงเครื่องสาย&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;&lt;a target="_blank" class="new" title="งานศพ" href="http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php?title=%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%9E&amp;action=edit"&gt;งานศพ&lt;/a&gt; ถ้าจะใช้ดนตรีไทย ควรใช้วงปี่พาทย์นางหงส์&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;ul&gt; &lt;li&gt;งานพิเศษที่จัดขึ้นเฉพาะครั้งคราว เช่น รับแขกผู้มีเกียรติ ชุมนุมเพื่อกิจการหรือสมาคมอาจใช้วงปี่พาทย์ไม้นวม หรือ มโหรี หรือเครื่องสาย ก็ได้ทั้งนั้น แล้วแต่เจ้าของงานจะพอใจ&lt;/li&gt; &lt;/ul&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;hr&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt; ลีลาดนตรีไทย&lt;br&gt; &lt;/strong&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;br&gt; &amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; &lt;strong&gt;ลีลาเครื่องดนตรีไทย&lt;/strong&gt; หมายถึงท่วงท่าหรือท่วงทำนองที่เครื่องดนตรีต่างๆได้บรรเลงออกมา สำหรับลีลาของเครื่องดนตรีไทยแต่ละเครื่องที่เล่นเป็นเพลงออกมา บ่งบอกถึงคุณลักษณะและพื้นฐานอารมณ์ที่จากตัวผู้เล่น เนื่องมาจากลีลาหนทางของดนตรีไทยนั้นไม่ได้กำหนดกฏเกณฑ์ไว้ตายตัวเหมือนกับดนตรีตะวันตก หากแต่มาจากลีลาซึ่งผู้บรรเลงคิดแต่งออกมาในขณะเล่น เพราะฉะนั้นในการบรรเลงแต่ละครั้งจึงอาจมีทำนองไม่ซ้ำกัน แต่ยังมี ความไพเราะและความสอดคล้องกับเครื่องดนตรีอื่นๆอยู่&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp;&amp;nbsp; ลักษณะเช่นนี้ได้อิทธิพลมาตั้งแต่สมัยโบราณ ที่มี"กฎเกณฑ์" อยู่ที่การวาง &lt;strong&gt;"กลอน"&lt;/strong&gt; ลงไปใน "ทำนองหลัก" ในที่นี้ หมายถึงในเพลงไทยเดิมนั้นเริ่มต้นด้วย&lt;strong&gt; "เนื้อเพลงแท้ๆ&lt;/strong&gt;" อันหมายถึง &lt;strong&gt;"เสียงลูกตก"&lt;/strong&gt; ก่อนที่จะปรับปรุงขึ้นเป็น &lt;strong&gt;"ทำนองหลัก&lt;/strong&gt;" หรือที่เรียกว่า&lt;strong&gt; "เนื้อฆ้อง"&lt;/strong&gt; อีกชั้นหนึ่ง ซึ่งในชั้นเนื้อฆ้องนี้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นทำนองห่างๆ ยังไม่มีความซับซ้อนมาก แต่ยังกำหนดลักษณะในการเล่นไว้ให้ผู้บรรเลงแต่ละคนได้บรรเลงด้วยลีลาเฉพาะของตนในกรอบนั้นๆ โดยลีลาที่กล่าวมาก็หมายถึง &lt;strong&gt;"กลอน"&lt;/strong&gt; หรือ &lt;strong&gt;"หนทาง"&lt;/strong&gt; ต่างๆที่บรรเลงไปนั่นเอง&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&amp;nbsp;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;&lt;strong&gt;ขอขอบคุณข้อมูลจาก&lt;/strong&gt;&lt;/p&gt; &lt;p&gt;- &lt;a target="_blank" class="external text" title="http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK1/chapter9/t1-9-l.htm" rel="nofollow" href="http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK1/chapter9/t1-9-l.htm"&gt;สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม 1&lt;/a&gt; &lt;br&gt; - &lt;a target="_blank" class="external text" title="http://www.siammelody.com" rel="nofollow" href="http://www.siammelody.com/"&gt;สยาม เมโลดี้ ดอทคอม&lt;/a&gt; &lt;br&gt; - &lt;a target="_blank" class="external text" title="http://www.siamnt.com/culture-instrument/" rel="nofollow" href="http://www.siamnt.com/culture-instrument/"&gt;SiamNT.com&lt;/a&gt; &lt;br&gt; - &lt;a target="_blank" class="external text" title="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2" rel="nofollow" href="http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2"&gt;วิกิพีเดีย&lt;/a&gt; &lt;br&gt; ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต&lt;/p&gt;&lt;/span&gt;&lt;/font&gt;&lt;p&gt; &lt;/p&gt;&lt;hr&gt;&lt;div class="headerfont"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/icon/tag.jpg"&gt; &lt;font size="3em"&gt;TAGS ที่เกี่ยวข้อง &amp;gt;&amp;gt; &lt;span style="border-radius:5%;font-weight:bold;background-color:#ddd;padding:3px;margin:5px"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1424"&gt;ดนตรีไทย&lt;/a&gt;&lt;/span&gt; &amp;lt;&amp;lt; คลิกอ่านเพิ่มเติม&lt;/font&gt;&lt;/div&gt;&lt;p&gt; &lt;/p&gt;&lt;div id="grf_kroobannokcom"&gt;&lt;/div&gt; &lt;p&gt; &lt;a target="_blank" href="https://www.aksorn.com/afl"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/banners/BANNER-WEB-AFL-729x90.jpg" width="100%"&gt;&lt;/a&gt; &lt;/p&gt;&lt;p&gt; &lt;/p&gt;&lt;table width="100%" padding="5" cellspacing="5" bgcolor="#ffffff"&gt;&lt;tr&gt;&lt;td colspan="3" align="center"&gt;&lt;h2&gt;&lt;font color="green" class="headerfont"&gt;≡ เรื่องอื่นๆ ที่น่าอ่าน ≡&lt;/font&gt;&lt;/h2&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/24005"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p12296761207.jpg" width="100%" border="1" alt="พืชกับศิลปะไทยโบราณ" title="พืชกับศิลปะไทยโบราณ" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/24005"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;พืชกับศิลปะไทยโบราณ&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 30,116 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1333"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p69388250813.jpg" width="100%" border="1" alt="ลักษณะของแสงเงาที่ใช้ในการวาดเขียน" title="ลักษณะของแสงเงาที่ใช้ในการวาดเขียน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1333"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;ลักษณะของแสงเงาที่ใช้ในการวาดเขียน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 54,834 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/660"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p43202131632.jpg" width="100%" border="1" alt="ประติมากรรมรูปเคารพ" title="ประติมากรรมรูปเคารพ" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/660"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;ประติมากรรมรูปเคารพ&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 16,326 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/53024"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p25612451804.jpg" width="100%" border="1" alt="Cut-Away Leaf Art ตัดใบไม้ให้เป็นงานอาร์ต" title="Cut-Away Leaf Art ตัดใบไม้ให้เป็นงานอาร์ต" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/53024"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;Cut-Away Leaf Art ตัดใบไม้ให้เป็นงานอาร์ต&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 38,112 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1424"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p31267590639.jpg" width="100%" border="1" alt="ดนตรีไทย" title="ดนตรีไทย" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1424"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;ดนตรีไทย&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 102,128 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/74245"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p76853930650.jpg" width="100%" border="1" alt="เจ๋งอะ! มาดูวิธีวาดภาพสามมิติแบบง่ายๆ กัน" title="เจ๋งอะ! มาดูวิธีวาดภาพสามมิติแบบง่ายๆ กัน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/74245"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;เจ๋งอะ! มาดูวิธีวาดภาพสามมิติแบบง่ายๆ กัน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 28,910 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1350"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p73468350938.jpg" width="100%" border="1" alt="เทคนิคพิเศษในการระบายสี" title="เทคนิคพิเศษในการระบายสี" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1350"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;เทคนิคพิเศษในการระบายสี&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 68,168 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/24004"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p92553621204.jpg" width="100%" border="1" alt="พืชที่ใช้ทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน" title="พืชที่ใช้ทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/24004"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;พืชที่ใช้ทำเครื่องดนตรีพื้นบ้าน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 28,669 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1312"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p10558340930.jpg" width="100%" border="1" alt="ประณีตศิลป์ไทย" title="ประณีตศิลป์ไทย" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1312"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;ประณีตศิลป์ไทย&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 33,486 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1330"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p60560860804.jpg" width="100%" border="1" alt="เทคนิคการแรเงาน้ำหนัก " title="เทคนิคการแรเงาน้ำหนัก " style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1330"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;เทคนิคการแรเงาน้ำหนัก &lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 73,529 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52278"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p89788911103.jpg" width="100%" border="1" alt="โฮเนะคาวา ซูเนโอะ : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน" title="โฮเนะคาวา ซูเนโอะ : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52278"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;โฮเนะคาวา ซูเนโอะ : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 42,801 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52195"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p96795950540.jpg" width="100%" border="1" alt="เพลง &amp;quot;อิ่มอุ่น&amp;quot;" title="เพลง &amp;quot;อิ่มอุ่น&amp;quot;" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52195"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;เพลง "อิ่มอุ่น"&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 37,790 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/658"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p42284031629.jpg" width="100%" border="1" alt="จิตรกรรมไทยแบบประเพณี" title="จิตรกรรมไทยแบบประเพณี" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/658"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;จิตรกรรมไทยแบบประเพณี&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 23,928 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1804"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p24522720707.jpg" width="100%" border="1" alt="ประวัติของแคน อัครเครื่องดนตรีอีสาน" title="ประวัติของแคน อัครเครื่องดนตรีอีสาน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/1804"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;ประวัติของแคน อัครเครื่องดนตรีอีสาน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 100,184 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;td class="today" valign="top" align="center" width="33%" style="border-radius:3%"&gt;&lt;div style="width:98%"&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52279"&gt;&lt;img src="https://www.kroobannok.com/news_pic/p53791721106.jpg" width="100%" border="1" alt="โดเรมี : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน" title="โดเรมี : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน" style="border-radius:3%;max-height:220px"&gt;&lt;/a&gt;&lt;/div&gt;&lt;br&gt;&lt;a target="_blank" href="https://www.kroobannok.com/52279"&gt;&lt;font size="4em" class="headerfont"&gt;โดเรมี : ตัวละครจากการ์ตูนโดราเอมอน&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt;&lt;font color="#00cccc"&gt;เปิดอ่าน 52,748 ครั้ง&lt;/font&gt;&lt;/td&gt;&lt;/tr&gt;&lt;tr&gt;&lt;/tr&gt;&lt;/table&gt; Advertisement&lt;br&gt; &lt;script async&gt; <ins class="adsbygoogle" style="display:inline-block;width:728px;height:280px" data-ad-client="ca-pub-6321046445923268" data-ad-slot="1872387717"></ins> <script> (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});