การวิเคราะห์ศักยภาพหลักของพื้นที่ 5 ประการมีอะไรบ้าง

การปลูกผักอินทรีย์ ใช้ เวลา 8 สัปดาห การทํางาน2ลักษณะมีคือ การบริหารจัดการและ การปลูกผัก ต้ องจัดผังให้ เห็นการทํางานก อนหลังตั้งแต้ เริ่มต นจนจบ เพื่อให้ มองเห็นเส้ นทางขพืช เราสามารถใช้ ผังการไหล กํากับ ดูแลการขยายอาชีพด้ วยการ

1. นําผังการไหลของงานติดผนังให้ มองเห็น

2. ติดตามระยะเวลาตามผังการไหลของงาน วันที่กําหนดกิจกรรมดําเนินการเสร็จ หรือไม่ ถ้ าเสร็จก็ทําเครื่องหมายบอกให้ รู้ ว าเสร็จ

3. ถ้ าไม่ เสร็จผู้ ประกอบการจะต้ องติดตาม ค้ นหาสาเหตุแล้ วปฏิบัติการแก้ ไข ข้ อบกพร่ อง

4. ดําเนินการปรับระยะเวลาในผังการไหลของงานให้ เป็ นความจริง ประเมินผลการกํากับ ดูแลว่ า มีส่ วนใดประสบผลสําเร็จบ าง และสําเร็จได้ เพราะอะไร

เป็ นเหตุ จากนั้นดูว่ า ่ส วนใดที่ไม่ ประสบผลสําเร็จและมีอะไรเป็ นเหตุ นําผลทั้งความสําเร็จ เสียหายมาสรุปผล เพื่อนําผลกลับมาแก้ ไขแผนกลยุทธ และแผนปฏิบัติการให้ มีประสิทธิภาพได้

การวิเคราะห ศักยภาพบนเส้ นทางของเวลาตามศักยภาพของแต่ ละพื้นที่ คือ การแยกแยะ กระบวนการทางธุรกิจ หรือการดําเนินการด้ านอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบ่งตามช่ วงระยะเวลา

ดําเนินกิจกรรม และมีเป้ าหมายการประกอบการในช่ วงเวลานั้นคือผล เมื่อเปรียบเทียบช่ วงก่ อนหน้ านี้ จัดอยู่ ประเภทขาขึ้นหรือขาลงในตําแหน่ งธุรกิจ ดังต่ อไปนี้

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ ละพื้นที่

ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์ สามารถนําไปใช เกิดประโยชน์ ต่ อชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพได้ การวางแผนปลูกมะละกอเช่ น มีแหล่ งน้ํา เพียงพอต่ อระยะเวลาในการปลูกหรือไม และความอุดมสมบูรณ์ ของดินมีมากน ้อยเพียงใด ซึ่งจะส่ ง การปรับปรุงดินและการใส่ ปุ๋ยมะละกอ

2. ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะอากาศประจําถิ่นในช่ วงระยะเวลาหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่ อการ ประกอบอาชีพในแต่ ละพื้นที่มีสภาพอากาศที่แตกต่ างกันการเตรียมปั จจัยการปลูกมะละกอเกี่ยวกับเมล็ด พันธุ์ ควรเลือกพันธุ์ ให้ เหมาะสมกับฤดูกาล เพราะจะทําให้ มะละกอเจริญเติบโตดี และให้ ผลผลิตตรงตาม สายพันธุ์

3. ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลที่ตั้งของแต่ ละพื้นที่

ภูมิประเทศ หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของแผ่ นดิน ความสูงต่ํา ที่ราบลุ่ ม ที่ราบสูง ภูเขา แม น้ํา ทะเล เป็ นต้ น ในการปลูกมะละกอ ควรเลือกพื้นที่สูง ใกล แหล่ งน้ํา ไม่ ท่ วมขัง

4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ ละพื้นที่

ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี หมายถึง ความเชื่อ การกระทําที่มีการปฏิบัติสืบเนื่องกันมาเป็น เอกลักษณ์ และมีความสําคัญต่ อสังคมในแต่ ละภาคของประเทศไทย มีวิถีชีวิตการเป็ นอยู การประกอบอาชีพและการบริโภคที่แตกต่ างกัน เช่ นบางแห่งปลูกมะละกอ เพื่อส่ งโรงงานบางแห่ งปลูกมะละกอเพื่อบริโภคหรือ เป็ นต้ น

5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ ในแต่ ละพื้นที่ หมายถึง ความรู้ ความสามารถของมนุษย์ ที่เป็ นภูมิรู้ ทั้งในอดีตและปั จจุบันต่ างกัน ในแต่ ละท้ องถิ่นมีความถนัด และความชํานาญในการบํารุงรักษา เก็บเกี่ยว และจัดจําหน่ ายที่ไม่ เหมือนกันส่ งผลให้ ผลผลิตและรายได้ ต่ างกัน

จากการที่ผู้เรียนได้ศึกษา เรื่องที่ 1 ภารกิจเพื่อความมั่นคงในการทำธุรกิจ ประกอบด้วยเรื่องย่อย ๆคือ บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อธุรกิจ การบริหารทรัพยากรดำเนินธุรกิจ การบริหารการผลิต การจัดการส่งมอบและการวิจัยพัฒนา ซึ่งเน้นเฉพาะการบริหารจัดการของตัวผู้ประกอบการ และเรื่องที่ 2 การวัดและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ ซึ่งต้องเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบการวัดและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ วิธีการวัดผลและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ และการแปรผลการประเมินตนเองเป็นการหาข้อสรุปว่าจะดำเนินการขยายอาชีพหรือไม่ อย่างไร

เพื่อเป็นการสร้างความมั่งคงยิ่งขึ้น ผู้ประกอบการควรพิจารณาวิเคราะห์ศักยภาพในการขยายอาชีพ 5 ด้าน ดังนี้

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นที่

2. ศักยภาพของพื้นที่ตามลักษณะภูมิอากาศ

3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทำเลที่ตั้งของแต่ละพื้นที่

4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่

เร่ือง การวเิ คราะห์ศักยภาพหลกั ของพืน้ ท่ใี นการพฒั นาอาชีพ

1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพ้ืนท่ี หมายถึง ส่ิงตา่ ง ๆ(สิ่งแวดลอ้ ม) ท่ีเกิดข้ึนเอง
ตามธรรมชาติและมนุษยส์ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น บรรยากาศ ดิน น้าป่ าไม้ ทุ่งหญา้ สตั วป์ ่ า แร่ธาตุ
พลงั งาน และกาลงั แรงงานมนุษย์ เป็นตน้ ดงั น้นั การแยกแยะเพอื่ นาเอาศกั ยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติใน
แตล่ ะพ้ืนที่เพ่ือนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการประกอบอาชีพตอ้ งพจิ ารณาวา่ ทรัพยากรทางธรรมชาติท่ี
จะตอ้ งนามาใชใ้ นการประกอบอาชีพในพ้ืนที่มีหรือไม่มีเพยี งพอหรือไม่ ถา้ ไม่มี ผปู้ ระกอบการตอ้ งพิจารณา
ใหมว่ า่ จะกอบอาชีพที่ตดั สินใจเลือกไวห้ รือไม่ เช่น การผลิตน้าแร่ธรรมชาติ แตใ่ นพ้ืนท่ีไมม่ ีตาน้าไหลผา่ น
และไม่สามารถขดุ น้าบาดาลได้ ซ่ึงผปู้ ระกอบการจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ ยงั จะ ประกอบอาชีพน้ีอีกหรือไม่ และถา้
ตอ้ งการประกอบอาชีพน้ีจริง ๆ เน่ืองจากตลาดมีความตอ้ งการมา กต็ อ้ งพิจารณาวา่ การลุงทนุ หาแร่ธาตุที่จะ
มาใชใ้ นการผลิตคมุ้ หรือไม่

