ยุคสมัยกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ไทยอยู่ช่วงเวลาใด

ความสำคัญของประวัติศาสตร์ และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

      ประวัติศาสตร์ คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่าง ๆ กัน โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาว่ามนุษย์ในอดีตได้คิดอะไร และกระทำสิ่งใด อีกทั้งความคิดและการกระทำดังกล่าวมีอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์ทั้งในช่วงเวลาดังกล่าว และช่วงเวลาต่อมาอย่างไร หากแต่อดีตของมนุษย์นั้นมีระยะเวลายาวนานมาก จึงจำเป็นจะต้องมีการแบ่งช่วงเวลาดังกล่าวออกเป็นยุคสมัยต่าง ๆ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับอดีต ให้เกิดความเข้าใจตรงกัน และเพื่อให้เห็นถึงลักษณะสำคัญของแต่ละช่วงเวลา

      ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งออกเป็น 3 สมัย คือ สมัยก่อนประวัติศาสตร์, สมัยกึ่งประวัติศาสตร์, และ สมัยประวัติศาสตร์ สำหรับสิ่งที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการกำหนดอายุคือ “ตัวอักษร ดังนั้นแล้ว ในแต่ละสังคมหรือแหล่งอารยธรรมต่าง ๆ ในโลก จึงเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน ขึ้นอยู่กับว่าสังคมหรืออารยธรรมใดสามารถประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้ได้ก่อน

      สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistorical Period) คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้บันทึกเรื่องราว ด้วยเหตุนี้จึงยังไม่มีหลักฐานประเภทลายลักษณ์อักษร เช่น เอกสาร หรือจารึกที่บันทึกเรื่องราวให้มนุษย์ในยุคหลังทราบได้  
      ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวสมัยก่อนประวัติศาสตร์จึงต้องอาศัยการสันนิษฐาน และการตีความจากหลักฐานทางโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ, เครื่องประดับ, ภาพเขียนสีบนเพิงผาและผนังถ้ำ, หลุมฝังศพ เป็นต้น สำหรับตัวอย่างหลักฐานของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เช่น โครงกระดูกของมนุษย์โครมันยอง, โครงกระดูกของมนุษย์ชวา, โครงกระดูกของมนุษย์ปักกิ่ง, แหล่งโบราณคดีชุมชนบ้านเชียง เป็นต้น
      สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคหิน และยุคโลหะ
      สมัยกึ่งประวัติศาสตร์ (Protohistorical Period) คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ในสังคมนั้น ๆ ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเพื่อใช้บันทึกเรื่องราว แต่ได้มีมนุษย์จากสังคมอื่น ๆ ซึ่งได้เดินทางผ่านมาเพื่อติดต่อค้าขาย และได้บันทึกเรื่องราวของมนุษย์จากสังคมเหล่านั้นเอาไว้    
      สมัยประวัติศาสตร์ (Historical Period) คือ ช่วงเวลาที่มนุษย์ในสังคมเริ่มรู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเพื่อใช้บันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ทำให้มนุษย์ในยุคหลังสามารถเข้าใจเรื่องราวในช่วงเวลาดังกล่าว ผ่านการศึกษาและตีความจากหลักฐานลายลักษณ์อักษรต่าง ๆ เช่น ศิลาจารึก พงศาวดาร หนังสือ เป็นต้น ดังนั้น แต่ละสังคมจะเริ่มต้นสมัยประวัติศาสตร์ไม่พร้อมกัน
      สมัยประวัติศาสตร์ หากแบ่งตามประวัติศาสตร์สากลแล้ว สามารถแบ่งได้เป็น 4 สมัยได้แก่ ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ ประวัติศาสตร์สมัยกลาง ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ และประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน 

ยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ (อังกฤษ:protohistory) เป็นยุคสมัยระหว่างยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์ ซึ่งวัฒนธรรมหรืออารยธรรมหนึ่งยังไม่พัฒนาอักษร แต่วัฒนธรรมอื่นรับรู้ถึงการมีอยู่ในการจดบันทึกของตนแล้ว ตัวอย่างเช่น ในทวีปยุโรปเผ่าเคลต์และกลุ่มชนเจอร์แมนิกถือว่าเป็นยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์เมื่อเริ่มปรากฏในแหล่งข้อมูลของกรีกและโรมัน

ยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์อาจยังเรียกว่าเป็นยุคเปลี่ยนผ่านระหว่างการมาถึงของการรู้หนังสือในสังคมหนึ่งกับการเขียนของนักประวัติศาสตร์คนแรก การสงวนประเพณีมุขปาฐะอาจทำให้ปัญหายุ่งยากขึ้นเมื่อประเพณีเหล่านี้อาจเป็นแหล่งข้อมูลประวัติศาสตร์ทุติยภูมิแม้แต่เหตุการณ์ก่อนหน้านี้ได้

คก, งก, อนประว, ศาสตร, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, เปล, ยนทางจาก, protohistory, งกฤษ, protohistory, เป, นย, คสม, ยระหว, างย, คก, อนประว, ศาสตร, และย, คประว, ศาสตร, งว, ฒนธรรมหร, ออารยธรรมหน, งย, งไม, ฒนาอ, กษร, แต, ฒนธรรมอ, นร, บร, งการม, อย, ในการจดบ, นท, กของตนแล. yukhkungkxnprawtisastr phasaxun efadu aekikh epliynthangcak Protohistory yukhkungkxnprawtisastr xngkvs protohistory epnyukhsmyrahwangyukhkxnprawtisastraelayukhprawtisastr sungwthnthrrmhruxxarythrrmhnungyngimphthnaxksr aetwthnthrrmxunrbruthungkarmixyuinkarcdbnthukkhxngtnaelw twxyangechn inthwipyuorpephaekhltaelaklumchnecxraemnikthuxwaepnyukhkungkxnprawtisastremuxerimpraktinaehlngkhxmulkhxngkrikaelaormn yukhkungkxnprawtisastrxacyngeriykwaepnyukhepliynphanrahwangkarmathungkhxngkarruhnngsuxinsngkhmhnungkbkarekhiynkhxngnkprawtisastrkhnaerk karsngwnpraephnimukhpathaxacthaihpyhayungyakkhunemuxpraephniehlanixacepnaehlngkhxmulprawtisastrthutiyphumiaemaetehtukarnkxnhnaniid bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title yukhkungkxnprawtisastr amp oldid 7575696, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม