รูปถ่ายทางอากาศในแนวดิ่งมีไว้ใช้ประโยชน์ตามข้อใด

              2.7)  การตรวจสอบข้อมูล  ผู้แปลจะต้องมีความรู้ที่จะนำองค์ประกอบมาผสมผสานกัน  การตรวจสอบข้อมูลภาคสนามจะช่วยให้การแปลความหมายถูกต้องแม่นยำ  แต่รูปถ่ายทางอากาศที่ถ่ายในช่วงปีที่แตกต่างกันจะช่วยทำให้เห็นลักษณะการใช้ที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา  ทั้งโดยกิจกรรมของมนุษย์และตามสภาพธรรมชาติ

            เวลาที่เก็บข้อมูลมาจากดาวเทียม ดาวเทียมก็จะแปลค่าให้เป็นตัวเลข เช่น ดี = 1, แย่ = 2 และ แย่ที่สุด = 3 หรือชนิดของตัวเลขที่ใช้ในระบบราสเตอร์ จะเป็นตัวบอกว่าชั้นข้อมูลนั้น ๆ จะถูกแสดง หรือสามารถนำไปประมวลผลได้อย่างไร ตัวอย่างเช่น ชั้นข้อมูลความสูง ที่มีค่าในช่วง 550 ถึง 560 จะถูกใช้ต่างกับชั้นข้อมูลที่มีค่าแค่ 1, 2 หรือ 3 ซึ่งเป็นตัวแทน น้ำ ดิน พืช จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่ส่งกลับมาทุกอย่างจะถูกแปลผลไปเป็นตัวเลข แล้วเวลาใช้งานก็จะแปลตัวเลขมาเป็นข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ ในประเทศไทยมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ตั้งอยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และมีสถานีรับสัญญาณของกรมอุตุนิยมวิทยากระจายตามภูมิภาคของประเทศ

ภาพถ่ายทางอากาศ

รูปถ่ายทางอากาศในแนวดิ่งมีไว้ใช้ประโยชน์ตามข้อใด

รูปถ่ายทางอากาศ 
รูปถ่ายทางอากาศ  คือรูปถ่ายที่ได้จากการถ่ายด้วยกล้องถ่ายรูปที่ใช้ฟิล์ม  โดยติดตั้งกับเครื่องบินหรือบัลลูน  และถ่ายรูปลงมาในแนวดิ่งหรือเฉียงกับพื้นผิวโลก
หลักการทำงาน  การถ่ายรูปทางอากาศจากเครื่องบิน  ต้องเลือกถ่ายช่วงเวลาที่ท้องฟ้าเปิดไม่มีเมฆปกคลุมหรือมีเมฆน้อย  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นฤดูแล้ง เพื่อให้ได้รูปถ่ายที่ชัดเจน

ประโยชน์ของรูปถ่ายทางอากาศ    เพื่อนำไปใช้ในกิจการต่างๆ  เช่น
1)  จัดทำแผนที่  โดยเฉพาะปรับปรุงแผนที่เก่าที่ล้าสมัย
2)  สำรวจพื้นที่เพื่อทำประโยชน์ในด้านต่างๆ  เช่นสำรวจแหล่งโบราณคดี  แหล่งท่องเที่ยว ทำโฉนดที่ดิน  ก่อสร้างถนน  วางผังเมืองและแก้ไขปัญหาการจราจร
3)  ศึกษาสภาพพื้นผิวโลกในบริเวณต่างๆ  พัฒนาแหล่งทรัพยากร  เช่นพื้นที่ป่าไม้  แหล่งน้ำ  และใช้ประโยชน์จากที่ดิน  เป็นต้น

รูปถ่ายทางอากาศในแนวดิ่งมีไว้ใช้ประโยชน์ตามข้อใด

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

ถูกใจ กำลังโหลด...

             2.7) การตรวจสอบข้อมูล ผู้แปลจะต้องมีความรู้ที่จะน าองค์ประกอบมาผสมผสานกัน การตรวจสอบข้อมูลภาคสนามจะช่วยให้การแปลความหมายถูกต้องแม่นย า แต่รูปถ่ายทางอากาศที่ถ่ายในช่วงปีที่ แตกต่างกันจะช่วยท าให้เห็นลักษณะการใช้ที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งโดยกิจกรรมของมนุษย์และตามสภาพธรรมชาติ  

2)  รูปถ่ายทางอากาศแนวเฉียงต่ำ  เป็นรูปถ่ายทางอากาศที่ไม่ปรากฏเส้นขอบฟ้าในภาพรูปถ่ายทางอากาศแนวเฉียงสูงและแนวเฉียงต่ำใช้แสดงภาพรวมของพื้นที่แต่มีมาตราส่วนบนรูปถ่ายทางอากาศแตกต่างกัน  รูปถ่ายทางอากาศแนวดิ่งมีมาตราส่วนในรูปค่อนข้างคงที่  จึงเป็นที่นิยมนำมาใช้ทำแผนที่

�ӵͺ��� 28
       K

Keel ..........��д١�� �ç���ҧ�� Ҥѭ�ͧ���� ��д١���ҧ�����Ƿ���ٹ���ҧ�ͧ��ͧ���ͨҡ�ǹ��Ƕ֧�ǹ���� �繷��������������蹷�ͧ���ͷҧ��ҧ
Keel, bilge......... ��д١�ٻա
Keel, center vertical .......��д١�ٵ��
Keel blocks ........��͹�ͧ��д١�� ��͹��������觤͹��յ �繷���ҧ��д١��㹢�е������
Keel rider....... �Ѻ��ѧ��д١�������硷�����仵����ҹ���ͧ��д١�ٵ�駢ͧ����Ẻ��ͧ�������
Keelson, side ........��д١�٢�ҧ, ���� �����硵���ҧ��ʹ�����з������� �����ҧ��д١�ٵ��
Kingpost .......������ � ����Ҿ�ا�ѹ����������§�ͧ��鹨�蹷����¡�ͧ������ Samson post �����¡
Knee, beam....... ���ҡ�ִ�ҹ��ҧ ���٪�ҧ���������ҹ�Ѻ�Ҵ��ҡѺ������
Kort nozzle..... 㺨ѡä��� �ͫ���
Knot (Kt) ........�͵ �ѵ�Ҥ������ǵ�ͪ������ �դ����ҡѺ 1 ������ŵ�ͪ������ ���� 1 ��������դ����ҡѺ 1,852 ���� (6,076.1 �ص)

ประโยชน์ของการใช้รูปถ่ายทางอากาศ มีอะไรบ้าง

ประโยชน์ของภาพถ่ายทางอากาศ ใช้แสดงแหล่งข้อมูลที่มองจากที่สูง เพื่อให้เห็นความสัมพันธ์ของ สิ่งต่างๆอย่างชัดเจนตามความเป็นจริง ใช้ศึกษาสิ่งที่ปรากฏบนพื้นโลก วางแผนการใช้ที่ดิน ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่

รูปถ่ายทางอากาศนั้นมีประโยชน์ในข้อใดมากที่สุด

๑. ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ๒. สามารถบินถ่ายภาพในช่วงเวลาต่างๆได้ตามต้องการ ๓. ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ประหยัดต้นทุนและเวลาในการเดินสารวจพื้นที่จริง ๔. ใช้ในการศึกษาและวิจัยในหน่วยงานต่างๆ เช่น การชลประทาน การสารวจดิน การสารวจป่าไม้ การสารวจการ ตั้งถิ่นฐาน

รูปถ่ายที่ทับซ้อนกันของแนวบินใช้ประโยชน์อะไรในทางภูมิศาสตร์

ลักษณะสาคัญของรูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายแต่ละภาพต้องให้ครอบคลุมพื้นที่ทับซ้อนกันประมาณร้อยละ 60 เพื่อใช้สาหรับดู ด้วยกล้องสามมิติและภาพแต่ละแนวต้องซ้อนทับกันประมาณร้อยละ 20-30 เพื่อป้องกันพื้นที่บางส่วน ขาดหายไปเมื่อน าภาพที่ถ่ายได้มาเรียงต่อกันจะเห็นรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่จริงบน พื้นผิวโลก

ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้นิยมใช้รูปถ่ายทางอากาศแนวดิ่งมาจัดทำแผนที่คืออะไร

ปัจจัยสำคัญที่ทำให้นิยมใช้รูปถ่ายทางอากาศแนวดิ่งมาจัดทำแผนที่คืออะไร ความชัดเจน มาตราส่วนคงที่ สีและรูปร่างต่างๆ