2. ศกั ยภาพของพ้นื ที่ตามหลกั ภูมิอากาศ หมายถึง ลกั ษณะของลมฟ้าอากาศที่มีอยปู่ ระจาทอ้ งถ่ิน
ใด ทอ้ งถ่ินหน่ึงโดยพิจารณาจากค่าเฉลี่ยของอณุ หภูมิประจาเดือนและปริมาณน้าฝนในช่วงระยะเวลาตา่ ง ๆ
ของปี เช่น ภาคเหนือของประเทศไทยมีอากาศหนาวเยน็ หรือเป็นแบบสะวนั นา (Aw) คอื อากาศร้อนช้ืน
สลบั กบั ฤดูแลง้ เกษตรกรรม กิจกรรมท่ีทารายไดต้ ่อประชากรในภาคเหนือ ไดแ้ ก่ การทาสวน ทาไร่ ทานา
และเล้ียงสตั ว์ ภาคใตเ้ ป็นภาคที่มีฝนตกตลอดท้งั ปี ทาใหเ้ หมาะแก่การปลูกพชื เมืองร้อนท่ีตอ้ งการ ความชุ่ม
ช้ืนสูง เช่น ยางพารา ปาลม์ น้ามนั เป็นตน้ ดงั น้นั การประกอบอาชีพอะไรก็ตามจาเป็นพจิ ารณาสภาพ
ภมู ิอากาศดว้ ย

3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศ และทาเลที่ต้งั ของแต่ละพ้ืนที่ หมายถึง ลกั ษณะของพ้นื ที่และทาเล ที่ต้งั
ในแต่ละจงั หวดั ซ่ึงมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น เป็นภูเขา ท่ีราบสูง ท่ีราบลุ่ม ท่ีราบชายฝ่ัง สิ่งที่เราตอ้ ง ศึกษา
เก่ียวกบั ลกั ษณะภูมิประเทศ เช่น ความกวา้ ง ความยาว ความลาดชนั และความสูงของพ้นื ที่ เป็นตน้ ซ่ึงในการ
ประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามไม่วา่ จะเป็นการผลิต การจาหน่าย หรือการใหบ้ ริการกต็ าม จา เป็นตอ้ งพจิ ารณาถึง
ทาเลที่ต้งั ที่เหมาะสม

4. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวติ ของแต่ละพ้ืนท่ี จากการที่ประเทศไทย มี
สภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติที่แตกต่างกนั ออกไปในแตล่ ะภาค จึงมีความ แตกต่าง
กนั ในการดารงชีวิตของประชากรท้งั ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณีและการประกอบอาชีพ ระบบการ
เกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงไดว้ า่ คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวติ ผกู พนั กบั ระบบการเกษตรกรรม

