การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

1. ลูกโลก คือ สิ่งจำลองของโลก สร้างด้วยวัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษ ยาง พลาสติก เพื่อใช้ในการศึกษา ภูมิศาสตร์ ลูกโลก ช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโลกต่างจากแผนที่ที่ให้ข้อมูลใน เชิงพื้นราบ


2.เป็นการนำเอาแผนที่ประเภทต่างๆ เช่น แผนที่ลักษณภูมิประเทศ แผนที่เศรษฐกิจ แผนที่ทางหลวง   มารวบรวมไว้ในเล่มเดียวกัน

3. แผนที่เล่ม (Atlas) คือ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่รวบรวมเอาแผนที่ต่าง ๆทั้งแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพและแผนที่เฉพาะเรื่องทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมรวมเอาไว้ในเล่มเดียวกัน นอกจากนั้นแผนที่เล่มยังสามารถนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เป็นสถิติในรูปแบบของตารางหรือแผนภูมิ ขึ้นอยู่กับประโยชน์การนำไปใช้ของแผนที่เล่มแต่ละเล่ม

4. จุดอ่อน -การใช้แผนที่เล่มในการรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์ นั้นต้องคำนึงถึงความทันสมัยของข้อมูล ซึ้งต้องดูปีผลิตของ แผนที่แต่ละเล่มด้วย.

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่เล่ม

แผนที่เล่ม (Atlas) คือ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่รวบรวมเอาแผนที่ต่าง ๆทั้งแผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพและแผนที่เฉพาะเรื่องทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรมรวมเอาไว้ในเล่มเดียวกัน นอกจากนั้นแผนที่เล่มยังสามารถนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เป็นสถิติในรูปแบบของตารางหรือแผนภูมิ ขึ้นอยู่กับประโยชน์การนำไปใช้ของแผนที่เล่มแต่ละเล่ม

การใช้ประโยชน์ของแผนที่เล่มในการรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์

แผนที่เล่มสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายด้านทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของแผนที่เล่มแต่ละเล่ม แต่โดยทั่วไปแล้ว แผนที่เล่มสามารถใช้ดูที่ตั้ง อาณาเขตและลักษณะภูมิประเทศ รวมทั้งเมืองหลวงของประเทศแต่ละประเทศได้ ถ้าเป็นแผนที่เล่มสำหรับเยาวชนอาจจะแสดงข้อมูลของแต่ละประเทศและรูปภาพประกอบด้วย ส่วนในแผนที่เล่มที่มีรายละเอียดมากขึ้นอาจแสดงเกี่ยวกับข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคมที่เฉพาะมากขึ้น แผนที่เล่มเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความนิยมอย่างมากเนื่องจากพกพาได้สะดวก ง่ายต่อการใช้งาน มีหลากหลายแบบให้เลือกใช้

ข้อจำกัดของการใช้แผนที่เล่มในการรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์


แม้ว่าแผนที่เล่มจะเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ได้รับความนิยมมากอย่างหนึ่ง แต่การใช้แผนที่เล่มในการรวบรวมข้อมูลทางภูมิศาสตร์นั้นต้องคำนึงถึงความทันสมัยของข้อมูล ซึ่งต้องดูปีที่ผลิตของแผนที่เล่มแต่ละเล่มด้วย

ตัวอย่างแผนที่เล่มแบบต่าง ๆ

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่เล่มสำหรับเยาวชน

ที่มาภาพ: www.exteen.com.

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่เล่มแสดงลักษณะภูมิประเทศที่มีรายละเอียดมาก

ที่มาภาพ: www.mcpswis

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่ทางหลวง

ที่มาภาพ: www.priceza.com

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่เล่ม (อังกฤษ: atlas) คือแผนที่ที่รวมแผนที่ต่าง ๆ ทั้งลักษณะทางกายภาพ, ค่าเฉลี่ยของฝน, ค่าเฉลี่ยอุณหทางเศรษฐกิจ ทางสังคม ทางด้านประชากร และ อื่น ๆ รวมเอาไวในเล่มเดียวกัน[1][2]และนอกเหนือจากการนำเสนอคุณลักษณะทางภูมิศาสตร์และขอบเขตทางการเมืองแล้ว แผนที่เล่มยังมีการแสดงสถิติทางภูมิศาสตร์ การเมือง สังคม ศาสนา และเศรษฐกิจ

ประวัติ[แก้]

การใช้แผนที่เล่ม atlas แต่ละเล่มควรทําความเข้าใจ

แผนที่เล่มชิ้นแรกนั้นมีรูปร่างลักษณะเป็นชุดแม่พิมพ์ไม้ขนาดสม่ำเสมอซึ่งตั้งใจเอาไว้ตีพิมพ์ในหนังสือ โดยมีชื่อว่า De Summa totius Orbis ซึ่งน่าจะผลิตในปี 1524 หรือ 1526 โดยนักเขียนชาวอิตาลีในศตวรรษที่ 16 และนี้ทำให้เริ่มมีการตีพิมพ์แผนที่เล่มที่ชื่อ Theatrum Orbis Terrarum ในปี ค.ศ. 1570 โดยผู้ตีพิมพ์คืออับราฮัม ออร์ทีเลียส

ประเภท[แก้]

เพือที่จะทำให้แผนที่เล่มใช้งานได้มากขึ้นจึงมีการแบ่งหมวดหมู่เอาไว้ว่าหน้าไหนมีการแสดงลักษณะของโลกด้านใดเช่นการแบ่งเป็นภูมิประเทศ ภูมิอากาศ จำนวนประชากร และค่าเฉลี่ยอุณหภูมิเป็นต้น โดยจะแบ่งไปตามลำดับตัวอักษร A-Z หรือ ก-ฮ[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. Schwartz, John (2008-04-22). "The Body in Depth". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 2015-05-07.
  2. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
  3. "Road map". Merriam Webster. สืบค้นเมื่อ 2012-05-31.