1

5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษยใ์ นแต่ละพ้ืนที่ หมายถึง เป็นการ29.9กยภาพของแตล่ ะบคุ คล ในแต่
ละพ้ืนที่มาใช้ ในการปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด และสร้างใหแ้ ตล่ ะบคุ คลเกิดทศั นคติที่ดี ตอ่ องคก์ าร
ตลอดจนเกิดความตระหนกั ในคุณค่าของตนเอง เพื่อนร่วมงานและองคก์ าร เม่ือพจิ ารณาถึง ทรัพยากรมนุษย์
ในแต่ละพ้นื ที่ โดยเฉพาะภมู ิปัญญาไทย แมว้ า่ กาลเวลาจะผา่ นไป ความรู้สมยั ใหมจ่ ะหลงั่ ไหลเขา้ มามาก แต่
ภูมิปัญญาไทยก็สามารถปรับเปล่ียนใหเ้ หมาะสมกบั ยคุ สมยั เช่นการรู้จกั นาเครื่องยนตม์ าติดต้งั กบั เรือ ใส่
ใบพดั เป็นหางเสือ ทาใหเ้ รือสามารถแลน่ ไดเ้ ร็วข้นึ เรียกว่า เรือหางยาว การรู้จกั ทาการเกษตรแบบผสมผสาน
สามารถพลิกฟ้ื นคนื ธรรมชาติใหอ้ ุดมสมบูรณ์แทนสภาพเดิมที่ถกู ทาลายไป การรู้จกั ออมเงิน สะสมทนุ ให้
สมาชิกกูย้ มื ปลดเปล้ืองหน้ีสิน และจดั สวสั ดิการแก่สมาชิก จนชุมชนมีความมนั่ คง เขม้ แขง็ สามารถช่วย
ตนเองไดห้ ลายร้อยหมูบ่ า้ นทวั่ ประเทศ เช่น กลุ่มออมทรัพย์ คีรีวง จงั หวดั นครศรีธรรมราชจดั ในรูปกองทุน
หมนุ เวียนของชุมชน จะเห็นไดว้ า่ การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพมีความสาคญั และจาเป็นต่อการพฒั นาอาชีพให้
เขม้ แขง็ มาก หากไดว้ ิเคราะหแ์ ยกแยะศกั ยภาพของตนเองอยา่ งรอบดา้ น ปัจจยั ภายในตวั ตนผปู้ ระกอบการ
ปัจจยั ภายนอกของผปู้ ระกอบการ โอกาสและอุปสรรคในการประกอบธุรกิจการคา้ ย่ิงวเิ คราะหไ์ ดม้ ากและ
ถูกตอ้ งแม่นยามาก จะทาให้ผปู้ ระกอบการรู้จกั ตนเอง อาชีพของตนเองไดด้ ียงิ่ ข้นึ เหมือนคากล่าว รู้เขา รู้เรา
รบร้อยคร้ัง ชนะท้งั ร้อยคร้ัง

ในการพฒั นาอาชีพ กลมุ่ อาชีพใหม่ 5 กลมุ่ อาชีพ

1 กลุม่ อาชีพดา้ นเกษตรกรรม
2 กลุม่ กลุม่ อาชีพดา้ นอุตสาหกรรม
3 กลมุ่ อาชีพดา้ นพาณิชยกรรม
4 กล่มุ อาชีพดา้ นความคิดสร้างสรรค์
5 กลมุ่ อาชีพดา้ นบริหารจดั การและการบริการ

2

พ้ืนที่หลกั ในการพฒั นาอาชีพ 5 พ้ืนท่ี

1. พ้ืนที่ภาคกลาง ประกอบดว้ ย กล่มุ จงั หวดั ภาคกลางตอนบน 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ นนทบุรี พระนครศรีอยธุ ยา
ปทมุ ธานี อ่างทอง สระบุรี ลพบรุ ี สิงห์บุรี ชยั นาท กลมุ่ จงั หวดั ภาคกลางตอนล่าง 13 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ราชบรุ ี
สุพรรณบุรี นครปฐม กาญจนบุรี เพชรบุรี ประจวบคิรีขนั ธ์ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ฉะเชิงเทรา
สมุทรปราการ นครนายก สระแกว้ ปราจีนบุรี กลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออก 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ชลบรุ ี ระยอง
ตราด จนั ทบุรี
2. พ้ืนที่ภาคเหนือ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคเหนือตอนบน 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง
แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน กล่มุ จงั หวดั ภาคเหนือตอนล่าง 9 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สุโขทยั ตาก
อตุ รดิตถ์ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ก าแพงเพชร นครสวรรค์ พจิ ิตร อุทยั ธานี
3. พ้ืนท่ีภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 8 จงั หวดั
ไดแ้ ก่ อุดรธานี หนองคาย หนองบวั ลาพู เลย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร กลุ่มจงั หวดั
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนกลาง 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ข่อนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอด็ กลุม่ จงั หวดั
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 8 จงั หวดั ไดแ้ ก่ นครราชสีมา ชยั ภูมิ บรุ ีรัมย์ สุรินทร์ อุบลราชธานี
ศรีษะเกษ ยโสธร อานาจเจริญ
4. พ้นื ท่ีภาคใต้ ประกอบดว้ ย กลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ังอา่ วไทย 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ชุมพร สุราษฏร์ธานี
นครศรีธรรมราช พทั ลงุ กลุ่มจงั หวดั ภาคใตฝ้ ่ัง 5 จงั หวดั ไดแ้ ก่ ระนอง พงั งา ภเู ก็ต กระบ่ี ตรัง
กล่มุ จงั หวดั ภาคใตช้ ายแดน 4 จงั หวดั ไดแ้ ก่ สตูล สงขลา ปัตตานี นราธิวาส ยะลา
5. พ้นื ที่กรุงเทพมหานคร

3

แบบทดสอบ

1. สิ่งต่าง ๆ (สิ่งแวดลอ้ ม) ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษยส์ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ เช่น
บรรยากาศ ดิน น้า ป่ าไม้ ทงุ่ หญา้ สตั วป์ ่ า แร่ธาตุ พลงั งาน และกาลงั แรงงานมนุษยจ์ ดั เป็นศกั ยภาพหลกั
ดา้ นใด

ก. ศกั ยภาพของพ้นื ที่ตามหลกั ภมู ิอากาศ
ข. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ
ค. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์
ง. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
2. ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก และการละเล่นเตน้ การาเคยี ว จดั เป็นศกั ยภาพหลกั ดา้ นใด
ก. ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต
ข. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศ
ค. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์
ง. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
3. ประชากรของประเทศไทยส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพในกลมุ่ ใด
ก. กลุม่ อุตสาหกรรม
ข. กลุ่มเกษตรกรรม
ค. กลมุ่ สร้างสรรค์
ง. กลุ่มบริหารจดั การและการบริการ

4

เฉลยแบบทดสอบ

ขอ้ 1.
ขอ้ ก × (ผดิ ) ในวธิ ีการท่ีถกู ตอ้ ง ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ขอ้ ข × (ผดิ ) ในวธิ ีการท่ีถูกตอ้ ง ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ขอ้ ค × (ผดิ ) ในวิธีการที่ถกู ตอ้ ง ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ขอ้ ง. / (ถกู ) ในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ขอ้ 2
ขอ้ ก / (ถูก) ในวิธีการท่ีถูกตอ้ ง ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต
ขอ้ ข × (ผดิ ) ในวธิ ีการที่ถกู ตอ้ ง ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ
ขอ้ ค × (ผดิ ) ในวธิ ีการที่ถูกตอ้ ง ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวิต
ขอ้ ง. × (ผดิ ) ในวิธีการท่ีถกู ตอ้ ง ศกั ยภาพของศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชีวิต
ขอ้ 3.
ขอ้ ก × (ผดิ ) ในวิธีการที่ถูกตอ้ ง กลุ่มเกษตรกรรม
ขอ้ ข / (ถูก) ในวธิ ีการที่ถกู ตอ้ ง กลมุ่ เกษตรกรรม
ขอ้ ค × (ผดิ ) ในวธิ ีการที่ถกู ตอ้ ง กล่มุ เกษตรกรรม
ขอ้ ง. × (ผดิ ) ในวธิ ีการที่ถกู ตอ้ ง กลุม่ เกษตรกรรม

5

มอบหมายกจิ กรรม

1. ใหผ้ เู้ รียนเขียนรายงานวิเคราะห์ศกั ยภาพหลกั ของพ้ืนที่ในการพฒั นาอาชีพในพ้นื ที่ชุมชนของตนเอง
ควรจะเนน้ ศกั ยภาพใดเป็นพิเศษ เพราะเหตุใด (เขยี นแลว้ ถ่ายภาพ หรือพิมพ)์
2. ใหผ้ เู้ รียนวิเคราะหว์ า่ อาชีพที่มีศกั ยภาพในพ้ืนที่ของชุมชนของตนเอง ควรจะเนน้ เร่ืองใดเป็นพเิ ศษ
และอาชีพรอง เพราะเหตใุ ด (เขยี นแลว้ ถา่ ยภาพ หรือพมิ พ)์

ขอให้ผู้เรียนทากจิ กรรมแล้วเขียนลงบนกระดาษ A4

ถ่ายรูปส่งให้ครูผ่านทาง กลุ่ม LINE

ให้นักเรียนทุกคนทาแบบประเมนิ เม่ือเสร็จสิ้นการเรียนรู้ ตามลงิ้ ค์
https://forms.gle/6b6HcFiVSJofcSa49

6

คณะผ้จู ดั ทา

ทีป่ รึกษา ผอู้ านวยการสานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายวรรณวิจกั ษณ์ กศุ ล
นายสุธี วรประดิษฐ ครูผชู้ ่วย
ครูอาสาสมคั รฯ
คณะดาเนินงาน ครูอาสาสมคั รฯ
ครู กศน.ตาบล
นางสาวกิตติวรา ภูวานร
นายณรงคว์ ทิ ย์ สุภาภา
นางนฤบล แขง็ ขนั ธุ์
นางสาวภทั รนนั ต์ มะโนกิจ

คณะบรรณาธิการ ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
หวั หนา้ กลมุ่ ส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
นายสุธี วรประดิษฐ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมทุ ร นกั วชิ าการศึกษา สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคลื่อนที่
นางสาววรรณภสั สร ศรีสวา่ งวรกลุ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็
พนกั งานขบั รถหอ้ งสมุดเคล่ือนท่ี
ผู้ออกแบบปก
ศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
นายอคั รพล เรียเตม็ หวั หนา้ กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั
สานกั งาน กศน.จงั หวดั ตราด
ผู้ควบคุมการดาเนินงาน

นายสุธี วรประดิษฐ
นางสาวสุประวีณ์ กลีบสมุทร

7

8


ศักยภาพ 5 ด้านประกอบด้วยอะไรบ้าง

อย่ามัวแต่ฟิตหุ่น จนลืมฟิตสมองเด็ดขาด เพราะในแต่ละวันคุณอาจได้รับโจทย์ยากๆ ในการทำงานแบบไม่ทันตั้งตัว หลายคนอาจไม่รู้ว่านอกจากสร้างความแข็งแรงให้กับร่างกายแล้ว เราก็สามารถฝึกสมองได้ด้วย โดยสมอง จะมีหน้าที่หลักอยู่ 5 ด้าน คือ ความจำ สมาธิจดจ่อ ความสามารถ ด้านภาษา การมองเห็น และความสามารถในการตัดสินใจ

ศักยภาพหลักของพื้นที่ หมายถึงอะไร

ศักยภาพหลักของพื้นที่ หมายถึง ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ และทําเลที่ตั้งของแตละพื้นที่ ศักยภาพ ของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละ พื้นที่

ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศคืออะไร

2.ศักยภาพของพื้นที่ตามหลักภูมิอากาศหมายถึง ลักษณะของลมฟาอากาศที่มีอยูประจําทองถิ่น ใดทองถิ่นหนึ่งโดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของอุณหภูมิประจําเดือน และปริมาณน้ําฝนในชวงระยะเวลา ตางๆของป เชนภาคเหนือของประเทศไทยมีอากาศหนาวเย็นหรือเปนแบบสะวันนา (Aw) คือ อากาศ รอนชื้นสลับกับฤดูแลงเกษตรกรรม กิจกรรมที่ทํารายไดตอ ...

ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพื้นที่หมายถึงอะไร

1. ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่หมายถึง สิ่งตาง ๆ(สิ่งแวดลอม) ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติและมนุษย สามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลังงาน และกําลังแรงงานมนุษย เปนตน ดังนั้น การแยกแยะเพื่อนําเอาศักยภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่เพื่อนํามาใชประโยชน ...